stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ Environment Youth Junior (แด็กแวดล้อม) รุ่นที่ 1
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 56,650.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มรักษ์โตนสะตอ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสิริ หลำสะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอรุณ ศรีสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ม.1 ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 ก.พ. 2566 15 มิ.ย. 2566 16 ก.พ. 2566 31 ก.ค. 2566 28,325.00
2 16 มิ.ย. 2566 15 ก.ย. 2566 16 มิ.ย. 2566 19 ธ.ค. 2566 22,660.00
3 16 ก.ย. 2566 15 ต.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 5,665.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 56,650.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานสารเสพติด
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชุมชนบ้านเหมืองตะกั่ว มีครัวเรือนทั้งหมด 253ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด875 คนโดยแยกเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนเกินร้อยละ30ของประชากรทั้งหมด อาชีพของคนในชุมชนคือการประกอบอาชีพทางการเกษตร ทำสวนยางพารา ทำสวนผลไม้ ประชากรทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม
จากกลุ่มเด็กเยาวชนที่อยู่ในชุมชนเกินร้อยละ90ที่ไม่ได้นำเวลาว่างของตัวเองมาทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ต่างคนต่างอยู่ จึงเกิดสภาพที่เกิดความโดเดี่ยวของเด็กเนื่องด้วยสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะจิตที่ย่ำแย่และการเจ็บป่วยจากการติดสารเสพติดจนนำไปสู่การเข้าสังคมไม่ได้ของเยาวชน การไม่สนใจไม่มีความสัมพันธ์ของคนรอบข้าง จากอัตราสถิติ การคาดการณ์ จำนวนเยาวชนในหมู่ที่ ๑ จำนวน ๒๐๐ คน ร้อยละ ๓๐ คน เกิดสภาพปัญหาการติดโซเซียลเทคโนโลยีอันนำไปสู่การมีผลกระทบต่อสุขภาวะจิตและการพึ่งพายาเสพติด ในปัจจุบันอัตราการซื้อขายยาเสพติดที่เพิ่มขึ้น ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท/ปี และมูลค่าการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พฤติกรรมเหล่านี้เป็นผลนำไปสู่การใช้เวลาว่างที่ไม่เกิดประโยชน์ และการขาดทักษะ ความรู้การใช้ชีวิตให้เกิดประโยชน์ อีกทั้งกลไกการไม่มีเครือข่ายร่วมในการทำงาน หรือ กิจกรรมที่สร้างสรรค์ ไม่มีการรวมกลุ่มที่ชัดเจน และข้อตกลง แผนงาน โครงการ, กิจกรรมที่ไม่มีดำเนินการในพื้นที่ สิ่งเหล่านี้มาจากสภาพแวดล้อมด้านสังคมและกายภาพไม่เอื้อต่อการการสร้างสรรค์กิจกรรม การมีแหล่งมั่วสุ่มที่เยอะในพื้นที่ การเข้าเข้าถึงสิ่งไม่ดีง่าย การใช้โซเซียลตอลดเวลา และการซื้อขายยาเสพติดอย่างเปิดเผยในพื้นที่สาธารณะ
    กระบวนการสำคัญที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาดังกล่าว จำเป็นที่ต้องรวมกลุ่มและนำเยาวชนเข้าสู่กระบวนการทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาวะจิตของสังคมเด็กและเยาวชน และยาเสพติดเพื่อให้เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในสังคมวัยรุ่นผ่านทรัพยากรป่าไม้ต่างๆในพื้นที่ และพื้นที่ในการเป็นแปลงสาธิตเยาวชนแด็กแวดล้อม ซึ่งเป็นทุนเดิมที่หมู่บ้านมี     เยาวชนที่เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สุขภาวะจิตดีขึ้น อัตราการติดเทคโนโลยีและการติดยาเสพติดที่ลดลง มันจะนำไปสู่การสร้างเครือข่ายร่วมกันในการทำงานหรือกิจกรรมในพื้นที่อย่างสร้างสรรค์ มีข้อตกลง แผนงาน โครงการ กิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ลดสภาวะกลุ่มเสี่ยงที่จะนำไปสู่การพึ่งพา สารเสพติดในอนาคต

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับการใช้ชีวิตเชิงสร้างสรรค์ ในการทำกิจกรรมเพื่อสังคมชุมชน

1 จำนวนเยาวชนมีความรู้การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2 มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มเด็กเยาวชนอย่างน้อย1ชุด

2 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนการทำงานของกลุ่มเด็กเยาวชน

1เกิดกลุ่มขับเคลื่อนงานสร้างสรรค์เยาวชน 1 กลุ่ม 2เกิดแผนงาน, กิจกรรม, โครงการ, ในการขับเคลื่อนเยาวชนสร้างสรรค์ 1 ชุด 3มีกติกาในการทำกิจกรรมร่วมกันของเด็กเยาวชน

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

1 เกิดพื้นที่เรียนรู้แลกเปลี่ยน, สร้างสรรค์ชุมชนร่วมกัน อย่างน้อย2 จุด

4 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่มีกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ทำเพิ่มขึ้น

เยาวชนในกลุ่มเป้าหมาย 80 % ร่วมกันสร้างสรรค์สังคม

5 เพื่อการบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ

มีการจัดทำรายงานที่ครบถ้วนและถูกต้อง มีการบริหารงบประมาณที่โปร่งใส มีการร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการโครงการทุกครั้ง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 บริหารจัดการโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 9 0.00 4 3,264.00
16 ก.พ. 66 ปฐมนิเทศน์ผู้รับทุน 3 0.00 464.00
20 พ.ค. 66 จัดทำป้ายประกอบโครงการ 0 0.00 576.00
24 ก.ค. 66 เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับแผนงานร่วมทุน ครั้งที่1 3 0.00 928.00
15 ส.ค. 66 งานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข 3 0.00 1,296.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 368 50,350.00 15 54,014.00
5 พ.ค. 66 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างกลไกและกติกากลุ่มเยาวชน 30 1,900.00 1,900.00
6 พ.ค. 66 ทำแผนพัฒนาชุมชนในมุมมองเยาวชน 40 9,500.00 9,500.00
11 พ.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 20 800.00 800.00
30 พ.ค. 66 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติเรื่อง”การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ 40 9,800.00 9,800.00
10 มิ.ย. 66 กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมเยาวชน 35 3,650.00 3,650.00
21 มิ.ย. 66 กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE 1 10 0.00 0.00
2 ก.ค. 66 กิจกรรมเรียนรู้ทรัพยากรพืชท้องถิ่น 30 6,000.00 6,000.00
11 ก.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 20 800.00 800.00
12 ก.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 20 800.00 800.00
5 ส.ค. 66 กิจกรรมค่ายดนตรี 30 9,800.00 9,800.00
6 ส.ค. 66 เยาวชนจัดการขยะเชิงสร้างสรรค์ 30 5,700.00 5,700.00
12 ส.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 20 800.00 800.00
29 ก.ย. 66 ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา ระดับแผนงานร่วมทุนครั้งที่2 3 0.00 928.00
12 ต.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่5 20 800.00 800.00
19 ธ.ค. 66 รวมพลคนสามวัย 20 0.00 2,736.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2566 21:54 น.