directions_run

โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node โควิค ภาคใต้


“ โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ ”

ชุมชนสวนจันทร์วัดนิโครธ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นาย สุธรรม เศรษฐพิศาล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ

ที่อยู่ ชุมชนสวนจันทร์วัดนิโครธ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 65-10018-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนสวนจันทร์วัดนิโครธ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node โควิค ภาคใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนสวนจันทร์วัดนิโครธ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-10018-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,950.00 บาท จาก Node โควิค ภาคใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน
  2. เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเมือง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ และ สสส.
  3. กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเป้าหมาย
  4. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน
  5. กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center)
  6. การถอนเปิดบัญชี
  7. กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา
  8. กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน
  9. กิจกรรมที่ 7 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center
  10. การปฐมนิเทศหน่วยจัดการ สสส.
  11. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 1/2
  12. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 1/6
  13. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 2/6 ชุมชนสวนจันทร์
  14. การทำป้ายโครงการ
  15. การจัดทำป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์
  16. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 3/6
  17. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 4/6
  18. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2/2
  19. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 4/6
  20. การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 2
  21. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 6/6
  22. การจัดทำตรายาง
  23. การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 1
  24. กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 1
  25. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 1/4
  26. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 2/4
  27. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 3/4
  28. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1/2
  29. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2
  30. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 4/4
  31. กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจและมีความสามารถในการดำเนินโครงการ 2 เกิดกลไกสนับสนุน การปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน 3 ครัวเรือนเป้าหมายมมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 4 ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน 5 เกิดศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) 6 ประชาชนในเขตเทศบาลนครตรังมีสุขภาพที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 1/2

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การประชุมร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาลนครตรัง ชุมชน และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เพื่อร่วมกันจัดทำแผนการปฏิบัติงานให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2.การคัดเลือกคณะทำงาน 8-12 คน ที่มาจากกรรมการชุมชน ปราชญ์ชุมชน และตัวแทนเทศบาลนครตรังและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 3.มีการแบ่งงานให้กับคณะทำงานตามฝ่ายต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดคณะทำงาน 8-12 คน ที่มาจากกรรมการชุมชน ปราชญ์ชุมชน และตัวแทนเทศบาลนครตรังและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
  2. เกิดการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน
  3. มีแผนการปฏิบัติงานที่้ชุมชนมีกติการ ข้อตกลงร่วมกัน
  4. เกิดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

 

20 0

2. การปฐมนิเทศหน่วยจัดการ สสส.

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.สสส. มีการจัดประชุมเพื่อการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพ ให้แก่ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพ มากขึ้น และสามารถนำไปปใช้ในการดำเนินโครงการได้

 

3 0

3. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 1/6

วันที่ 27 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะทำงานประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง เพื่อติดตามผลการดำเนินงานและเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินและปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง
2 ประชุม เพื่อติดตามความพร้อมของสถานที่ที่จะมีการจัดตั้งศูนย์ Agri Center ของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการติดตามผลการดำเนินงานและเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินและปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการร่วมหารือ เพื่อหาข้อสรุปการกำหนดศูนย์ Agri Center สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ ตามแผน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมของพื้นที่และการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ด้วย

 

12 0

4. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 2/6

วันที่ 27 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีการกำหนดพื้นที่สำหรับการจัดทำศูนย์ Agri Center โดยใช้พื้นที่ของโรงเรียนสังขวิทย์ในการจัดทำศูนย์การเรียนรู้ เพื่อการสร้างเครือข่ายระหว่างเทศบาลนครตรัง ม.อ.ตรัง ชุมชน และโรงเรียน

 

12 0

5. การทำป้ายโครงการ

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดทำป้ายโครงการ เพื่อใช้ในการจัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีป้ายโครงการ เพื่อการจัดประชุม

 

0 0

6. การจัดทำป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

7. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 3/6

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center  เช่น การเตรียมพื้นที่ของศูนย์ Agri Center ณ โรงเรียนสังขวิทย์
2.ติดตามข้อมูลรายชื่อครัวเรือน 30 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการปลูกผักปลอดสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. โรงเรียนมีการเตรียมพื้นที่สำหรับการปลุกผักปลอดสารพิษ โดยใช้พื้นบริเวณข้างสนามฟุตบอลของโรงเรียน เพื่อการปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง พริก เป็นต้น
  2. พี่เลี้ยงและคณะทำงานได้รายชื่อครัวเรือน 30 ครัวเรือน

 

12 0

8. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 4/6

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงประชุมร่วมกับคณะทำงาน เพื่อเตรียมการประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพแก่ครัวเรือน 30 ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้มีการจัดเตรียมการให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพแก่ครัวเรือน 30 ครัวเรือน เช่น การเชิญวิทยากร สถานที่การประชุม อาหาร หรืออื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการประชุม เป็นต้น

 

12 0

9. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2/2

วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.วิทยากรให้ความรู้ทางสุขภาพและการเงิน การบริหารโครงการ สสส. แนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 2. ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้

 

20 0

10. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 5/6

วันที่ 4 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุม เพือการเก็บข้อมูลแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับ สสส.และชุมชนอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงและชุมชน ได้รับข้อมูลด้านการเงิน ด้านสุขภสพ ปัญหา อุปสรรคระหว่างการดำเนินโครงการ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 2

 

12 0

11. การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 1

วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 11:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ เพื่อหารือเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขของการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยง และ สสส. ได้ทราบปัญหา และช่วยกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการดำเนินงาน เช่น เอกสารการเงิน การทำงานของชุมชน

 

2 0

12. กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเป้าหมาย

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงาน เพื่อเก็บข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผักและบริโภคผักของคนในชุมชน 2.ประชุมคณะทำงาน และครัวเรือน 30 ครัวเรือน เพื่อการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี
3.วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการเงิน เพื่อคณะทำงาน และครัวเรือน 30 ครัวเรือน สามารถนำไปปรับใช้ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนมีข้อมูลสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผัก (ระบุ ชนิด พันธุ์ จำนวน การใช้ประโยชน์จากผัก ข้อมูลผักที่ซื้อมาบริโภค) การใช้สารเคมีในชุมชน และนำข้อมูลไปใช้รวมถึงคืนข้อมูลให้ชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี และเกิดการปฏิบัติตามกติกาหรือข้อตกลงที่กำหนดไว้
  3. ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น
  4. ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้

 

40 0

13. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 2/4

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเยี่ยมชมศุนย์การเรียนรู้ของชุมชน (จัดตั้งที่โรงเรียนสังขวิทย์) และเยี่ยมชมครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน
2) คณะทำงาน เทศบาลนครตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการแก่ครัวเรือนต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครัวเรือน 30 ครัวเรือน ได้รับการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการ

 

12 0

14. ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 6/6

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.โรงเรียนและชุมชนมีการจัดเตรียมพื้นที่ อุปกรณ์ เพื่อการศูนย์ Agri Center ของชุมชน

 

12 0

15. การจัดทำตรายาง

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำตรายางเพื่อใช้ในโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำตรายางมาใช้้ในโครงการได้

 

0 0

16. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงาน และครัวเรือน 30 ครัวเรือน เพื่อแจกพันธุ์ผักและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูกผัก จำนวน 5 ชนิด เช่น พริก ผักกวางตุ้ง ขึ้นฉ่าย มะเขือเทศ โหระพา ผักบุ้งจีน ผักคะน้า ตำลึง บวบ สำหรับปลูกไว้บริโภคเองที่บ้าน 2.คณะทำงานคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน 3.การกระตุ้นให้ชุมชนบริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ครัวเรือน 30 ครัวเรือน มีการปลูกผัก จำนวน 5 ชนิด เช่น พริก ผักกวางตุ้ง ขึ้นฉ่าย มะเขือเทศ โหระพา ผักบุ้งจีน ผักคะน้า ตำลึง บวบ สำหรับปลูกไว้บริโภคเองที่บ้าน
  2. เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน
  3. ครัวเรือน 30 ครัวเรือน และคนในชุมชนบริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์

 

35 0

17. การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 11:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.พี่เลี้ยง และ สสส. มีการประชุมหารือข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ของครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน
2.การตรวจสอบเอกสารทางการเงิน เพื่อให้มีความถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.พี่เลี้ยง และ สสส. ได้ข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ของครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน

 

0 0

18. กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไม่มี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่มี

 

2 0

19. กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center)

วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีกลไกคณะทำงานประจำศูนย์ฯ
2.มีแผนการปฏิบัติงาน 3.มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ตามภารกิจของศูนย์ฯ เช่น การจัดซื้อพันธุุ์ผักและอุปกรณ์ให้กับครัวเรือน 30 ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานและครัวเรือน 30 ครัวเรือน มีศูนย์การเรียนรู้ฯของชุมชน 2. ชุมชนได้ระบุพันธูุ์ผักที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพอากาศของชุมชน

 

0 0

20. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 1/4

วันที่ 6 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1) มีการประชุมคณะทำงาน ครัวเรือน 30 ครัวเรือน และโรงเรียนสังขวิทย์ เพื่อหารือข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ของครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน
2) คณะทำงาน เทศบาลนครตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการแก่ครัวเรือนต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) มีข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ของครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน
2) เกิดการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการแก่ครัวเรือนต้นแบบ

 

12 0

21. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 3/4

วันที่ 6 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เทศบาลนครตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เยี่ยมชมแปลงผักของชุมชน - เสริมพลังการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการแก่ครัวเรือนต้นแบบ

 

12 0

22. การถอนเปิดบัญชี

วันที่ 7 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเปิดบัญชีสำหรับการใช้จ่ายสำหรับโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีบัญชีสำหรับรายรับรายจ่ายของเงินที่ได้รับจากโครงการ เพื่อการดำเนินโครงการให้ประสบผลสำเร็จได้

 

0 0

23. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1/2

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานโครงการระหว่างชุมชนเป้าหมาย 4 ชุมชน 2.การสร้างเครือข่ายสวนผักคนเมืองเทศบาลนครตรัง 3.เยี่ยมชมแปลงผักชุมชนคลองน้ำเจ็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานโครงการระหว่างชุมชนเป้าหมาย 4 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนคลองน้ำเจ็ด ชุมชนบางรัก ชุมชนบางรัก และชุมชนควนขัน
  2. เกิดเครือข่ายสวนผักคนเมืองเทศบาลนครตรัง  โดยความร่วมมือของเทศบาลนครตรัง สสส. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง และโรงเรียนสังขวิทย์

 

15 0

24. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2

วันที่ 15 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เยี่ยมชมแปลงผัก-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนาชุมชนบางรัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานโครงการระหว่างชุมชนเป้าหมาย
2.เกิดเครือข่ายสวนผักคนเมืองเทศบาลนครตรัง เช่น ชุมชนบางรัก

 

15 0

25. เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 4/4

วันที่ 6 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เทศบาลนครตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เยี่ยมชมแปลงผักของชุมชน - เสริมพลังการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน เกิดการกระตุ้นหนุนเสริมพลังการดำเนินงานโครงการแก่ครัวเรือนต้นแบบ

 

12 0

26. กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชุมชนเข้าร่วมการแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ ครั้งที่ 2 ร่วม สสส.และชุมชนอื่นๆ 2.ชุมชน ร่วมกับ สสส. มีการนำผลผลิตของชุมชน ร่วมจัดแสดงนิทรรศการ เพื่อการจำหน่ายผักปลอดสารพิษให้แก่ผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ชุมชนได้มีการแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ ครั้งที่ 2 ร่วม สสส.และชุมชนอื่นๆ เช่น การลดค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพ เป็นต้น 2.ชุมชนได้นำเสนอผลลผลิตของชุมชนตนเอง

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน
ตัวชี้วัด : 1) ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 2) ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้

 

2 เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเมือง
ตัวชี้วัด : 1) เกิดคณะทำงาน 8-12 คน ที่มาจากกรรมการชุมชน ปราชญ์ชุมชน และตัวแทนเทศบาลนครตรังและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 2) เกิดการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน 3) มีแผนการปฏิบัติงาน 4) มีการติดตามผลการดำเนินงานและเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินและปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง 5) ชุมชนมีข้อมูลสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผัก (ระบุ ชนิด พันธุ์ จำนวน การใช้ประโยชน์จากผัก ข้อมูลผักที่ซื้อมาบริโภค) การใช้สารเคมีในชุมชน และนำข้อมูลไปใช้รวมถึงคืนข้อมูลให้ชุมชนอย่างต่อเนื่อง 6) มีการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี และเกิดการปฏิบัติตามกติกาหรือข้อตกลงที่กำหนดไว้ 2.1) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน ปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองที่บ้าน เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ชนิด (ระบุชื่อผักพื้นบ้าน ผักตามฤดูกาล ที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของครัวเรือน) 2.2) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน บริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (ต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน) 2.3) เกิดครัวเรือนต้นแบบจำนวน 10 ครัวเรือน 3.1) ค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคต่อครัวเรือนต่อสัปดาห์ลดลงเฉลี่ย 50% (จากก่อนเข้าร่วมโครงการ) 4.1) มีกลไกคณะทำงานประจำศูนย์ฯ 4.2) มีแผนการปฏิบัติงาน 4.3) มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ตามภารกิจของศูนย์ฯ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน (2) เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเมือง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ (2) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ และ สสส. (3) กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเป้าหมาย (4) กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน (5) กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) (6) การถอนเปิดบัญชี (7) กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา (8) กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน (9) กิจกรรมที่ 7 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center (10) การปฐมนิเทศหน่วยจัดการ สสส. (11) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 1/2 (12) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 1/6 (13) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 2/6 ชุมชนสวนจันทร์ (14) การทำป้ายโครงการ (15) การจัดทำป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ (16) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 3/6 (17) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 4/6 (18) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2/2 (19) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 4/6 (20) การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 2 (21) ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center ครั้งที่ 6/6 (22) การจัดทำตรายาง (23) การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงโครงการ ครั้งที่ 1 (24) กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 1 (25) เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 1/4 (26) เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 2/4 (27) เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 3/4 (28) เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1/2 (29) เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2 (30) เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 4/4 (31) กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การเรียนรู้ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนสวนจันทน์-วัดนิโครธ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 65-10018-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย สุธรรม เศรษฐพิศาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด