directions_run

โครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

assignment
บันทึกกิจกรรม
เวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ19 ธันวาคม 2566
19
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมเวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ วันอังคารที่ 19 ธันวาคม 2566 ณ หอประชุมใหญ่ โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง 12.30-13.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน 13.00-13.15 น.พิธีเปิดกิจกรรม เปิดงานโดยประธานคณะกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง กล่าวรายงานโดยเลขานุการคณะกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง 13.15-13.30 น. พิธีมอบเกียรติบัตรให้แก่ผู้ขอรับทุนที่มีผลงานโดดเด่นและคณะทำงานสนับสนุนวิชาการขับเคลื่อนแผนงานร่วมทุนฯ 13.30-14.00 น. รวมพลคนสามวัยออกกำลังกาย ขยับกาย สบายชีวี ด้วยการเต้นบาสโลป นำออกกำลังกายโดยผู้ขอรับทุนจำนวน 6 ทีม 1. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย ช่วงวัย ด้วยบาสโลป ไลน์แด๊นท์ และรำไทย สอนบ้านควนปอม 2. โครงการส่งเสริมการขยับกายในชุมชน ตำบลชะรัด 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายและใจในผู้สูงอายุ หมู่ที่ ๗ บ้านลานช้าง 4. โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง 5. โครงการกิจกรรมทางกายสร้างสรรค์ใช้เวลาร่วมกันของคนบ้านควนนกหว้า 6. โครงการผู้หญิงออกกำลังกายสู้โรคที่ชุมชนโหละจันกระ 14.00-15.00 น. คณะกรรมการบริหารฯ ทีมสนับสนุนวิชาการ และผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมบูธนิทรรศการซึ่งจัด โดยหน่วยงานผู้ขอรับทุนและแผนงานร่วมทุน จำนวน 31 บูธ
คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม 10 คนได้นำเมนูอาหารและผลิตภัณฑ์จากทะเลภายใต้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของชุมชน เข้าร่วมจัดบูท เช่น ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน กุ้งหวาน กุ้งแห้ง กุ้งแก้วสามรส ปลาบุตรีตากแห้ง มันกุ้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม 10 คนได้นำเมนูอาหารและผลิตภัณฑ์จากทะเลภายใต้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของชุมชน เข้าร่วมจัดบูท เช่น ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน กุ้งหวาน กุ้งแห้ง กุ้งแก้วสามรส ปลาบุตรีตากแห้ง มันกุ้ง

กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่231 ตุลาคม 2566
31
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

08.30-09.00น ลงทะเบียน 09.00น-0930นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และเตรียมความพร้อม 09.30น-10.00นพิธีเปิดการประชุม กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม โดยผู้อำนวยการกองสาธารณสุข กล่าวเปิดกิจกรรม โดยนายกองศ์การบริหารสว่นจังหวัดพัทลุง 10็น.00-11.00น แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม แบ่งกลุ่ม ทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ กลุ่มที่ 1 ประเด็น เยาวชนและครอบครัว วิทยากรกระบวนการ ว่าที่ร้อยตรีเกรียงไกร บรรจงเมือง และนางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ กลุ่มที่ 2 ประเด็นผู้สูงอายุ วิทยากรกระบวนการ นางสาว จิราภรณ์ บุญมาก และ นางสาว จุฑาธิป ชูสง กลุ่มที่3 ประเด็นอาหารปลอดภัย วิทยากรกระบวนการ นางสาวเบญจวรรณ เพ็งหนู  และ นายณัฐพงศ์ คงสง กลุ่มที่ 4 ประเด็นกิจกรรมทางกาย วิทยากรกระบวนการ นาย อรุณศรีสุวรรณ และ นายประเทือง อมรวิริยะชัย  นำเสนอผลการระดมความเห็นกลุ่มย่อย ชุมชนบ้านบ้านช่องฟืนอยู่ กลุ่มที่ 3 อาหารปลอดภัย คณะทำงานเดิม20 คน เพิ่มเป็น 21 คน กลุ่มเป้าหมาย 75 คนเพิ่มเป็น 200 คน พื่นที่ผลิตอาหารปลอดภัย  5 ชนิดเพิ่มเป็น 6 ชนิดและเพิ่ม5 รสชาติ  ภาคีเครือข่ายที่สนับสนุน รักษ์ทะเลไทย/ผู้นำชุมชน/ ม.หาดใหญ/เครือข่ายประมง/ม.ทักษิณพัทลุง/สสจ/อสม  ผู้บริโภคอาหารปลอดภัย 500 คน กติกาข้อตกลง ห้ามเครื่องมือบางชนิดที่ทำลายล้าง /ห้ามจับในเขตอนุรักษ์/เรือต้องสะอาดไม่มีคราบน้ำมัน/ต้องมีความสะอาดทุกขั้นตอนการผลิต แกนนำต้นแบบ 15 คนเป็น 20คน  ข้อจำกัด ช้าเรื่องการเงิน ขาดความชัดเจนด้านเอกสารการเงินและการจ่ายของหน่วย อื่นๆ มีกลุ่มเด็ก 5-20 ปีเจ้าประชุมมีส่วนร่วม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเดิม20 คน เพิ่มเป็น 21 คน กลุ่มเป้าหมาย 75 คนเพิ่มเป็น 200 คน พื่นที่ผลิตอาหารปลอดภัย  5 ชนิดเพิ่มเป็น 6 ชนิดและเพิ่ม5 รสชาติ  ภาคีเครือข่ายที่สนับสนุน รักษ์ทะเลไทย/ผู้นำชุมชน/ ม.หาดใหญ/เครือข่ายประมง/ม.ทักษิณพัทลุง/สสจ/อสม  ผู้บริโภคอาหารปลอดภัย 500 คน กติกาข้อตกลง ห้ามเครื่องมือบางชนิดที่ทำลายล้าง /ห้ามจับในเขตอนุรักษ์/เรือต้องสะอาดไม่มีคราบน้ำมัน/ต้องมีความสะอาดทุกขั้นตอนการผลิต แกนนำต้นแบบ 15 คนเป็น 20คน  มีกลุ่มเด็ก 5-20 ปีเจ้าประชุมมีส่วนร่วม

เวทีนำเสนอผลผลิตจากชุมชนภายใต้มาตรฐาน(เวทีสรุปผลการดำเนินโครงการ)28 ตุลาคม 2566
28
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทีมาของโครงการโครงกาโครงการโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม -ช่วงวัยทีเข้าร่วมกิจกรรม 3วัย 5-20 ปี 13 คน 21-60 ปี 49 คน 60 ปีขึ้นไป 18คน -การทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรมโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งบประมาณสนับสนุนของ อบจ.+สสส. -มีประโยชน์อะไร- ทำแล้วได้ประโยชน์จะทำต่อ  -เป้าหมาย  เกิดผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเลทีทีมาตรฐานอหารทะเล 5 ชนิด1.ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน มี5รสชาติ รสปาบริก้า/รสต้มยำ/รสข้าวซอย/รสหม้าล่า/รสไก่แซป/และรสดั่งเดิม 2.กุ้งแก้ว3รส 3. กุ้งหวาน 4.กุ้งแห้ง 5.ปลาบุตรีตากแห้ง เพิ่ม น้ำพริกกุ้งแห้ง -เกิดผลิตภัณฑ์อาหารในชุมชน 6ชนิด เดิม5ชนิดและ5รสชาติ จำนวนครัวเรือนของชุมชนบ้านช่องฟืน 246 ครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทีทำประมง 180 ครัวเรือน จำนวนเรือ 215ลำ รายได้จากการทำประมง 30000-150000บาท/ปี- ขายสดมี2กลุ่ม กลุ่มที1 มีเครื่องมือจำนวนมาก 2วันทำ1ครั้ง1700-5200บาท/ครั้ง กลุ่มที2 มีเครื่องมือจำนวนน้อย 300-1800 บาท/ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์ -เกิดผลิตภัณฑ์อาหารในชุมชน 6ชนิด เดิม5ชนิดและ5รสชาติ -เกิดบรรจุภัณฑ์3รูปแบบ ทรงสูง แนวนอน ซองซิปล็อค -การพัฒนาของสตอรีผลิตภัณฑ์ทุกชนิดและคิวอาโค้ต -ช่องทางการขายผ่นเพจ ร้านคนจับปลาทะเลสาบจังหวัดพัทลุง/ชุมชนประมงบ้านช่องฟืน การออกขายมหกรรมสินค้า จัดนิทัศการออกบูท- การพัฒนาตัวของสินค้าเพิ่มขึ้น -คนในชุมชนมีรายได้เพิ่ม

เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา{ARE} ครั้งที่219 ตุลาคม 2566
19
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์-พัฒนา-ต่อยอด-ยกระดับ ขยายผล 5ชุมชน ในนิเวศน์เลสาบตอนกลาง 1 ปากพะยูน 2บางขวน 3บางม่วง 4บ้านแหลม 5บ้านช่องฟืน
ผลผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป 5ชนิด 1.ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน มี5รสชาติ รสปาบริก้า/รสต้มยำ/รสข้าวซอย/รสหม้าล่า/รสไก่แซป/และรสดั่งเดิม 2.กุ้งแก้ว3รส 3. กุ้งหวาน 4.กุ้งแห้ง 5.ปลาบุตรีตากแห้ง เพิ่ม น้ำพริกกุ้งแห้ง -เกิดผลิตภัณฑ์อาหารในชุมชน 6ชนิด เดิม5ชนิดและ5รสชาติ -ครัวเรือนมีรา่ยได้เพิ่มขึ้น15ครัวเรือนจากการแปรรูป ครัวเรือนละ2000บาท/เดือน -รายจ่ยลดลง กินแจก ของฝาก10ครั้ง/เดือนครั้งละไม่ต่ำกว่า300บาท -คนในชุมชนบริโภคอาหารปลอดภัยจากเดิม80%เป็น90%-ภาคีเพิ่มขึ้น สช.สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ - คนทำเพิ่มขึ้นจากเดิม15คนเป็น20คน(ช่องฟืน)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป 5ชนิด 1.ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน มี5รสชาติ รสปาบริก้า/รสต้มยำ/รสข้าวซอย/รสหม้าล่า/รสไก่แซป/และรสดั่งเดิม 2.กุ้งแก้ว3รส 3. กุ้งหวาน 4.กุ้งแห้ง 5.ปลาบุตรีตากแห้ง เพิ่ม น้ำพริกกุ้งแห้ง -เกิดผลิตภัณฑ์อาหารในชุมชน 6ชนิด เดิม5ชนิดและ5รสชาติ -ครัวเรือนมีรา่ยได้เพิ่มขึ้น15ครัวเรือนจากการแปรรูป ครัวเรือนละ2000บาท/เดือน -รายจ่ยลดลง กินแจก ของฝาก10ครั้ง/เดือนครั้งละไม่ต่ำกว่า300บาท -คนในชุมชนบริโภคอาหารปลอดภัยจากเดิม80%เป็น90%-ภาคีเพิ่มขึ้น สช.สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ - คนทำเพิ่มขึ้นจากเดิม15คนเป็น20คน(ช่องฟืน)

ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์17 ตุลาคม 2566
17
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานและผู้เข้วร่วมฝึกอบรมการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ได้ฝึกทำผลิตภัณฑ์ที่เลือกออกแบบ การทำผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน และเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ผงโรยข้าวถุ้งหัวมัน วิทยากรให้ความรู้เรื่องการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ทีเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและผู้เข้าร่วม 20 คน ฝึกอบรมการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ได้ฝึกทำผลิตภัณฑ์ ได้รับรู้แลเข้ใจขัน้ตอนการทำผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน และได้ชวยกันเลือกบรรจุภัณฑ์

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 816 ตุลาคม 2566
16
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วาระที่1 สรุปทบทวนการดำเนินโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
-กิจกรรม งบประมาณ วาระที่2 เวที่AREครั้งที่2 19ตุลาคม 2566 -ประเมินตัวชี้วัดบันไดผลลัพธ์ -คณะทำงาน -กลุ่มเป้าหมาย -จำนวนผลิตภัณฑ์ -มาตรฐาน บรรจุภัณฑ์ ช่องทางการขาย -รายได้ วาระที่3 เวทีปิดโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 28 ตุลาคม 2566 วาระอื่นๆ -ทิดทางแผนงาน -การพัฒนาช่องทางการชาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุม15คน ได้รับรู้และเข้าใจกิจกรรมที่จะทำต่อไป

ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการแปรรูปอาหารทะเลภายใต้มาตรฐาน จำนวน 5ชนิด11 ตุลาคม 2566
11
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิทยากร ภ่่ายทอดองศ์ความรู้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัย ภายใต้มาตรฐานบลูแบนด์ มี5ชนิด กุ้งแห้ง กุ้งหวาน กุ้งแก้วสามรส ปลาบุตรีตากแห้ง ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน ได้ฝึกปฏิบัติจริงทำจริง ทั้ง5ชนิด เพิ่มน้ำพริกกุ้งแห้งเป็น6ชนิด ผงโรยช้าวกุ้งหัวมันเป็น 5 รสชาติ ปาบริก้า ต้มยำ ข้าวซอย หม้ล่า ไก่แซป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าฝึกอบรมได้ทำความเข้ใจ และลงมือปฤิบัคิจริง ทั้ง5ชนิด มี กุ้งแห้ง กุ้งหวาน กุ้งแก้วสามรส ปลาบุตรีตากแห้ง ผงโรยข้าวกุ้งหัวมันเ พิ่มน้ำพริกกุ้งแห้งเป็น6ชนิด ผงโรยช้าวกุ้งหัวมันเป็น 5 รสชาติ ปาบริก้า ต้มยำ ข้าวซอย หม้ล่า ไก่แซป

ฝึกอบรมการกำหนดมาตฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้องกับพื้นที่27 กันยายน 2566
27
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิทยากร ให้ความรู้การกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้องกับพื้นทึ่และปฏิบัติได้จริง แลกเปลี่ยนร่วมกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัย มาตรฐานความปลอดภัย 1 ที่มาของวัตถุดิบมาจากทะเลชายฝั่งหน้าบ้าน สด สะอาด ปลอดภัยไม่มีสารเคมี 2 วืธีการจับถูกต้องไม่ใช้เครื่องมือทำลายล้าง 3 ไม่จับปลาตัวเล็กตัวน้อย 4 ไม่ใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน 5 คนทำต้องแต่งกายเรียบร้อบ มีผ้ากันเปื่อน สวมหมาก ถุงมือ ผ้าปิดปาก ล้างมือให้สะอาดทุกครัง 6 อุปกรณ์ต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าฝึกอบรมมีความเข้าใจมาตรฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้องกับพื้นทึ่ เกิดผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยในชุมชน

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 719 กันยายน 2566
19
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แจ้งเพื่อทราบ 1.ความคืบหน้าของโครงการ ร่วมทุน สสส.อบจ.พัทลุง - ปิดงวดที่1ส่งรายงานกิจกรรม/การเงินเรียบร้อยแล้ว - ได้รับโอนเงินงวดที่2พร้อมดำเนินกิจกรรมของโครงการ 2.เวทีแลกเปลี่นการพัฒนาผลิตภัณท์/แปรรูปอาหารทะเลปลอดภัยตามมาตรฐานอาหารทะเลปลอดภัย 3. การลงพื้นทีบ้านช่องฟืนประเมิณ ลูกโลกสีเขียว 23กันยายน 2566 4. ร่วมเวทีติดตามข้อเสนอนโยบายของประมงพื้นบ้าน 2-6ตุลาคม2566     แผนดำเนินโครงการร่วมทุน สสส-อบจ พัทลุง โครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่2 ตุลาคม2566 2. ประชุมคณะทำงานเดือนละตรั้ง กันยายน ตุลาคม 2566 3. ฝึกอบรมการกำหนดมาครฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้องกับพื้นที่ 4.ฝึกอบรมเชิงปฎบัติการแปรรูปอาหารทะเลภายใค้มาตรฐานจำนวน5ชนิด 1ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน  2กุ้งหวาน 3.กุ้งแก้ว3รส 4.กัุงแห้ง 5. ปลาบุครีตากแห้ง น้ำพริกกุ้งแห้ง 5.ฝึกอบรมเชิ่งปฎิบัติการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ 27กันยายน2566

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุมทำความเข้าใจต่อกืจกรรมที่จะทำต่อไป

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 619 สิงหาคม 2566
19
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แจ้งเพื่อทราบ 1.มีคณะผู้นำแต่ละจังหวัด มาดูงานเรื่องการทำเขตอนุรักษ์บ้านช่องฟืน ประมาณ40คน ในวันที่ 1-2 กันยายน 2566 เตรียมเรือลงทะเล ประมาณ9 ลำ 2. การตรวจงานโครงการที่ทำไปแล้วของงวดที่1แล้ว80%ของความถูกต้อง 3. ฝึกอบรมกำหนดมาตฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้องกับพื่นที่ 4. ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการแปรรูปอาหารทะเลภายใต้มาตฐาน จำนวน 5 ชนิด 5. ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ การออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณฑ์ 6. เวทีนำเสนอผลผลิตชุมชนภายใต้มาตฐาน (เวทีสรุปผลการดำเนินโครงการ)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงาน15 คน ทีเข้าประชุมได้รับรู้และเข้าใจในการดำเนินงานครั้งต่อไปชวยกันทำกิจกรรมที่ถูกต้อง

กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่124 กรกฎาคม 2566
24
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และเตรียมความพร้อมด้วยกิจกรรมทางกาย โดย กลุ่มผู้สูงอายุหมูที่7บ้านลานช้าง แบ่งกลุ่มย่อย4กลุ่ม กลุ่มที่1ประเด็นเยาชนและะครอบครัว กลุ่มที่2 ประเด็นผู้สูงอายุ กลุ่มที่3 ประเด็นอาหารปลอดภัย กลุ่มที่4 ประเด็นกิจกรรมทางกาย นำเสนอการระดมความเห็นกลุ่มย่อย แลกเปลี่เรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการ  การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์  การบริหารการจัดการทีมคณะทำงาน  การเชื่อมโยงการทำงานกับภาคี การจัดการด้านกรเงิน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ผู้เข้าประชุม 3คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้กระบวบการติดตามประเมินผลการมีส่วนร่วม ได้เรียนรู้ผลการดำเนินงานจากโครงการอื่น  เข้าใจการทำงานที่ชัดเจนมากขึ้นและสามารถกลับไปทำให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้

เวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 122 กรกฎาคม 2566
22
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ARE  ข้อมูลตัวชี้วัดอาหารปลอดภัย จำนวนผู้เข้วร่วมโครงการ คณะทำงาน 15คน ผู้ร่วมกิจกรรม 80คน 5ชุมชน บ้านบางขวน บางมวง บ้านแหลม ปากพะยูน บ้านช่องฟืน
พื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น ไร่/ชนิด/ปริมาณ/คนทำ ช่องฟืนมี ปลาโคบเส้น ปลาแมวเส้น ปลาหัวโมงหยอง ปลานิลหยอง กลุ่มที่หนุนเสริม การผลิต /กลุ่มจัดการผลิต SCG  สมาคมรักษ์ทะเลไทย ม.ทักษิณ ม.หาดใหญ อบจ สสส พัทลุง พัฒนาชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนร้านคนจับปลาทะเลสาบ จังหวัดพัทลุง จำนวนคนในชุมชน ทีบริโภคอาหารปลอดภัย ร้อยละ80%ของครัวเรือนในชุมชน กติกามาตรฐานความปลอดภัย /สารเคมีที่ลดลง ภายใต้มาตรฐานบรูแบรนด์  สารเคมีมีแนวโนมลดลง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุม คนในชุมชน ได้เข้าใจและได้บริโภคอาหารปลอดภัย

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 519 กรกฎาคม 2566
19
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน แจ้งเพื่อทราบ กิจกรรมโครงการ 1.เวทีเปิดโครงการ 2.จัดทำข้อมูลแปรรูปอาหารในชุมชท 3. เวทีสังเคราะห์และคืนข้อมูล 4.ประชุมคณะทำงานเดือนละ1ครั้ง 5. ศึกษาดูงานแลกเปลียนประสบการณ์การแปรรูปผลิตภัณท์อาหารปลอดภัยทดลองปฏิบัติการ 6ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)2ครั้ง 7. ฝึกอบรมการกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัยที่สอดคล้งฃองกับพื้นที่ 8.ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปอาหารทะเลภายใต้มาตรฐานจำนวน5.ชนิด 9.ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบและคัดเลือกบรรจุภัณท์ 10.เวทีนำเสนอผลผลิตจากชุมชนภายใต้มาตรฐาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุม17คน ได้เข้าใจและรับรู้ถึงกิจกรรมของโครงการที่ทำอยู่

เวทีสังเคราะห์และคืนข้อมูลผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเลในชุมชน25 มิถุนายน 2566
25
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นกิจกรรมที่นำข้อมูลผลิตภัณท์แปรร฿ปอาหารทะเลในพื้นที่เป้าหมาย 5 ชุมชนจำนวน 100คน ซึ่งมีการแปรรูป โดยนำวัตถุดิบที่เป็นทรัพยากรสัตว์น้ำที่จับได้จากบริเวณทะเลสาบตอนกลางามแปรรุปโดยใช้ทักษะภูมิปัญญาเดิมที่มีอยู่แล้วในชุมชน ได้แก่ปลาหัวโม้งแห้ง ปลาแมวแห้ง กุ้งแห้ง ปลานิลแดดเดียว กุ้งหวาน กุ้งส้ม ปลาส้ม ปลาบุตรีแห้ง น้ำพริกกุ้งแก้ว 3 รส น้ำพริกกุ้งแห้ง ผงโรยข้าวกุ้งหัวมัน การแปรรูป ใช้เทคนิคการแปรรูปทีทำกินเองในชุมชน ต่างคนต่างทำ และบางพื้นทีมีการร่วมกลุ่มในนามกลุ่มแม่บ้าน และการร่วมกลุ่มจดทะเบียน เป็นวิสาหกิจชุมชน รูปแบบ การบรรจุภัณท์ ของผลิตภัณท์ ยังใช้บรรจุภัณท์ที่ใช้กันทั่ไป เช่น ใส่ถุงพลาสติก ทั่งชื่นและไม่ชื่น การขาย ขายสมาชิกในชุมชนและตลาดนัดในชุมชน หรือขายทางออนไลน์ มาตรฐาน ส่วนใหญยังไม่มีมาตรฐานอาหารที่ชัดเจนส่วนใหญต้องการสินค้า มาตรฐานอาหารปลอดภัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแว้ดล้อม แลผู้บริโภค

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนต้องการแปรรูปสินค้าทีสอดคล้องกับวัตถุดิบแต่ละชุมชน 5ชนิด และสินค้าที่เป็นมาตรฐานอาหารปลอดภัย โดยมีบรรจุภัณท์โลโกเป็นของชุมชนและระบุข้อมูลทางโภชนาการมีส่วนที่ชัดเจน

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 419 มิถุนายน 2566
19
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน การแปรรูปผลิตภัณท์ การอนุรักษ์ฟืนฟูให้เพิ่มรายได้ ต่อยอดยกระดับงานที่ทำอยู่แล้ว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าประชุม ได้เข้าใจในการทำงานที่ผ่านมา

ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนประสบการณ์การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยและทดลองปฎิบัติการ ร้านคนจับปลา จังหวัดนครศรีธรรมราช10 มิถุนายน 2566
10
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนประสบการณ์การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยและทดลองปฎิบัติการ ร้านคนจับปลา  จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่าศาลา บ้านในทุ้ง
พัฒนาการขับเคลื่อนการทำงานสมาคมบ้านในทุ้ง ปี 2546 ก่อตั่งกลุ่มอนุรักษ์ประมงพื้นบา้นบา้นในทุ้ง ปี 2548 แก้ปัญหาทะเล ตั่งกลุ่มออมทรัพย์ริสกีบา้นในทุ้ง ปี 2549 ตั่งกลุ่มกองทุนหมุนเวียนเครื่องมือประมง ปี 2551ฟืนฟูทะเล ปี 2558 ตั่งร้านคนจับปลาที่สระบัว ปี 2563 ชวนผู้หญิงมาร่วมกิจกรรมในพื้นที่ตั่งกลุ่มแปรรูปอาหารปรุงสุก/แช่แข็งเป็นหลัก กลุ่ม/ร้านลุยเล ทำประมงอย่างรับผิดชอบ/ไม่ใส่สารเติ่มแต่ง สี กลิ่น รส
ความสะอาดต้นทางถึงปลายทาง เครื่องมือที่ใช้จับ /เรือ/อวน /ภาชนะ/ลังที่ใส่ปลา อุปกรณ์ความปลอดภัยในเรือ โรงแปรรูป GMP อุปกรณ์แปรรูปต้องสะอาด การขนส่งของไป ข้อมูลคุณค่าโภชนาการ รับประกันคืนสินค้า(กรณีไม่ตรงตามคุณภาพ)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ไปศึกษาดูงาน ได้ความรู้ที่ใหม่เข้าใจการทำงานของบ้านในทุ้งและสามารถนำมาปรับใช้กับในชุมชนตังเองได้

จัดทำข้อมูลผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเลในชุมชน25 พฤษภาคม 2566
25
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การเก็บข้อมูลแปรรูปผลิตภัณท์อาหารทะเลในชุมชนเป้าหมาย 5ชุมชนจำนวน 100 ชุดเป็นแบบสอบถามที่ร่วมกันคิดออกแบบคำถาม ที่สอดคล้องกับพื้นที่ และแบ่งทีมทำงานในการเก็บข้อมูล ผลการเก็บข้อมูลชุมชน 5 ชุมชนมีการแปรรูปผลิตภัณท์อยู่แล้ว ตามฤดูกาลและต่างคนต่างทำ ไม่มีมาตรฐานที่ชัดเจน ผลิต๓ัณท์ที่แปรรูปส่วนใหญคล้ายเคียงกัน คือ ปลาหัวโม้งแห้ง ปลาแมวแห้ง กุ้งแห้ง ปลาบุตรีตากแห้ง กุ้งหวาน กุ้งส้ม
วิธีการทำ คณะทำงานร่วมออกแบบสอบถาม แบ่งทีมไปเก็บในพื้นที่ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์  สรุปผลการจัดเก็บข้อมูล ปัญหาที่พบ กลุ่มเป้าหมายไม่เข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานอาหารที่ปลอดภัย และการบรรจุภัณท์ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภค

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานร่วมออกแบบสอบถาม ผู้จัดเก็บข้อมูลแบ่งทีมทำงานในการเก็บข้อมูล ผลการเก็บข้อมูลชุมชน 5 ชุมชนมีการแปรรูปผลิตภัณท์อยู่แล้ว ตามฤดูกาล

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 319 พฤษภาคม 2566
19
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน แจ้งเพื่อทราบ กิจกรรมที่ทำมาแล้ว กิจกรรมที่ยังไม่ได้ทำ รายงานการประชุมที่ผ่านมา ผ่าน หารือข้อตกลงการไปดูงานที่ ท่าศาลานครศรีธรรมราช กำหนดการประมาณ วันที 10 มิถุนายน 2566

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าประชุม 15คน ได้เตรียมความพร้อมในการเดินทางเพื่อไปดูงานที่ท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช

เวทีพูดคุยสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับผลกระทบจากการผลิตและบริโภคอาหารที่ไม่ผ่านมาตรฐานส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (เวที่เปิดโครงการ)27 เมษายน 2566
27
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวทีพูดคุยสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับผลกระทบจากการผลิตและบริโภคอาหารที่ไม่ผ่านมาตรฐานส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่มาของโครงการ การพัฒนาผลิตภัณท์ และบรรจุภัณท์ เราต้องพัฒนาบรรจุภัณท์ ให้ทันสมัย ใช้สะดวก พร้อมทาน การทำเขตอนุรักษ์ จะทำอย่างไรให้ทะเลสาบสงขลาอยู่คู่กับเราตลอดไป การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
เรื่องการสร้างขบวนการเรียนรู้  การส่งต่อให้กับคนรุ้ใหม่ การสร้างขบวนการมีส่วนร่วม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าประชุมได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับผลกระทบจากการผลิตและบริโภคอาหารที่ไม่ผ่านมาตรฐานส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 219 เมษายน 2566
19
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงานโครงการ แจ้งเพื่ทราบ เวทีเปิดโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณท์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เราต้งการพัฒนาบรรจุภัณท์ให้ทันสมัย ใช้สะดวก พร้อมทาน คณะกรรมการ โคกสีเขียว ลงพื้นทีบ้านช่องฟืน พาลงทะเลดูบ้านปลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุม17คน ได้รับรู้และเข้าใจเตรียมพร้อบกับการทำงานแต่ละหน้าที่แต่ละคน

รับเช็คเงินโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม21 มีนาคม 2566
21
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย nabchongfuen3
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการรับเช็คเงินสดของโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งวดแรก 53150 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำมาใช้ทำกิจกรรมโครงการส่งเสริมการบริโภคและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 119 มีนาคม 2566
19
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย banchongfuen.2
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน  ทำความเข้าใจที่มาของโครงการ คณะทำงานบทบาทหน้าทีรับผิดชอบ  แผนงานกิจกรรม ทำความเข้าใจ กิจกรรม เป้าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณ
แผนงานชุมชนทำอย่างไรให้อาหารขายได้ คนชอบกิน ทำให้ชุมชนมีรายได้ 5ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย บ้านแหลม บ้านบางขวน บ้านบางมวง ปากพะยูน บ้านช่องฟืน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 18 คน ได้ทำความเข้าใจในหน้าที่ของแต่ละคน เข้าใจโครงการที่ทำ

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน หลักสตรูการปฐมนิเทศก่อนดำเนิ่นโครงการ16 กุมภาพันธ์ 2566
16
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย banchongfuen.2
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประชุม กล่าวมอบนโยบายการส่งเสริมสุขภาพประชาชนภายใต้แผนงานร่วมทุนการส่งเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง โดย นาย วิสุทธิ์ ธรรมเพชรนายกองศ์การบริหารสวนจังหวัดพัทลุง แนวทางการบริหารจัดการโครงการ การเงิน และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดทำรายงานผ่านระบบ ปฏิบัติการนำเข้าข้อมูลสู่ระบบ แบ่งกลุ่มย่อยออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต มีผู้เข้าประชุม4คน ผลลัพธ์ ผู้เข้าประชุมมีความรู้ความเข้าใจการจัดทำรายงานกิจกรรมรายงานการเงิน ได้เรียนรู้และเข้าใจเรื่องการบริหารการจัดการโครงการ