แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสัจจา ทองใส

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-022 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 19 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-10156-022 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 19 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,300.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้าง รพ.สต.บ้านสวน วันที่ 17 กันยายน 2565 จำนวน 38 คน ไม่ปลอดภัย 8 คน เสี่ยง 17 คน จากการสำรวจพื้นที่ปรากฏว่า 90 % ทุกครัวเรือนมีพื้นที่ปลูกพืชผักสวนครัว เพียงพอต่อจำนวนสมาชิกในครัวเรือนนั้น จึงต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดเรื่องการเพาะปลูกพืชผักเสียใหม่ โดยเน้นการปลูกพืชผักที่ใช้ในครัวเรือน ให้อยู่ในบริเวณบ้านที่สามารถเก็บมาปรุงอาหารได้โดยง่ายกว่าการไปร้านค้าหรือตลาด พืชผักอยู่ในไร่ในสวน หากการไปร้านค้าหรือตลาดง่ายกว่า ทำให้เกิดการซื้อ แม้ว่าเราจะมีพืชผักเป็นของตัวเอง แต่อยู่ไกลครัว การเปลี่ยนพฤติกรรม “การหาอยู่หากิน” มีแหล่งอาหารปลอดภัยในครัวเรือน หรือ ตู้เย็นข้างบ้าน การปรับเปลี่ยนวิธีการปลูกพืชผัก สำหรับเป็นแหล่งอาหารในครัวเรือน รวมถึงการเก็บเมล็ดพันธุ์พืชพื้นบ้าน ที่สามารถขยายพันธุ์ปลูกต่อได้ในรอบต่อๆไป เพื่อความยังยืนของแหล่งอาหาร “ไม่มีเมล็ดพันธุ์” เท่ากับไม่มีอาหาร โดยเน้นการลงมือสร้างแหล่งอาหารของครัวตัวเองเป็นหลักก่อน รวมกลุ่มกันผลิตปุ๋ยหมัก เรียนรู้เรื่องดินเพาะดินปลูก และการเพาะปลูก การออกแบบพื้นที่จำกัดในบริเวณบ้านเรือน ในการสร้างแปลงผักสวนครัว ให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างยั่งยืน มีความสุขในการปลูกพืชผัก ให้ชุมชนได้มีแปลงพืชผักสวนครัวเป็นแปลงต้นแบบ ให้ชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียงในการสร้างแหล่งเรียนรู้เรื่องการปลูกพืชผักสวนครัวครบวงจร มีการจัดการแหล่งอาหารที่เหลือกินแบ่งปัน และขายให้คนในชุมชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย สร้างความสามัคคีในชุมชน ช่วยเหลือเกื้อกูลแบ่งปัน เมื่อสิ้นโครงการทำให้ครัวเรือนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อพืชผักและการซื้อปุ๋ยเคมี และลดการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัวลงได้ การให้ความรู้ด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัย จะมีส่วนช่วยให้คนในชุมชนลดภาวะเสี่ยงจากสารเคมีและช่วยลดปัญหาสุขภาพที่จะเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครัวเรือนและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย
  2. เพื่อกลไกในการขับเคลื่อนให้มีการบริโภคผักปลอดสารพิษ
  3. เพื่อการปรับเปลี่ยนนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ
  4. เพื่อให้คนในชุมชนได้รับการบริโภคผักที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. งบดำเนินการร่วมกับโครงการร่วมทุน
  2. สร้างความเข้าใจ รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. คณะทำงานมีการจัดประชุมทุกๆ 2 เดือน
  4. อมรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
  5. อมรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย
  6. เวทีสร้างข้อตกลงการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน
  7. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)
  8. กิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย
  9. จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  10. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2
  11. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1
  12. ติดตามตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย
  13. เวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  14. เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
  15. เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างความเข้าใจ รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. นัดคณะทำงานโครงการมาทำความเข้าใจโครงการ
  2. รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. เชิญกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน 15 คน เข้าร่วมกิจกรรม ประชุมวางแผนงานการจัดกิจกรรมตามแผน 1. นัดคณะทำงานโครงการมาทำความเข้าใจโครงการ 2. รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
3. เชิญกลุ่มเป้าหมาย

 

15 0

2. คณะทำงานมีการจัดประชุมทุกๆ 2 เดือน

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คณะทำงานมีการประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกันทุกๆ 2 เดือน
  2. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
  3. วิเคราะห์ผลการขับเคลื่อนโครงการตามแผนกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน 15 คนร่วมการประชุมว่างแผนการทำงาน 1. คณะทำงานมีการประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกันทุกๆ 2 เดือน 2. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 3. วิเคราะห์ผลการขับเคลื่อนโครงการตามแผนกิจกรรม

 

15 0

3. อมรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 22 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมเรื่องการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย
  2. .จัดเวทีอบรมโดยวิทยากรที่มีความรู้
  3. คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมายและวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน กำหนดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานจัดเตรียมความพร้อม โดย เชิญวิทยากรให้ความรู้
1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมเรื่องการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย 2. .จัดเวทีอบรมโดยวิทยากรที่มีความรู้ 3. คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมายและวิทยากร

 

30 0

4. เวทีสร้างข้อตกลงการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมเวทีสร้างข้อตกลง
  2. เกิดกติกาการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน 3.คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 45 คน ร่วมกิจกรรม 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมเวทีสร้างข้อตกลง 2. เกิดกติกาการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน 3.คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมาย

 

45 0

5. อมรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย

วันที่ 22 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมเรื่องการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย
  2. .จัดเวทีอบรมโดยวิทยากรที่มีความรู้
  3. คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมายและวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน กำหนดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานจัดเตรียมความพร้อม โดย เชิญวิทยากรให้ความรู้
1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมเรื่องการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย 2. .จัดเวทีอบรมโดยวิทยากรที่มีความรู้ 3. คณะทำงานประสานงานกลุ่มเป้าหมายและวิทยากร

 

30 0

6. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1 ตามกำหนดการที่ทางหน่วยงานร่วมทุนจัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1 ตามกำหนดการที่ทางหน่วยงานร่วมทุนจัด โดยมีการเข้ากลุ่มตามประเด็นที่ทำคือประเด็นอาหารปลอดภัยและได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากโครงการ

 

0 0

7. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)

วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเรียนรู้การติดตามผลลัพธ์ เพื่อการเรียนรู้และการพัฒนา จากการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน มีลุ่มคนต้นแบบ ร่วมกระบวนการเรียนรู้ โดยมีวิทยากรร่วมกระบวนการการติดตามผลลัพธ์ เพื่อการเรียนรู้และการพัฒนา จากการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการ

 

15 0

8. กิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กลุ่มเป้าหมายดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยบ้านทุ่งยาว ต.โคกม่วง 2.คณะทำงานประสานงานพื้นที่ศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานพื้นที่ หมู่ที่ 10 ตำบลโคกม่วง 1.กลุ่มเป้าหมายดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยบ้านโคกแมว หมู่ที่ 10 ต.โคกม่วง มีการบรรยาย สาธิต การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และลงพื้นที่ต้นแบบด้านการปลูกผักปลอดภัย แบบโรงเรือนต้นทุนตำ่ 2.คณะทำงานประสานงานพื้นที่ศึกษาดูงาน ได้เรียนรู้การทำงานของพื้นที่ต้นแบบในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง

 

30 0

9. ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2

วันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2 ตามกำหนดการที่ทางหน่วยงานร่วมทุนจัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 2 คน ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2 ตามกำหนดการที่ทางหน่วยงานร่วมทุนจัด โดยมีการเข้ากลุ่มตามประเด็นที่ทำคือประเด็นอาหารปลอดภัยและได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากโครงการ

 

0 0

10. จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ โดยการมอบหมายผู้จัดทำรายงานกิจกรรมตามแผนงานโครงการเข้าสู่ระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการมอบหมายผู้จัดทำรายงานกิจกรรมตามแผนงานโครงการเข้าสู่ระบบออนไลน์จำนวน 1 คน เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ และได้มีการรายงานทุกกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว

 

0 0

11. ติดตามตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
  2. คณะทำงานมีข้อมูลผลการตรวจสารเคีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย
  3. คณะทำงานประสานงานเรื่องการตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมายและทีมสาธารณะสุขในตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายจำนวน 35 คน 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด 2. คณะทำงานมีข้อมูลผลการตรวจสารเคีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย 3. คณะทำงานประสานงานเรื่องการตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมายและทีมสาธารณะสุขในตำบล

 

36 0

12. เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

วันที่ 16 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่16 ธันวาคม 2566 ณ.ที่ศาลาหมู่บ้าน ม.15 บ้านควนกุฎ ผู้รับผิดชอบโครงการและกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมการคืนข้อมูล ผลลัพธ์จากากรดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 75 คน เข้าร่วมกิจกรรมการคืนข้อมูล ผลลัพธ์จากากรดำเนินโครงการ
1. คณะทำงานมีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ปลอดภัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. คณะทำงานมีข้อมูลการบริโภคที่สามารถปรับเปลี่ยนด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

 

75 0

13. เวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 19 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานร่วมกิจกรรมแผนงานร่วมทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานร่วมกิจกรรมแผนงานร่วมทุน จำนวน 20 คน พร้อมด้วยการจัดนิทัศการนำเสนอผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงจากการดำเนินงารภายใต้แผนงานร่วมทุน

 

20 0

14. เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 23 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 1 คณะทำงานลงพื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 2. คณะทำงานมีข้อมูลจากการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย 3.  คณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 1 คณะทำงาน จำนวน 15 คน ลงพื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน 2. คณะทำงานมีข้อมูลจากการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน 3.  คณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครัวเรือนและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน -ครัวเรือนที่เข้าร่วมมีความรู้ เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย -เกิดกลุ่มปลูกผักอย่างน้อย 1 กลุ่ม
3.00 30.00

เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพแต่ยังขาดข้อมูลหลังการดำเนินโครงการ

2 เพื่อกลไกในการขับเคลื่อนให้มีการบริโภคผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : -เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนโคลงการไม่น้อยกว่า 10 คน -เกิดกติกาข้อตกลงเรื่องการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน
2.00 15.00

ขาดการเชื่อมประสานระหว่างพื้นที่กับพี่เลี้ยง

3 เพื่อการปรับเปลี่ยนนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมปรับเปลี่ยนการบริโภคเพื่อการดูแลสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2.00 0.00

กลุ่มคนต้นแบบในพื้นที่ 10 ราย ที่เกิดขึ้นในพื้นที่

4 เพื่อให้คนในชุมชนได้รับการบริโภคผักที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : -มีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ปลอดภัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย -กลุ่มเสี่ยงจากสารเคมีลดลงร้อยละ 60
2.00 30.00

ยังขาดข้อมูลยืนยัน ของผลลัพธ์ เช่นการตรวจเลือดหารสารเคมี

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครัวเรือนและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคผักปลอดภัย (2) เพื่อกลไกในการขับเคลื่อนให้มีการบริโภคผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อการปรับเปลี่ยนนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพ (4) เพื่อให้คนในชุมชนได้รับการบริโภคผักที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) งบดำเนินการร่วมกับโครงการร่วมทุน (2) สร้างความเข้าใจ รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ (3) คณะทำงานมีการจัดประชุมทุกๆ 2 เดือน (4) อมรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ (5) อมรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยเพื่อการปลูกผักที่ปลอดภัย (6) เวทีสร้างข้อตกลงการปลูกผักปลอดภัยในชุมชน (7) ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (8) กิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย (9) จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (10) ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 2 (11) ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ร่วมกับหน่วย ครั้งที่ 1 (12) ติดตามตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย (13) เวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (14) เก็บข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย (15) เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัยม.15 ควนกุฎ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-022

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัจจา ทองใส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด