stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 65-10156-022
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 19 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 56,300.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ บ้านควนกุฏ หมู่ที่ 15 ต.ควนมะพร้าว
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสัจจา ทองใส
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 082-9705975
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Satja2516poi@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายจำรัส รัตนอุบล
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 ก.พ. 2566 15 มิ.ย. 2566 16 ก.พ. 2566 31 ก.ค. 2566 28,150.00
2 16 มิ.ย. 2566 15 ก.ย. 2566 1 ส.ค. 2566 19 ธ.ค. 2566 22,520.00
3 16 ก.ย. 2566 15 ต.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 5,630.00
รวมงบประมาณ 56,300.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 บริบทพื้นที่ของชุมชนบ้านควนกุฏ หมู่ 15 ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เป็นที่ราบลุ่ม มีการประกอบอาชีพทำนาและรับจ้างทั่วไป มีแหล่งรายได้หลักจากการทำนา จำนวนประชากรทั้งหมด 200 ครัวเรือน สมาชิก 950 คน ช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา คนในชุมชนชนบท เปลี่ยนแป
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากผลการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้าง รพ.สต.บ้านสวน วันที่ 17 กันยายน 2565 จำนวน 38 คน ไม่ปลอดภัย 8 คน เสี่ยง 17 คน จากการสำรวจพื้นที่ปรากฏว่า 90 % ทุกครัวเรือนมีพื้นที่ปลูกพืชผักสวนครัว เพียงพอต่อจำนวนสมาชิกในครัวเรือนนั้น จึงต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการเพาะปลูกพืชผักเสียใหม่ โดยเน้นการปลูกพืชผักที่ใช้ในครัวเรือน ให้อยู่ในบริเวณบ้านที่สามารถเก็บมาปรุงอาหารได้โดยง่ายกว่าการไปร้านค้าหรือตลาด พืชผักอยู่ในไร่ในสวน หากการไปร้านค้าหรือตลาดง่ายกว่า ทำให้เกิดการซื้อ แม้ว่าเราจะมีพืชผักเป็นของตัวเอง แต่อยู่ไกลครัว การเปลี่ยนพฤติกรรม “การหาอยู่หากิน” มีแหล่งอาหารปลอดภัยในครัวเรือน หรือ ตู้เย็นข้างบ้าน การปรับเปลี่ยนวิธีการปลูกพืชผัก สำหรับเป็นแหล่งอาหารในครัวเรือน รวมถึงการเก็บเมล็ดพันธุ์พืชพื้นบ้าน ที่สามารถขยายพันธุ์ปลูกต่อได้ในรอบต่อๆไป เพื่อความยังยืนของแหล่งอาหาร “ไม่มีเมล็ดพันธุ์” เท่ากับไม่มีอาหาร โดยเน้นการลงมือสร้างแหล่งอาหารของครัวตัวเองเป็นหลักก่อน รวมกลุ่มกันผลิตปุ๋ยหมัก เรียนรู้เรื่องดินเพาะดินปลูก และการเพาะปลูก การออกแบบพื้นที่จำกัดในบริเวณบ้านเรือน ในการสร้างแปลงผักสวนครัว ให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างยั่งยืน มีความสุขในการปลูกพืชผัก ให้ชุมชนได้มีแปลงพืชผักสวนครัวเป็นแปลงต้นแบบ ให้ชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียงในการสร้างแหล่งเรียนรู้เรื่องการปลูกพืชผักสวนครัวครบวงจร มีการจัดการแหล่งอาหารที่เหลือกินแบ่งปัน และขายให้คนในชุมชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย สร้างความสามัคคีในชุมชน ช่วยเหลือเกื้อกูลแบ่งปัน เมื่อสิ้นโครงการทำให้ครัวเรือนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อพืชผักและการซื้อปุ๋ยเคมี และลดการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวลงได้ การให้ความรู้ด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัย จะมีส่วนช่วยให้คนในชุมชนลดภาวะเสี่ยงจากสารเคมีและช่วยลดปัญหาสุขภาพที่จะเกิดขึ้นได้

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

การให้ความรู้ด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัย จะมีส่วนช่วยให้คนในชุมชนลดภาวะเสี่ยงจากสารเคมีและช่วยลดปัญหาสุขภาพที่จะเกิดขึ้นได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครัวเรือนและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย

-ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน -ครัวเรือนที่เข้าร่วมมีความรู้ เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย -เกิดกลุ่มปลูกผักอย่างน้อย 1 กลุ่ม

3.00
2 เพื่อกลไกในการขับเคลื่อนให้มีการบริโภคผักปลอดสารพิษ

-เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนโคลงการไม่น้อยกว่า 10 คน   -เกิดกติกาข้อตกลงเรื่องการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน

2.00
3 เพื่อการปรับเปลี่ยนนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ

-กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมปรับเปลี่ยนการบริโภคเพื่อการดูแลสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

2.00
4 เพื่อให้คนในชุมชนได้รับการบริโภคผักที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

-มีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ปลอดภัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย -กลุ่มเสี่ยงจากสารเคมีลดลงร้อยละ 60

2.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 326 56,300.00 14 55,705.00
16 ก.พ. 66 - 15 ต.ค. 66 งบดำเนินการร่วมกับโครงการร่วมทุน 0 6,300.00 -
17 มี.ค. 66 สร้างความเข้าใจ รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 15 750.00 750.00
18 มี.ค. 66 คณะทำงานมีการจัดประชุมทุกๆ 2 เดือน 15 1,350.00 1,350.00
22 เม.ย. 66 อมรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ 30 11,275.00 11,625.00
13 พ.ค. 66 อมรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย 30 13,525.00 13,525.00
17 มิ.ย. 66 เวทีสร้างข้อตกลงการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน 45 1,350.00 1,350.00
16 ต.ค. 66 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) 15 0.00 1,575.00
18 ต.ค. 66 กิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย 30 12,800.00 12,800.00
31 ต.ค. 66 จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 0 0.00 1,000.00
31 ต.ค. 66 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2 0 0.00 88.00
31 ต.ค. 66 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1 0 0.00 88.00
16 ธ.ค. 66 ติดตามตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย 36 4,800.00 7,020.00
19 ธ.ค. 66 เวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 20 0.00 384.00
23 ธ.ค. 66 เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 15 700.00 700.00
28 ธ.ค. 66 เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน 75 3,450.00 3,450.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2566 22:05 น.