directions_run

โครงการพัฒนาเครือข่ายดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลฝาละมี

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายเป็นกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 12.มีเครือข่ายผู้สูงอายุ 30 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากตัวแทนทุกภาคส่วน เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนคุ้มบ้าน อปท. รพ.สต. เป็นต้น 2 เครือข่ายผู้สูงอายุสามารถจัดทำแผนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และผลักดันให้เกิดการดำเนินงานตามแผน
30.00 30.00

มีเครือข่ายผู้สูงอายุ

เครือข่ายผู้สูงอายุ มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจนและมาจากตัวแทนทุกภาคส่วน

มีการจัดทำแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจน

2 เพื่อให้เครือข่ายผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองและสามารถ จัดการในการทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้
ตัวชี้วัด : 3 เครือข่ายผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง 4.เครือข่ายผู้สูงอายุ 30 คน มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม
100.00 100.00

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง

เครือข่ายผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ

ผู้สูงอายุมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเองมากขึ้น กลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญต่อการออกกำลังกาย

3 . เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 5. ผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ที่ผ่านการอบรมมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง 6. ร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุ มีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์
100.00 100.00

ผู้สูงอายุมีความรู้และตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผู้สูงอายุที่ผ่านการอบรมมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขุึ้น

ผู้สูงอายุมีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์ ชัดเจน

4 เพื่อให้เกิดเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 7. มีการดำเนินงานของเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกชุมชม อย่างน้อย ชุมชนละ 1 ชมรม 8. ผู้สูงอายุประเภท 3 และ 4 และผู้สูงอายุกลุ่มเปราะบาง ได้รับการดูแลและได้รับการเยี่ยมจากเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ทุกคน 9. มีผลการประเมินติดตามการดำเนินงานเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 10.มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน รวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำทุกเดือน
1.00 1.00

เครือข่ายดูแลผู้สูงอายุมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย

เครือข่ายผู้สูงอายุ มีการแนะนำการดูแลสุขภาพของตนเอง

เครือข่ายผู้สูงอายุมีการปฏิบัติเป็นแบบอย่างถึงได้บอกต่อกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง