directions_run

20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล


“ 20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล ”

ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสามาด เตาวะโต

ชื่อโครงการ 20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-10154-020 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " 20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-10154-020 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2566 - 15 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไม่มี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพื่อร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด รวมถึงรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษ ผักปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ก.1 ประชุมคณะทำงาน
  2. ก.4 อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค
  3. ก.6 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
  4. ไม่มีกลุ่มกิจกรรม
  5. ก.5 ผลิตปุ๋ยและสารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน
  6. ก.3 สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ
  7. ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
  8. ก.8 จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน
  9. ก.9 กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน
  10. ก.2 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
  11. เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.
  12. ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ ส่งเงินคืน อบจ.
  13. ปฐมนิเทศ
  14. ประชุมร่วมเอ็มโอยู
  15. จัดทำป้ายชื่อโครงการ
  16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/4
  17. ตรายาง
  18. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1/2
  19. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2/4
  20. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 1/2
  21. สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ
  22. อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค
  23. อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค
  24. ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
  25. ชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการเงินให้กับโครงการย่อย
  26. ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 1/4
  27. ถอนเงินเปิดบัญชี
  28. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3/4
  29. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 2/2
  30. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 2/4
  31. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3/4
  32. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4/4
  33. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4/4
  34. จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน
  35. ค่าจัดทำเอกสาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ประชาชนมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด - ประชาชนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารโดยการเลือกผักที่ปลอดภัยจากสารเคมี -เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลควนโพธิ์
-ประชาชนผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นงดการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช และผลิตปุ๋ย สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร ทำให้เกษตรกรและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารพิษ -ผู้เข้าร่วมโครงการมีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน และมีแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ตำบลควนโพธิ์จำนวน 1 แปลง -มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพิ่มขึ้นเพื่อในการร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศ

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเดินทางปฐมนิเทศจากตำบลควนโพธิ์ไป อบจ.สตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับรู้ข้อมูลแนะนำแนวทางการดำเนินโครงการ

 

2 0

2. ประชุมร่วมเอ็มโอยู

วันที่ 29 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินทางร่วมลงนามสัญญาร่วมทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เกิดสัญญาร่วมทุน

 

2 0

3. จัดทำป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ทำโครงการได้ป้ายโครงการ

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/4

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เชิญประชุม 2. ประชุมแกนนำ 24 คน เพื่อชี้แจงและขยายจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 3. สรุปจัดทำแผนแนวทางการจัดทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จำนวนแกนนำ 24 คน
  2. แผนงานการดำเนินโครงการ
  3. โครงสร้างบทบาทหน้าที่ของแกนนำ

 

24 0

5. ตรายาง

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำตรายาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ทำโครงการได้ตรายาง

 

0 0

6. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1/2

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอแนวทางปัญหาและอุปสรรคการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาที่เกิดของแต่ละโครงการ

 

3 0

7. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2/4

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ทำหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุม 2.ประชุมตามเนื้อหาและกระบวนการของกิจกรรมประชุมครั้งที่ 2 3.วิเคราะห์ปัญหาและปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานตลอดจนภารกิจของแต่ฝ่าย 4.สรุปความก้าวหน้าดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้แผนงานในการขับเคลื่อนกิจกรรม 2.แต่ละบุคคลได้มีการรับภารกิจในแต่ละกิจกรรมและมีโครงสร้างความรับผิดชอบที่ชัดเจนของคณะทำงานโครงการ 3.ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินกิจกรรม

 

24 0

8. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 1/2

วันที่ 13 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมแกนนำ 24 คน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลควนโพธิ์ 2.ออกสำรวจพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษโดยการทำแบบสอบถามก่อนการเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ในการออกสำรวจพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษของคนในชุมชนตำบลควนโพธิ์ครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษได้ผู้เข้าร่วมสนใจตามเป้าหมายของกลุ่มจำนวน 70 คน 2.ได้พื้นที่เป้าหมายในการกำหนดจุดปลูกผัก 70 จุด 3.ได้ข้อมูลพื้นฐานในการปลูกผักและชนิดผักตลอดจนวิธีการปลูกของกลุ่มเป้าหมาย

 

24 0

9. สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ข้อตกลงชุมชน ผ่านแกนนำอสม. หอกระจายข่าว เสียง ตามสาย การประชุมประจำเดือนของชุมชน ป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ ฯลฯ ที่มีใน ชุมชน เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสารการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง
2 ชี้แจงวัตถุประสงค์ผู้เข้าร่วมโครงการ 3 จัดอบรมให้ความรู้และเสริมสร้างทักความเข้าใจถึงการบริโภคผักปลอดสารพิษ กิจกรรมสาธิตทดสอบ กิจกรรมการล้างผักเพื่อลดสารพิษตกค้างในผักสารเคมีตกค้างในผัก 4 สร้างข้อตกลงร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ที่ความเข้าใจเรื่องสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด ถูกต้อง(จำนวน 70 คน) -เกิดข้อตกลงร่วมกันในชุมชน

 

70 0

10. อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค

วันที่ 21 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.หนังสือเชิญประชุมสมาชิกและหนังสือเชิญวิทยากร 2.เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ในการจัดประชุม 3.จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 4.จัดให้มีกิจกรรมให้ความรู้และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค 5.สาธิตและปฏิบัติการทำเชื้อจุลินทรีย์ในการป้องกันโรคของผักและปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักแบบแห้ง 6.จัดทำแผนติดตามร่วมกันและเตรียมความพร้อมในการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีจำนวนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการปลูกผักปลอดสารพิษเข้าร่วมประชุมจำนวน 70 คน 2.ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เรื่องการทำเชื้อจุลินทรีย์ในการป้องกันโรคของผัก 3.มีความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการทำปุ๋ยหมักแบบแห้ง 4.ได้มีการทำข้อตกลงระหว่างสมาชิกกลุ่มกับผู้เข้าร่วมโครงการในการกำหนดกรอบระยะเวลา การติดตามการปลูกผักของสมาชิก 5.ให้ความรู้และสร้างความตระหนักความสำคัญในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

70 0

11. อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค

วันที่ 21 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.หนังสือเชิญประชุมสมาชิกและหนังสือเชิญวิทยากร 2.เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ในการจัดประชุม 3.จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 4.จัดให้มีกิจกรรมให้ความรู้และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค 5.สาธิตและปฏิบัติการทำเชื้อจุลินทรีย์ในการป้องกันโรคของผักและปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักแบบแห้ง 6.จัดทำแผนติดตามร่วมกันและเตรียมความพร้อมในการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หนังสือเชิญประชุมสมาชิกและหนังสือเชิญวิทยากร 2.เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ในการจัดประชุม 3.จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 4.จัดให้มีกิจกรรมให้ความรู้และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค 5.สาธิตและปฏิบัติการทำเชื้อจุลินทรีย์ในการป้องกันโรคของผักและปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักแบบแห้ง 6.จัดทำแผนติดตามร่วมกันและเตรียมความพร้อมในการปลูกผัก

 

70 0

12. ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง

วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงมือปลูกผักโดยไม่ใช่สารเคมีใดๆ -เมล็ดพันธ์ุผักกาดขาว 70 ซอง -เมล็ดพันธ์ุผักกาดกวางตุ้ง 70 ซอง -เมล็ดพันธ์ุผักคะน้า 70 ซอง -เมล็ดพันธ์ุผักแตงกวา 70 ซอง -เมล็ดพันธ์ุพริก 70 ซอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแปลงผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

 

70 0

13. ชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการเงินให้กับโครงการย่อย

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานจำนวน 2 คน นายธนวรรธน์ หลีมูสา และนายซาการียา โต๊ะหมาด ได้เข้าร่วมกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการเงินให้กับโครงการย่อย ณ ห้องประชุมอบจ.สตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกทั้ง 2 ได้ทราบข้อมูลของการจัดทำเอกสารการเงินและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

2 0

14. ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 1/4

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานรายงานข้อมูลแปลงเกษตรของคนในชุมชน 2.แลกเปลี่ยนแนวคิดวิธีการติดตามผล 3.กำหนดพื้นที่การติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้เข้าร่วมประชุมเพื่อติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงผักปลอดสารพิษ

 

24 0

15. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 28 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินค่าเปิดบัญชีให้กับนายธนวรรธน์ หลีมูสา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงิน

 

1 0

16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3/4

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ทำหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุม
2.ประชุมตามเนื้อหาและกระบวนการของกิจกรรมประชุมครั้งที่ 3
3.ติดตามผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค 4.สรุปความก้าวหน้าดำเนินงานและกำหนดแผนติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แกนนำคณะทำงานได้รับทราบถึงปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน 2.ได้กำหนดระยะเวลาการรับสมาชิกใหม่ 3.แกนนำได้ติดตามและให้คำแนะนำกับสมาชิกในพื้นที่

 

24 0

17. สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 2/2

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงรายละเอียดก่อนลงสำรวจ 2.รายงานผลการสำรวจข้อมูลครั้งก่อน 3.ออกพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกผักปลอดสารพิษ หมู่ที่ 1-3 ในช่วงเช้า 4.ออกพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกผักปลอดสารพิษ หมู่ที่ 4-7 ในช่วงบ่าย 5.รายงานปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับชาวบ้านที่ปลูกผัก ผลลัพท์ที่ได้ชาวบ้านสามารถนำมาใช้จากวิธีการปลูกและการดูแลตลอดจนการจัดการเรื่องปุ๋ยในการดูแลผักเกิดผลผลิตที่ดี

 

24 0

18. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 2/4

วันที่ 13 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษครั้งที่ 2 -แบ่งกลุ่มออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แบ่งหน้าที่ติดตามผลการดำเนินงาน ผลลัพท์ทางคณะทำงานได้ลงพื้นที่สำรวจตามแผนดำเนินงานแนะนำชาวบ้านในการดูแลแปลงผัก

 

24 0

19. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3/4

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการจัดประชุมคณะทำงานและ ออกพื้นที่ติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้ลงพื้นที่ติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงผักในชุมชน สมาชิกได้ทำแปลงผักปลอดสารพิษและปลูกผักเพื่อบริโภคใช้ในครัวเรือน

 

24 0

20. การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4/4

วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประชุมและออกพื้นที่สำรวจข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนได้รับข้อมูลจากการออกพื้นที่สำรวจในครั้งที่ผ่านการแก้ไขปัญหาที่พบและวิธีในการกำจัดศัตรูพืชการใช้ปุ๋ย ทำให้ชุมชนมีข้อมูลสถานการณ์การบริโภคผักปลอดสารพิษ

 

24 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4/4

วันที่ 27 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งผลการดำเนินโครงการที่ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน รายงานผลปัญหาที่ประสบ ขณะดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติงาน แจ้งคณะทำงานเร่งติดตาม แปลงผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานในการติดตามผลตามแผนดำเนินงาน

 

24 0

22. จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชนโดยเชิญครัวเรือนเป้าหมาย และภาคีที่เกี่ยวข้องมาร่วรับทราบผลการดำเนินงานโครงการ
-ร่วมกันสรุปบทเรียนความสำเร็จว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง มีอะไรเป็นปัจจัยความสำเร็จและมีปัญหาอุปสรรคอะไร จะป้องกันแก้ไขอย่างไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชนโดยเชิญครัวเรือนเป้าหมาย และภาคีที่เกี่ยวข้องมาร่วรับทราบผลการดำเนินงานโครงการ
-ร่วมกันสรุปบทเรียนความสำเร็จว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง มีอะไรเป็นปัจจัยความสำเร็จและมีปัญหาอุปสรรคอะไร จะป้องกันแก้ไขอย่างไร

 

100 0

23. ค่าจัดทำเอกสาร

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเอกสารเกี่ยวกับโครงการบริโภคผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำเอกสารของโครงการทั้งหมด

 

1 0

24. เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

 

0 0

25. ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ ส่งเงินคืน อบจ.

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินจำนวน 0.60 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงินคืน อบจ.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพื่อร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดคณะทำงาน 24 ท่านประกอบด้วยตัวแทนจากกลุ่มตัวแทนหมู่บ้าน ปราชญ์ชุมชน จนท.อบต.เห็นชอบร่วมกัน -มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน -มีการวางแผนการดำเนินงาน -มีการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงการทำงาน สรุปผลการดำเนินงาน

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด รวมถึงรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ที่ความเข้าใจเรื่องสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด ถูกต้อง(จำนวน 56 คน)

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ (จำนวน 56 คน) -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติ(จำนวน 56 คน) -มีการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยหมุนเวียน 1 กลุ่ม -มีแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ตำบลควนโพธิ์จำนวน 1 แปลง -มีตลาดนัดจำหน่ายผักปลอดสารพิษในชุมชน 1 ตลาด

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษ ผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน(จำนวน 70 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพื่อร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด  รวมถึงรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษ ผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ก.1 ประชุมคณะทำงาน (2) ก.4 อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (3) ก.6 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (4) ไม่มีกลุ่มกิจกรรม (5) ก.5  ผลิตปุ๋ยและสารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน (6) ก.3 สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ (7) ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ (8) ก.8 จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน (9) ก.9 กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน (10) ก.2 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน (11) เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ. (12) ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ ส่งเงินคืน อบจ. (13) ปฐมนิเทศ (14) ประชุมร่วมเอ็มโอยู (15) จัดทำป้ายชื่อโครงการ (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/4 (17) ตรายาง (18) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1/2 (19) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2/4 (20) สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 1/2 (21) สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ (22) อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (23) อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (24) ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (25) ชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการเงินให้กับโครงการย่อย (26) ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 1/4 (27) ถอนเงินเปิดบัญชี (28) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3/4 (29) สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 2/2 (30) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 2/4 (31) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3/4 (32) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4/4 (33) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4/4 (34) จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน (35) ค่าจัดทำเอกสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-10154-020

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสามาด เตาวะโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด