directions_run

การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล


“ การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวิชิต ชูน้อย

ชื่อโครงการ การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2566 - 15 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ดังนั้นในปี 2566 ทาง”ชมรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองตำบลนิคมพัฒนา”ร่วมกับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินีนิคมพัฒนา มีแผนงานที่จะส่งเสริมและขยายเครือข่ายการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษและผักปลอดภัยในชุมชนเพิ่มมากขึ้นโดยมุ่งเน้นไปที่ครัวเรือนผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีความจำเป็นและต้องบริโภคผักในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นในอาหารแต่ละมื้อและมีแผนการเพิ่มพื้นที่ส่วนกลางให้สมาชิกมาปลูกผักที่เป็นผักที่ต้องการของตลาด อาทิ ผักกาดขาวหอม ผักคะน้า ผักสลัดต่างๆ เพื่อสำหรับการแบ่งขายให้กับสมาชิกและคนในชุมชนในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดและเป็นผักที่ปลอดภัยไร้สารพิษทั้งหมดและนอกจากนี้ทาง”ชมรมบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง”มีแผนพัฒนาต่อยอดพื้นที่ส่วนกลางที่ใช้สำหรับปลูกผักของสมาชิกชมรมให้เป็นฐานเรียนรู้ชุมชนในการผลิตอาหารที่ปลอดภัยให้กับคนทั่วไปและชุมชนในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย.วัถุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อการส่งเสริมให้ครัวเรือนมีการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคในครัวเรือนให้เพิ่มมากขึ้น
  2. 2.เพื่อจัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  3. 3.เพื่อสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผักแก่ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังให้เพิ่มมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การทำธุรกรรมทางการเงิน
  2. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงาน
  3. การจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและสมาชิกที่ร่วมดำเนินโครงการและสนใจเข้ารับการอบรม
  4. การจัดเก็บข้อมูล
  5. คณะทำงานเยี่ยมสร้างความเข้าใจและเชิญชวนครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเข้าร่วมปลูกผัก
  6. ร่วมกับแผนร่วมทุกอบจ.สตูล
  7. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผ
  8. จัดทำป้ายเกี่ยวกับโครงการ
  9. การทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  10. การมอบประกาศนียบัตรครัวเรือนต้นแบบ
  11. การจัดเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผักแก่กลุ่มเป้าหมาย
  12. เปิดบัญชีโครงการ
  13. ปฐมนิเทศโครงการย่อย
  14. การจัดอบรมหลักสูตรการเตรียมดินและวัสดุปลูกสำหรับการปลูกผักและพืช
  15. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  16. การจัดอบรมหลักสูตรการผลิตสารจำกัดศัตรูพืชจากพืชธรรมชาติ
  17. คืนเงินการเปิดบัญชี
  18. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  19. การปรับปรุงพื้นที่จัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ
  20. จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 1
  21. การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1
  22. การประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1
  23. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 1
  24. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  25. การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 2
  26. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 2
  27. จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 2
  28. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  29. การประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผัก
  30. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 2
  31. จัดจ้างจัดทำรายงานและการบันทึกผลการดำเนินงานในโปรแกรมคนสร้างสุข
  32. ปืดบัญชีโครงการ+ถอนเงินดอกเบี้ยคืนอบจ.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับและแนวทางการขยายผล 11.1ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนในพื้นที่ตำบลนิคมพัฒนามีการปลูกและบริโภคผักที่ปลอดสารพิษมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและเป็นการสนองตอบตามยุทธศาตรการพัฒนาของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอมะนัง(พชอ.มะนัง) จังหวัดสตูล ที่ได้กำหนดประเด็นเรื่องอาหารปลอดภัยทั้งในแง่ของความมั่นคงทางอาหารและความปลอดภัยทางอาหารเป็นประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาที่สำคัญของอำเภอมะนัง 11.2แนวทางขยายผล
11.2.1 มีการกำหนดแนวทางในต่อยอดการส่งเสริมการส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา ได้มีการกำหนดการขยายกลุ่มเครือกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานในปีต่อไปสู่โรงเรียนให้มีการจัดทำแปลงผักปลอดสารพิษเพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษกินและเป็นผลผลิตในการประกอบอาหารกลางวันแก่เด็กนักเรียนและครูในทุกโรงเรียนและนอกจากนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งในสังกัดอบต.นิคมพัฒนาได้มีการกำหนดนโยบายให้ครูประจำศูนย์และคณะกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กมีการจัดทำแปลงผักปลอดสารพิษสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันของศูนย์ด้วยซึ่งจากแนวทางนี้ก็จะผลทำให้การเพิ่มจำนวนพื้นที่และการบริโภคผักไปสู่ชุมชนและครัวเรือนที่มีเด็กนักเรียนได้เพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ 112.2 ในโครงการมีการจัดทำแปลงผักส่วนกลางและมีแผนในการพัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้การปลูกผักตามแนวทางโครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง”ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็จะเป็นพื้นทีต้นแบบในการดำเนินงานการปลูกผักแก่ชุมชนอื่นได้ในอนาคตต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 29 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แผนร่วมทุนอบจ.สตูล จัดอบรมเพื่อชี้แจงโครงการย่อยและพัฒนาศักยภาพคณะทำงานของโครงการย่อย โดยมีหัวข้อในการประชุมดังนี้ 1.นายกอบจ.สตูล เปิดการประชุมและนำเสนอนโยบายเกี่ยวกับแผนร่วมทุนและความคาดหวังของอบจ.สตูลที่มีต่อโครงการย่อย 2.แนะนำหัวหน้าโหนดเขต 1 และ 2 พี่เลี่ยงวิชาการเขต 2 3. เรียนรู้กระบวนการการจัดทำต้นไม้ปัญหา 4. เรียนรู้การจัดทำบันไดผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์และการจัดปฏิทินกิจกรรมโครงการ 5.เรียนรู้การจัดทำและเอกสารการเงินของโครงการย่อย 6. เรียนรู้การบันทึกผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ในเวบคนสร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะทำงานโครงการส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา  เข้าร่วมประชุมครบทั้ง 2 คนคือนางสาวอังคณา วรวรรณสงครามและนางสาวันดี รอดบุญมี ตามที่แผนร่วมทุนกำหนดให้โครงการย่อยละ 2 คน ผลลัพธ์ คณะทำงานทั้ง 2 คน สามารถเข้าใจและทำต้นไม้ปัญหา,บันไดผลลัพธ์และปฏิทินกิจกรรมได้ถูกต้อง แต่การจัดทำเอกสารการเงินและการบันทึกกิจกกรมในเวบคนสร้างสุขยังไม่เข้าใจและทำได้อย่างถูกต้อง ต้องกลับไปเรียนรู้เพิ่ีมอีก

 

2 0

2. คืนเงินการเปิดบัญชี

วันที่ 3 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายคืนเงินสำรองการเปิดบัญชีเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จ่ายคืนเงินสำรองการเปิดบัญชีเงินแก่นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม จำนวน 500 บาท

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 30 คน ผลลัพธ์คือในการประชุมครั้งนี้มีวาระการประชุมดังนี้ 1.แนะนำพี่เลี้ยงวิชาการ 2..พี่เลี้ยงชี้แจงความเป็นมาของแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดสตูลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล 3.คณะทำงานโดยนางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม   3.1 ชี้แจงหลักการและเหตุผลและที่มาของโครงการ   3.2แนวทางการดำเนินโครงการของแผนร่วมทุนฯ   3.3 นำเสนอต้นไม้ปัญหาของโครงการ   3.4 การนำเสนอบันไดผลลัพธ์ของโครงการ   3.5 การจัดทำข้อตกลงคณะทำงาน จำนวน 5 ข้อ   3.6 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงาน

 

30 0

4. การปรับปรุงพื้นที่แปลงสาธิตปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจ้างเหมารถไถมาปรับเกรดพื้นที่รอบสระน้ำสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนาเพื่อจัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ  จำนวน 4 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
มีพื้นที่สำหรับแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 1 แห่ง ผลลัพธ์ มีขนาดพื้นที่ไม่น้อยกว่า 400 ตรม.เพื่อใช้ในการแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

5 0

5. จัดทำป้ายเกี่ยวกับโครงการ

วันที่ 5 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการในกิจกรรมจัดทำป้ายไวนิลและตรายางที่เกี่ยวข้องกับโครงการ จำนวน 2 รายการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ป้ายไวนิล จำนวน 3 ป้าย ประกอบด้วย

  • ป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน จำนวน 1 ป้าย ราคาป้ายละ 450 บาท (เงินสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน )
  • ป้ายบันไดผลลัพธ์ จำนวน 1 ป้ายราคาป้ายละ 450 บาท (เงินสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน )
  • ป้ายงดสูบบุหรีและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 1 ป้ายราคาป้ายละ 200 บาท

รวม 3 รายการเป็นเงิน 1,100 บาท (เงินหนึ่งพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน )

โดยขอจัดจ้าง หจก.อาร์.เอแอนด์ ก๊อปปี้เซนเตอร์ ที่อยู่ 416 ม.3 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จังหวัดสตูล 91130 เบอร์ 074-740481 เป็นผู้รับจ้าง

2.ตราปั้มยางโครงการ จำนวน 1 อัน ในราคา 200 บาท (เงินสองร้อยบาทถ้วน)

โดยขอจัดจ้าง ร้านฟูรซานเครื่องเขียน ที่อยู่ 247 หมู่ที่ 5 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 91150 เป็นผู้รับจ้าง

 

0 0

6. จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 1

วันที่ 6 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานออกสำรวจและจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน 255 หลังคาเรือน รูปแบบในการสำรวจใช้แบบสอบถามที่จัดทำขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ครบทั้ง 255 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ 1.สรุปข้อมูลการปลูกดังนี้   -ครัวเรือนที่มีการปลูกผักชนิดเดียว จำนวน 7 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.74     -ครัวเรือนที่มีการปลูกผัก 2 ชนิด จำนวน 51 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 20.00     -ครัวเรือนที่มีการปลูกผัก 3 ชนิด จำนวน 69 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 27.05     -ครัวเรือนที่มีการปลูกผัก 4 ชนิด จำนวน 35 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 13.72     -ครัวเรือนที่มีการปลูกผัก 5 ชนิด จำนวน 16 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 6.27   -ครัวเรือนที่มีการปลูกผักมากกว่า 5 ชนิด จำนวน 77 หลังคาเรือน คอดเป็นร้อยละ 30.22   - ไม่มีครัวเรือนเป้าหมายที่ไม่ปลูกผักเลย 2.ข้อมูลการบริโภค     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 1 ทัพพี จำนวน 80 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 31.38     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 2 ทัพพี จำนวน 79 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 30.98     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 3 ทัพพี จำนวน 24 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.41     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 4ทัพพี จำนวน 19 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.45     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 5 ทัพพี จำนวน 14 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 5.49     -การบริโภคผักเฉลี่ยต่อคนต่อวันมากกว่า 5 ทัพพี จำนวน 39 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 15.29

 

255 0

7. ปรับปรุงโครงปลูกผักสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 7 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรับปรุงโครงปลูกผัก จำนวน 5 โครง                     ดังนั้นโครงการส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนนิคมพัฒนา จึงขออนุมัติจ้างปรับปรุงโครงปลูกผักโดยการจ้างเหมา นายบุญภพ มากจุ้ย หมายเลขประจำตัวประชาชน 5-2009-99012-44-3 ที่อยู่ บ้านเลขที่ 122 หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง  จังหวัดสตูล เป็นผู้รับจ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต   โครงเหล็กปลูกผัก จำนวน 5 โครง ผลลัพธ์   มีโครงหล็กสำหรับปลูกผักที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุใช้ในการปลูกผัก

 

0 0

8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานโครงการฯครั้งที่ 2 ในวันที่ 17 เดือนมีนาคม พ.ศ.2566 ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา เวลา 13.00 – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน ร่วมกับอสม.อีก 25 คน ผลลัพธ์ มีการจัดทำปฏิทินกิจกรรมโครงการในงวดที่ 1 การออกแบบการจัดเก็บข้อมูล 2  รายการ ดังนี้   1.การจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมายจำนวน 255 หลังคาเรือน โดยคณะทำงาน 6 คน   2.การจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมาย  จำนวน 1043 หลังคาเรือน ขอความร่วมมืออสม.ทุกคนร่วมกับคณะทำงานเป็นผู้จัดเก็บ

 

30 0

9. การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมาย
โดยคณะทำงาน จำนวน 6 คนและอสม.ผู้รับผิดชอบหลังคาเรือนในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 76 คน พร้อมกับจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนนอกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 1043 หลังคาเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต จำนวนครัวเรือนที่สามารถส่งเสริมและจัดเก็บข้อมูล ได้ครบ จำนวน 1043 หลังคาเรือน ผลผลิต ผลการจัดเก็บข้อมูล - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ปลูกผักเลย จำนวน 688 ร้อยละ 65.99 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผัก1 ชนิด จำนวน 76 ร้อยละ 7.28 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผัก2 ชนิด จำนวน 89 ร้อยละ 8.53 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผัก3 ชนิด จำนวน 78 ร้อยละ 7.47 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผัก4 ชนิด จำนวน 74 ร้อยละ 7.09 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผัก5 ชนิด จำนวน 24 ร้อยละ 2.3 - ครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายที่ปลูกผักมากกว่า5 ชนิด จำนวน 14 ร้อยละ 1.34

 

1,043 0

10. การจัดอบรมหลักสูตรการเตรียมดินและวัสดุปลูกสำหรับการปลูกผักและพืช

วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรการเตรียมดินและวัสดุปลูกผักและพืชให้กับกลุ่มเป้าหมายหลักตามโครงการ จำนวน 25 คน จำนวน 1 รุ่น ในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2566 ในเวลาตั้งแต่ 09.00 – 16.30 น. ณ อาคารผู้สูงอายุสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯนิคมพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต   มีผู้เข้าร่วมการอบรมครบ จำนวน 25 คน ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจจากวิทยากรที่มีประสบการณ์ตรงในการดำเนินการเตรียมดินในการปลูกผักที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน 2. ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติเพื่อดรียนรู้การทำจริงในการเตรียมดินปลูกผักในแต่ละชนิดผัก

 

25 0

11. การประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การการจัดเวทีการประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1 ของแผนร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในระดับพื้นที่ จังหวัดสตูล ที่ให้โครงการย่อยแต่ละโครงนำเสรอผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นสุขภาพที่ดำเนินการกัลพื้นทีอื่นที่ดำเนินการในประเด็นเดียวกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานโครงการฯจำนวน 3 คนเข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วย   1.นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม   2.นางสาววันดี  รอดบุญมี   3.นางปียานุช แสงศรีธรรม ผลลัพธ์ คณะทำงานทั้งสามคนไดเแลกเปลี่ยนรู้ประเด็นของพื้นที่อื่นแล้วนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานโครงการต่อไป

 

0 0

12. การจัดอบรมหลักสูตรการผลิตสารจำกัดศัตรูพืชจากพืชธรรมชาติ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรการผลิตสารจำกัดศัตรูพืชจากพืชธรรมชาติให้กับคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายหลัก จำนวน 25  คน ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ ศูนย์เรียนรู้สวนสละลุงธา บ้านผัง 18 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ในเวลาตั้งแต่ 09.00 - 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมการอบรมจำนวน 25 คน ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ตรงในการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ทำมาจากสารธรมชาติทำให้ผู้เข้าการอบรมสามารถนำไปใช้ในต่อได้เลย 2.ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้จากพื้นที่ต้นแบบคือสวนสละลุงธาทำให้สามารถนำไปประยุกตฺใช้ในพื้นที่เกษตรของตนเองได้

 

25 0

13. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 1

วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการจัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางสุขการบริโภคผักปลอดสารพิษแก่กลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 วันที่ 20 สิงหาคม 2566
ณ  อาคารผู้สูงอายุสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา เวลา 12.00 -13.00 น.  ลงทะเบียน เวลา 13.00 -15.00 น.  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผัก  วิทยากร นางอุบล เถื่อนทิม พยาบาลวิชาชีพ
เวลา 15.00 -15.10 น.พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 15.10 -16.30 น. การบริโภคผักเพื่อป้องกันโรค เวลา 16.30 น.            ปิดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย    ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ จำนวน 50 คน รูปแบบการจัดกิจกรรม  การบรรยายและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการบริโภคผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต     -มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ครบจำนวน  50 คน ประกอบด้วย         1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดัน  จำนวน 28 คน         2.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดัน  จำนวน 22 คน ผลลัพธ์     - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการบริโภคผักเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถอธิบายประเภทผัก สรรพคุณทางยาและการบริโภคผักในการป้องกันโรคได้มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด

 

50 0

14. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วาระการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา กำหนดการประชุม วาระที่ 1 ประธานแจ้งทราบไม่มี วาระที่ 2 รับรองการประชุมครั้งที่แล้ว วาระที่ 3 เพื่อติดตามการประชุมครั้งที่แล้ว ไม่มี วาระที่ 4 เพื่อพิจารณาและดำเนินการ           4.1 รายงานผลการดำเนินงานช่วงเดือนเมษายน - กรกฎาคม 2566           4.2 การจัดเก็บข้อมูลครั้งที่ 2             4.3 รายงานการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีคณะทำงานเข้าร่วมครบจำนวน  30 คน ผลลัพธ์ ตามรายงานการประชุมที่แนบ

 

30 0

15. จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 2

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการดำเนินการจัดกิจกรรมจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมายครั้งที่ 2 ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จำนวนครัวเรือนที่จัดเก็บ 255 ครัวเรือน ในระหว่างวันที่ 25 – 30 สิงหาคม 2566 โดยมีคณะทำงานที่จัดเก็บข้อมูลในครั้งนี้ประกอบด้วย           1.นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม           2.นางสาววันดี รอดบุญมี           3. นางสาวพัชนี แวยาลอ           4. นางสาวอังคณา อำนวยผล           5. นายสุรเกียรติ รักจัน           6. นางปาริชาติ สังรัตน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต *สามารถจัดเก็บได้ครบทั้ง 255 ครัวเรือน ผลลัพธ์ *ตามเอกสารแนบ

 

255 0

16. การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 2

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันเดือนปี หมู่ที่ จำนวนหลังคาเรือน(หลัง) รายชื่ออสม.ที่ร่วมจัดเก็บ คณะทำงานผู้จัดเก็บ 2 กันยายน 2566 1 ต.นิคมพัฒนา 104 1.นายจัด เพชรรัตน์ 2.นางจำนง อรน้อม 3.นางสุชัญญา ศิริรัตนนานนท์4.นางกัญญาลักษณ์ บุญชูวดีสกุล5.นางพิชญดา โนรดี6.นางวาสนา  เพชรมาก 7.นางอุไรวรรณ แสงศรีธรรม 8. นางสุชาดา จวนมิ่ง 1.น.ส.อังคณา วรวรรณสงคราม 2.นายสุรเกียรติ รักจัน 3.นางวันดี รอดบุญมี 4.น.สพัชนี แวยาลอ 5.นางสาวอังคณา อำนวยผล 6.นางปาริชาติ สังรัตน์ 3 กันยายน 2566 2 ต.นิคมพัฒนา 120 1.นายถวิล  นุ้ยลิบ2.นางวิมล ครุฑจ้อน3.นางโสภา สุวรรณรัตน์4.นางเพ็ญศรี เจนสุวรรณกุล5.นางสุพิศ นะมาเส6.นางอารีย์ ตั้นซู่7.น.ส.ทิพย์วิมล บุญพรหม8.นางเฉลิมพร สุวรรณรัตน์9.นางปราณี เลิศคงยศ10.นางวิมลศิริ  นกเพชร11.นางสุพิศ  ด้วนมี12.นางวันเพ็ญ สุวรรณสังข์
4 กันยายน 2566 3 ต.นิคมพัฒนา 209 1.นางสมร อริยะพงษ์2.น.ส.เสหียน มณีโชติ3.น.ส.กัลยากร ขาวแสง4.นางฉลวย คงจริง5.นางสกลพร แก้วคงที่6.นางณัฐนันท์ อริยะพงษ์7.น.ส.อนันต์ธิดา ทองไทย8.น.ส.สุภาพร  ชูฟอง9.นางหนูเลียบ ปังเอี้ยน10.น.ส.อรอนงค์ อุปถัมป์11.นางรัตติกานต์  อริยะพงษ์12.นางสมบูรณ์  ชายแก้ว13.นางจารึก ชูฟอง14.นางหม่วย  ชูเชิด15.นางพรชนก อริยะพงษ์ 5 กันยายน 2566 7 ต.นิคมพัฒนา 229 1.นางระยอง  ย่องหิ้น2.นางสุกัญญา อินยอด3.นางนิตยา ขุนพลช่วย4.นางอนงค์  ชูแก้ว5.นางวรรดี เรืองแก้ว6.น.ส.อมรรัตน์ สุวรรณอำภา7.น.ส.วิภาดา ปานเพชร8.นายทรงยศ เลิศนิธินันท์9.น.ส.วิไลลักษณ์ วิจิตรไพโรจน์10.นางลูกจันทร์ หนูละออง11.นางธาริณี  วรพันธ์12.นางพรรณิภา  แก่นทอง 13.น.ส.มณีวรรณ แสงกล้า 14.นางสาวอโณทัย กิจสวัสดิ์


กำหนดการการจัดเก็บข้อมูลการปลูกและบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย วันเดือนปี หมู่ที่ จำนวนหลังคาเรือน(หลัง) รายชื่ออสม.ที่ร่วมจัดเก็บ คณะทำงานผู้จัดเก็บ 6 กันยายน 2566 8 ต.นิคมพัฒนา 192 1.นางภรณ์ทิพย์  ชูเกลี้ยง2.นางจุรีพร  ชูน้อย3.นางจัด  รัตน์รงค์4.นายธนากร  พลฤทธิ์5.นางสุคร พฤษศรี6.นางอุทัยทิพย์ บุญมา7.นางรัตนธานี ชูน้อย8.นางวาสนา  ด้วงสังข์9.นางพรประภา แหล่งนาม10.นางยุภาภรณ์  ญาติพัฒน์11.นางชะอ้อน ชูน้อย 1.น.ส.อังคณา วรวรรณสงคราม 2.นายสุรเกียรติ รักจัน 3.นางวันดี บุญรอด 4.น.สพัชนี แวยาลอ 5.นางสาวอังคณา อำนวยผล 6.นางปาริชาติ สังรัตน์ 7กันยายน 2566 9 ต.นิคมพัฒนา 195 1.นางปิยานุช แสงศรีธรรม2.นางศิริรักษ์  อิศดุล3.นางศิริภรณ์  มะอักษร4.นางพรทิพย์  ถนิมกาญจน์5.นางอรวรรณ จันทโร6.นางอิสราภรณ์ รักษ์ณรงค์7.นางพัชรี ขวัญปาน8.นางวรรณา  ขวัญปาน9.นางวรรณา  เพ็ชรประพันธ์10.นางนุศรา  หนูสง11.นางอรอารี  แว่นดี12.นางกรรวี  มีแก้ว13.นางรติมา  ช้างแก้ว14.นางสาวปรีดา  ศรีนวลขาว15.นางพัชญา  คล้ายแก้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต * สามารถจัดเก็บได้ครบตามเป้าหมายที่วางไว้คือ 1049 ครัวเรือน ผลลัพธ์ *ตามเอกสารแนบ

 

1,043 0

17. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 2

วันที่ 5 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการจัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ครั้งที่  2 ณ อาคารผู้สูงอายุ 12.00 -13.00 น. ลงทะเบียน  (นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม ) 13.00 - 15.00น. การกินผักตามธาตุเจ้าเรือน (นางรุสนี  รอเกต ) 15.00 - 15.10 น. รับประทานอาหารว่าง (นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม ) 15.10 - 16.30 น. การบริโภคผักเพื่อป้องกันโรค (นางอุบล เถื่อนทืม) 16.30 น. ปิดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต *มีกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังที่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมครบ 50 คน ผลลัพธ์ * ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 87 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และสามารถตอบข้อคำถามของวิทยากรได้

 

50 0

18. การจัดเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผักแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจัดเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผักแก่กลุ่มเป้าหมาย รูปแบบการจัด
  - เป็นการประสานแผนร่วมกันกับองค์การบริส่วนตำบลปาล์มพัฒนา   - การบบรรยายโดยวิทยากร   - การสาธิตและแข่งขันการปรุงทำเมนูผักชูสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้า     - อสม.     - กลุ่มผู้ืป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง     - คณะทำงานจำนวน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -จำนวนผู้เข้าร่วม ประกอบด้วย     *อสม. จำนวน  52 คน     *กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  จำนวน 43 คน     *คณะทำงานโครงการ จำนวน 25 คน     *ผู้สนใจหรือบุคลากรของอบต.ปาล์มพัฒนา จำนวน 21 คน           รวมเป็น 141 คน ผลลัพธ์       *ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และเห็นความสำคัญในการบริโภคผักผ่านการสาธิตและการประกอบเมนูอาหารที่มีองค์ประกอบของผักจากการสาธิตจริงทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจและเห็นภาพชัด

 

0 0

19. การประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผัก

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจ้างผู้ประสานงานดำเนินประสานงานกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผัก โดยผู้ทำหน้าประสานงานจะต้องดำเนินการลงไปในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประสานงานสามารถประสานกลุ่มเป้าหมายได้ครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 6 หมู่บ้าน สามารถทำให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ทั้งหมด 141 คน

 

0 0

20. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 2

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมร่วมกับแผนงานร่วมทุนฯอบจ.สตูลเพื่อให้คณะทำงานโครงการย่อย ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ผลการดำเนินงานก่อนสรุปปิดโครงการ มีประเด็นที่เรียนรู้ร่วมกันดังนี้ 1.ปัจจัยหรือผลลัพธ์ตามบันไดผลลัพธ์ในแต่ละประเด็นที่สำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ 2.ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและแนวทางแก้ไขที่โครงการย่อยประสบและดำเนินการ 3.ความสำเร็จตามตัวชี้วัดที่สรุปก่อนปิดโครงการ 4.การนำผลไปสู่การขยายไปยังพื้นที่อื่นในอนาคต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ตัวแทนโครงการที่เข้าร่วม จำนวน 3 คน คือ   -นางสาวอังคณา วรวรรณสงคราม   - นางโสภา  สุวรรณรัตน์ 2.การถอดบทเรียนร่วมกับโครงการประเด็นผักร่วมกับโครงการย่อยอื่น พบประเด็นที่เป็นจุดร่วมกันดังนี้     *ปัจจัยหรือกลวิธีสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จของโครงการส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักในชุมชนตำบลนิคมพัฒนาคือ         ตัวชี้วัดเรื่องการปลูกผัก คือ           -การใช้รูปแบบการสร้างครัวเรือนต้นแบบที่ปลูกผักเป็นแกนนำในการขนายผลและส่งเสริมการปลูกผักกินเองให้กับครัวเรือนอื่น           - การใช้กลไกคณะทำงานลงสำรวจและพูดคุยเป็นรายครัวเรือนในครัวเรือเป้าหมาย           - การส่งเสริมเน้นการปลูกผักพันธ์พื้นบ้านที่มีความต้านทานโรคสูงแต่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงเช่นกัน อาทิ  มะเขือเปราะ มะเขือพวง             มะม่วงหิมพานต์ พริกขี้หนูสวน  ผักบุ้งจีน เป็นต้น           ตัวชี้วัดเรืองเรืองการบริโภคผัก คือ             - การใช้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม             - การใช้รูปแบบการสร้างความรอบรู้ที่ผ่านกระบวนการใช้เมนูอาหารในแต่ละวันเป็นฐานการเรียนรู้

 

0 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วาระการประชุมคณะทำงานครัั้งที่ 4 วันที่ 20 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา วาระที่ 1 ประธานแจ้งทราบ วาระที่ 2 รับรองการประชุมครั้งที่แล้ว วาระที่ 3 เพื่อติดตามการประชุมครั้งที่แล้ว วาระที่4 เพื่อพืจารณาและดำเนินการ               4.1การสรุปผลการดำเนินงานเพื่อปิดโครงการ               4.2 รายงานการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต *มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมครบทั้ง 30 คน ผลลัพธ์   * ตามรายงานการประชุมที่แนบ

 

30 0

22. การมอบประกาศนียบัตรครัวเรือนต้นแบบ

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการการมอบประกาศนียบัตรแก่ครัวเรือนต้นแบบที่มีการปลูกผักอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวน 10 หลังคาเรือน ประกอบด้วย 1. นายประจวบ อินยอด  บ้านเลขที่44 หมู่ที่ 1 ตำบลนิคมพัฒนา 2. นายเอิบ  เถื่อนทิม      บ้านเลขที่34 หมู่ที่ 3 ตำบลนิคมพัฒนา 3. นายสมนึก  อ่อนมาก  บ้านเลขที่10/1 หมู่ที่ 3 ตำบลนิคมพัฒนา 4. นายสมนึก  อ่อนมาก  บ้านเลขที่10/1 หมู่ที่ 3 ตำบลนิคมพัฒนา 5. นายอดุลย์  หมวดสง  บ้านเลขที่129/1 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา 6. นายสุธา    อินยอด  บ้านเลขที่22/1 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา
7. นายจรูญ    โต๊ะคด  บ้านเลขที่5 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา 8. นายการุณ  ชนะหลวง บ้านเลขที่ 82/1 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา 9.นายใจ  สะอาดแก้ว  บ้านเลขที่121 หมู่ที่ 8 ตำบลนิคมพัฒนา 10. นายสุวิทย์    มงคล  บ้านเลขที่184 หมู่ที่ 9 ตำบลนิคมพัฒนา

 

0 0

23. จัดจ้างจัดทำรายงานและการบันทึกผลการดำเนินงานในโปรแกรมคนสร้างสุข

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจัดจ้างจัดทำรายงานและการบันทึกผปผลการดำเนินงานในโปรแกรมคนสร้างสุข
โดยจ้างนางสาวอโณทัย กิจสวัสดิ์ ที่อยู่ 25/1 หมู่ที่ 7 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล เป็นผู้รับจ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • รายงาน ส.2 *รายงานง.2 *ผลการบันทึกในการดำเนินงานในเวบคนสร้างสุข

 

0 0

24. ปืดบัญชีโครงการ+ถอนเงินดอกเบี้ยคืนอบจ.

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปืดบัญชีโครงการ+ถอนเงินดอกเบี้ยคืนอบจ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปืดบัญชีโครงการ+ถอนเงินดอกเบี้ยคืนอบจ.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อการส่งเสริมให้ครัวเรือนมีการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคในครัวเรือนให้เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.1จำนวนครัวเรือนในหมู่บ้านมีการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน 1.2 ร้อยละ 50 ของจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักบริโภคในครัวเรือน มีชนิดผักที่ปลูกอย่างน้อย 5 ชนิดผัก
1.00

 

2 2.เพื่อจัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.แปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน จำนวน 1 แห่ง 2.มีโครงปลูกผักในกระเบื้องสำหรับสมาชิกชมรมที่เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 5 โครง
1.00

 

3 3.เพื่อสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผักแก่ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังให้เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคผักเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 30 เปรียบเทียบก่อน-หลังดำเนินโครงการ 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคผักเป็นประจำทุกวันอย่างน้อย 2 มื้่อต่อวัน เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมาย
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อการส่งเสริมให้ครัวเรือนมีการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคในครัวเรือนให้เพิ่มมากขึ้น (2) 2.เพื่อจัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) 3.เพื่อสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผักแก่ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังให้เพิ่มมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การทำธุรกรรมทางการเงิน (2) จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงาน (3) การจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและสมาชิกที่ร่วมดำเนินโครงการและสนใจเข้ารับการอบรม (4) การจัดเก็บข้อมูล (5) คณะทำงานเยี่ยมสร้างความเข้าใจและเชิญชวนครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเข้าร่วมปลูกผัก (6) ร่วมกับแผนร่วมทุกอบจ.สตูล (7) จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผ (8) จัดทำป้ายเกี่ยวกับโครงการ (9) การทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน (10) การมอบประกาศนียบัตรครัวเรือนต้นแบบ (11) การจัดเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผักแก่กลุ่มเป้าหมาย (12) เปิดบัญชีโครงการ (13) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (14) การจัดอบรมหลักสูตรการเตรียมดินและวัสดุปลูกสำหรับการปลูกผักและพืช (15) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (16) การจัดอบรมหลักสูตรการผลิตสารจำกัดศัตรูพืชจากพืชธรรมชาติ (17) คืนเงินการเปิดบัญชี (18) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (19) การปรับปรุงพื้นที่จัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ (20) จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 1 (21) การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 1 (22) การประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1 (23) จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 1 (24) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (25) การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนอกกลุ่มเป้าหมายครั้งที่ 2 (26) จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในการบริโภคผัก ครั้งที่ 2 (27) จัดเก็บข้อมูลปลูกและการบริโภคผักในครัวเรือนเป้าหมาย ครั้งที่ 2 (28) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (29) การประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนและส่งเสริมการบริโภคผัก (30) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 2 (31) จัดจ้างจัดทำรายงานและการบันทึกผลการดำเนินงานในโปรแกรมคนสร้างสุข (32) ปืดบัญชีโครงการ+ถอนเงินดอกเบี้ยคืนอบจ.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชิต ชูน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด