directions_run

โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง ”

ตำบลอ่างทอง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจริญา บุญมี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง

ที่อยู่ ตำบลอ่างทอง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ65-10156-027 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 19 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่างทอง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่างทอง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ุ65-10156-027 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 19 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,300.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลอ่างทอง ในตำบลอ่างทอง มี ประชากรทั้งหมด 1,144 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมดจำนวน 4,382 คน 8 หมู่บ้าน  ในการดำเนินการเลือกพื้นที่นำร่อง 3 หมู่บ้านคือ หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 และสำนักงานเทศบาลตำบลอ่างทอง และแกนนำหมู่บ้านเรียนรู้อีก 5 หมู่บ้าน จำนวนประชากรพื้นที่หมู่บ้านนำร่องและสำนักงานเทศบาล กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน1-5ปี จำนวน 200 คน  กลุ่มเด็กและเยาวชน 6-25 ปี 1000 คน กลุ่มวัยทำงาน 26-59 ปี 2,343 คน กลุ่มผู้สูงวัย จำนวน 804 คน ประชาชนมีอาชีพส่วนใหญ่การเกษตร เช่น สวนยาง สวนสวน ปลูกพลู เป็นอาชีพดังเดิม ปัจจุบันเกษตรกรมีความเป็นอยู่ของคนมีความลำบากเพิ่มมากขึ้น เพราะการประกอบอาชีพเปลี่ยนไป คนในวัยทำงานไม่ได้ทำงานลงแรงเหมือนแต่ก่อน    ใช้เครื่องทุ่นแรง จ้างแรงงาน ส่วนของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลอ่างทองทำงานนั่งโต๊ะ ใช้คอมพิวเตอร์ ทำงานเอกการ ทำให้ร่างกายไม่ค่อยมีการขยับกาย วัยเด็กที่มีอายุระว่าง 12-25 ปี จำนวน 522 คน ไม่มีการขยับกาย 89 คนคิดเป็น 17.05 % คนในวัยทำงานอายุ 26-59 ปี จำนวน 2,343 คน ไม่มีการขยับกาย 252 คน มีปัญหาการขยับกายไม่ถึง 150 นาทีต่อสัปดาห์ คิดเป็น 6.49 %  ผู้สูงอายุที่มี่อายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 804 คน ไม่มีการขยับกาย 126 คน คิดเป็น .15.67.% (ใช้ข้อมูล HDC) ในส่วนของบุคลากรของสำนักงานเทศบาลตำบลอ่างทอง มีทั้งหมด 66 คน ไม่มีการขยับกาย 50 คน และยังมีผู้ที่ออกกำลังกายไม่เพียงพอ ถ้าจำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 75.76 ที่ออกกำลังกายไม่เพียงพอ (ข้อมูลคน 3 หมู่บ้านและบุคลากรเทศบาล) จากสถานการณ์ปัญหาไม่มีการขยับการ/มีการขยับกายน้อยไม่ถึง 150 นาทีต่อสัปดาห์มีสาเหตุมาจาก 1. สาเหตุจากพฤติกรรมคน พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่ถูกต้อง พักผ่อนไม่เพียงพอ มีปัญหาเรื่องความเครียดการใช้ชีวิตที่เร่งรีบแข่งขันกับเวลา ประชาชนไม่ให้ความสำคัญต่อการออกกำลังกาย มีทัศนคติต่อการออกกำลังกายที่ผิด ประชาชนขี้เกียจออกกำลังกาย ขาดความรู้ในการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับเวลาและโอกาส ทำให้ไม่สามารถจัดแบ่งเวลาสำหรับการออกกำลังกาย มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ(น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์) 2.สาเหตุจากสภาพแวดล้อม ยังไม่มีกติกาในการออกกำลังกาย มีการออกกำลังกายกลุ่มน้อย ยังไม่มีแกนนำในการออกกำลังกาย มีจุดออกกำลังกายน้อย มีพื้นที่ออกกำลังกายไม่เพียงพอ ทำให้ขาดการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว และ3.สาเหตุจากกลไกและระบบที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบที่เกิดจากการไม่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ผลกระทบด้านสุขภาพเกิดภาวะเครียดส่งผลให้พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่มีการเจ็บป่วยและมีสุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรงมีน้ำหนักร่างกายที่ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานเกิดโรคภัยได้ง่ายต้องเสียทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่ายา และเสียทั้งเวลา ร่างกายที่ไม่แข็งแรง มีโรคซึ่งอาจก่อให้เกิดกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 795 .คน เช่น โรคความดันโลหิต 456 คน โรคหัวใจ 38 คน โรคหลอดเลือดสมอง 48 คน และโรคเบาหวาน 195 .คน  ค่าดัชนีมวลกาย ต่ำกว่าเกณฑ์18.5-22.90 มี 117 คน ปกติสมส่วน23-24.90 893.คน น้ำหนักเกิน25-29.90 มี170.คน  อ้วนระดับ 1 มี 170.คน >30 อ้วนระดับ 2 มี 100 .คน ซึ่งธรรมชาติของงาน ต้องพบกับความกดดัน อาจปล่อยไว้ ไม่มีการผ่อนคลาย ความเครียดก็จะเพิ่มสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เช่น มีคนที่โมโหง่ายมากขึ้น หลายคนมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เริ่มมีคน ขี้ลืม ความจำเริ่มลดลง
ผลกระทบทางด้านสังคมการปฏิสัมพันธ์กันลดลง ครอบครัวขาดความอบอุ่น เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ผู้ที่ก่ออาชญากรรม ส่วนมาก คือบุคคลที่ทำงานในหน่วยงาน จึงควรมีการจัดกิจกรรมที่ผ่อนคลายความเครียดขึ้นในหน่วยงาน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีกิจกรรมทางกายที่น้อยเกินไปเช่นขาดการออกกำลังกายทำให้ร่างกายไม่แข็งแรง
เทศบาลตำบลอ่างทองเล็งเห็นความสำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพของพนักงานและแกนนำประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงานเทศบาลตำบลอ่างทองและประชาชนในพื้นที่ (แกนนำ)ได้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้นมีการรับประทานผักผลไม้ที่เพียงพอมีกิจกรรมจัดสถานที่พักผ่อนขึ้นในหน่วยงานเพื่อให้พนักงานเทศบาลตำบลอ่างทองและประชาชนในพื้นที่ (แกนนำ) มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงขึ้น ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี ให้ความสำคัญในการรณรงค์ให้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง จัดทำกิจกรรมที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ส่งผลให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและที่สำคัญยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนและบุุคลลากรเทศบาลเกิดความรู้และความตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที
  2. เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายที่มีประสิทธิภาพ
  3. เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและมีปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย
  4. ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน
  2. กิจกรรมที่ 2 เปิดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1
  4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1
  5. อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่2
  6. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  7. กิจกรรมที่ 14 กำหนดสถานที่เขคปลอดเหล้าและบุหรี่
  8. กิจกรรมที่ 7. กิจกรรมขยับทางกายเพื่อสุขภาพ (กิจกรรมทางเลือก)
  9. กิจกรรมที่ 8 ครอบครัวมีสุข (สุขภาพ+มีความสุข)
  10. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
  11. กิจกรรมที่ 9 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 1
  12. กิจกรรมที่ 11 การแข่งขันกีฬามหาสนุก
  13. ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการ
  14. กิจกรรมที่ 12 ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ
  15. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
  16. กิจกรรมที่ 9 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย
  17. กิจกรรมที่ 3.จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย คร้ังที่2
  18. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
  19. กิจกรรมที่ 10 เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ
  20. กิจกรรมที่ 6 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2
  21. กิจกรรมที่ 13 สรุปผลการดำเนินงาน
  22. ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยจัดการ (ARE) ครั้งที่ 2
  23. ประชุมถอดบทเรียน
  24. รวมพลคน 3 วัย
  25. รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครัวเรือนนำร่อง 60
ผู้บริหารและบุคคลากรเทศบาลอ่างทอง 70
แกนนำชุมชน 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนและ บุคลากรในเทศบาลอ่างทองมีความรู้ และตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. มีครัวเรือนร่วมดูแลสุขภาพและมีกิจกรรทางกาย อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 3. สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพและกิจกรรทาง กายที่เหมาะสมกับวัย 4.ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนมาดูแลสุขภาพและมี กิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ อย่างน้อย ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน

วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วงประชุมคณะทำงาน เพื่อเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประชาชนในชุมชน . ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งผลการอนุมัติโครงการ ชี้แจงรายละเอียด วัตถุประสงค์ ที่มาของโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการแนะนำ โครงการร่วมทุนสสส.และอบจ.พัทลุง และรายละเอียดในการบริหารจัดการโครงการ ระบบการรายงานในระบบออนไลน์และทบทวนร่วมกับฝากการเงินแนะนำการจัดทำเอกสารการเงินและแนะนำแบบฟอร์มเอกสารทางการเงิน คณะทำงานร่วมเสนอคว่ามคิดเห็น ขับเคลื่อนการดำเนินงานของโครงการ ร่วมกันกำหนดปฏิทินการทำงาน และคุยเตรียมรายละเอียด เตรียมเวทีเปิดโครงการฯและกิจกรรมจัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกายและอบรมให้ความรู้การอออกแบบกิจกรรมทางกาย กำหนดรายละเอียดกำหนดการ การแบ่งบทบาทของคณะทำงานแต่ละคนในการจัดกิจกรรมดังกล่ว ุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าจำนวน 13 คนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารโครงการ พร้อมเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน ทั้งได้มีร่วมแสดงความคิดเห็นและมีการแบ่งบทบาทตามความถนัด ได้มีแนวทาง่ร่วมกันจัดให้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานร่วมส่วนของเทศบาล ชุมชน และหน่วยงานภาคในระดับตำบล และอำเภอ ได้มีการมองหมายจากที่ประชุมให้กองเลขาประสานงานเชิญภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามาเป็นกลไกขับเคลื่อนส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายของตำบลอ่างทอง
  2. มีทบทวนและปรับระยะเวลาการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการของโครงการ ให้สอดคล้องเหมาะสมกับระยะเวลา
    3.ได้เตรียมกิจกรรมเปิดโครงการฯและกิจกรรมจัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกายและกิจกรรมอบรมให้ความรู้การอออกแบบกิจกรรมทางกาย
    และแบ่งบทบาทในการประสานงาน่ในแต่ละฝ่าย  ประสานงาน จัดกำหนดการจัดกิจกรรม เตรียมถานที่  ฯลฯ

 

14 0

2. กิจกรรมที่ 2 เปิดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดโครงการ จำนวน 40 คน ทำความ เข้าใจโครงการฯ โดยบอกกล่าววัตถุประสงค์ กลวิธีการดำเนินงานและการ เข้าร่วมกิจกรรมของคนในชุมชนแต่ละกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามแผนงานใน โครงการ รับสมัครบุคคลเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ เข้าใจวัตถุประสงค์ กลวิธีการดำเนินงาน และได้รับสมัครบุคคลเข้าร่วมโครงการ

 

40 0

3. กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำข้อมูล สำรวจข้อมูลผู้บริหาร พนักงาน เจ้าหน้าที่และแกนนำประชาชนในตำบลอ่างทอง จ านวน 120 คน โดยการ - จัดทำแบบสอบถามออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายอย่างน้อย 150 นาที/ สัปดาห์ - วัดค่าดัชนีมวลกาย น้าหนัก ส่วนสูง จำนวน 2 ครั้ง เพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ไปใช้ในกระบวนการวางแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลสถานการณ์การออกกำลังกายของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ข้อมูล การออกกำลังกายต่อเนื่อง 150 นาที /สัปดาห์ ค่าน้ำหนัก ส่วนสูง คำนวณค่าดัชนีมวลกาย

 

160 0

4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1

วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ 2 ครั้งๆละ 80 คน โดยวิทยากรที่มีความรู้ในการออกแบบกิจกรรมทางกายที่ ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ เกี่ยวกับการออกกำลังกายให้สมกับวัย และได้มีส่วนร่วม ได้แสดงความคิดเห็น และได้การทำงานเป็นทีม มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน

 

120 0

5. อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่2

วันที่ 17 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ 2 ครั้ง โดยวิทยากรที่มีความรู้และความรู้และความเข้าใจในการออกแบบกิจกรรมทางกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบบรม จำนวน 80 คน ได้มีความเข้าใจในการออกแบบกิจกรรมทางกาย

 

120 0

6. กิจกรรมที่ 8 ครอบครัวมีสุข (สุขภาพ+มีความสุข)

วันที่ 21 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการนำอุปกรณ์กลับไปออกกำลังกายกับครอบครัว
โดยยืมวัสดุจากโครงการ แล้วนำมาคืน และรายงานผล การเล่นกิจกรรมทางกลุ่มไลน์ และแบบรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการนำอุปกรณ์กลับไปออกกำลังกายกับครอบครัว
โดยยืมวัสดุจากโครงการ แล้วนำมาคืน และรายงานผล การเล่นกิจกรรมทางกลุ่มไลน์ และแบบรายงานผล

 

160 0

7. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประชาชนในชุมชน ชี้แจงเกณฑ์คัดเลือกบุคคลต้นแบบ กำหนดระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม หลักเกณฑ์ในการยืม-คืน อุปกรณ์กีฬา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม ได้เกณฑ์ในการยืม -คืน อุปกรณ์กีฬา

 

14 0

8. กิจกรรมที่ 14 กำหนดสถานที่เขคปลอดเหล้าและบุหรี่

วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน  ปรึกษาหารือการกำหนดพื้นที่เขตปลอดเหล้าและบุหรี่
แลกเปลี่ยนร่วมกันกำหนดแนวทางในการรณรงค์ลด ละ เลิกเหล้าและบุหรี่เพือสุขภาพ
ติดป้ายเขตปลอดเหล้าและบุหรี่พร้อมประกาศให้มีการรับรู้ในตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดพื้นที่เขดปลอดเหล้าและบุหรี่ที่คนให้ความสำคัญ มีกติการร่วมกันชัดเจนไม่ดื่มเหล้าและบุหรี่ในพื้นที่ที่กำหนด
มีป้ายประกาศชัดเจนเป็นพื้นที่ปลอดเหล้าและบุหรี่

 

15 0

9. กิจกรรมที่ 7. กิจกรรมขยับทางกายเพื่อสุขภาพ (กิจกรรมทางเลือก)

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการเล่นกีฬา ออกกำลังกาย
ทำกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที/สัปดาห์ จำนวน 120 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้เล่นกีฬา ออกกำลังกาย จำนวน 160 คน ทำกิจกรรมเพื่อสุขภาพ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที/สัปดาห์

 

160 0

10. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามการดำเนินงาน และกำหนดวางแผน การจัดกิจกรรมกีฬามหาสนุก และกิจกรรมปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมติดตามการดำเนินงาน และกำหนดวางแผน การจัดกิจกรรมกีฬามหาสนุก และกิจกรรมปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

 

14 0

11. กิจกรรมที่ 6 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามและประเมินผล (ARE)
ประชุมติดตามและทบทวนโครงการพร้อมทั้งวางแผนการดาเนินงานของ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน แกนนำชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบบันไดผลลัพธ์ของแต่ละกิจกรรม ทราบวัตถุประสงค์ของโครงการ ทราบสถานการณ์ของปัญหา  ทราบกิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ทราบปัญหา อุปสรรค ข้อดี ข้อเสียของโครงการ ทราบขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ทราบกิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่ผ่านมา  มีบุคคลต้นแบบเกิดขึ้น 10 คน มีแกนนำเกิดขึ้น จำนวน 11 คน ทราบกติกาของโครงการ  ทราบการรายงานความก้าวหน้า  มีพื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมขึ้น 3 จุด  มีจำนวนกลุ่มของของกลุ่มกิจกรรม จำนวน 4 กลุ่ม ทราบกติกาของแต่ละกลุ่ม ทราบองค์ประกอบของคณะทำงาน

 

25 0

12. กิจกรรมที่ 11 การแข่งขันกีฬามหาสนุก

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการแข่งขันกีฬา กิจกรรมขยับทางกายเพื่อ สุขภาพ (กิจกรรมทางเลือก) เช่นเปตอง แบดมินตัน วอลเลย์บอล แชร์บอล กีฬาพื้นบ้าน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกาย

 

200 0

13. ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพภาพผู้รับทุน ในวันที่ 24กรกฎาคม2566 ณ โรงแรมชัยคณาธานี มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คน มีผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงินของโครงการ ผู้รายงานกิจกรรมผ่านระบบเวปไซส์  ร่วมลงทะเบียน และ.เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย มีกิจกรรมสันทนาการ จากพื้นที่ ที่ได้รับการสนับสนุนจากประเด็นขยันกายผู้สูงอายุ เปิดการประชุม กล่าวมอบนโยบาย โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกอบจ.พัทลุง ช่วงต่อมามีการอบรม แนวทางการบริหารจัดการโครงการ การเงิน และจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดย นายเสนีย์ จ่าวิสูตร
การจัดทำรายงานผลผ่านระบบ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ ปฏิบัตินำเข้าข้อมูลสู่ระบบ และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ ช่วงเริ่มกระบวนอบรมบรรยายถึงความ ความสำคัญของการออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด โดยนายไพฑูร และ แบ่งกลุ่มย่อย ออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด และมี ลงนามความร่วมมือตามข้อตกลงร่วมโครงการ สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมเรียนรู้ ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบลำดับขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ และแนวทางการบริหารจัดการโครงการ ได้องค์ความรู้เรื่อง การจัดทำเอกสารการเงิน เอกสารรายงาน เอกสารรายงานผลทั้งในระบบและจัดทำเป็นเอกสารเพื่อการตรวจสอบ มีความรู้และสามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ได้ พร้อมนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดำเนินโครงการให้สำเร็จตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่กำหนด

 

3 0

14. กิจกรรมที่ 12 ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ร่วมกันปั่นจักรยาน บริเวณเลียบ คลองลำเบ็ด ระยะทาง 10 กิโลเมตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ร่วมกันปั่นจักรยาน บริเวณเลียบ คลองลำเบ็ด ระยะทาง 10 กิโลเมตร

 

120 0

15. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 3 ตุลาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามการดำเนินงาน และวางแผน กำหนดการจัดกิจกรรม เดิน- วิ่งเพื่อสุขภาพ โดยมีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม ปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็น กำหนดสถานที่ที่วิ่ง เวลา อาหารจัดเลี้ยง เชิญประธาน รพ.สต.และผู้สนใจเข้าร่วม กำหนดการจัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง โดยกิจกรรมในครั้งนี้เป็นการเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ ใช้ระยะทาง ๔ กิโลเมตร วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย  ที่ดี โดยกำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ณ ท่าน้ำลานหินแบะ หมู่ที่ ๕ ตำบลอ่างทอง      อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
กำหนดการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริมกิจกรรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง กิจกรรมเดิน – วิ่ง เพื่อสุขภาพ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ณ ท่าน้ำลานหินแบะ หมู่ที่ ๕  ตำบลอ่างทอง  อำเภอศรีนครินทร์  จังหวัดพัทลุง


เวลา ๐๖.๓๐ – ๐๖.๔๕ น.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงทะเบียน ณ ท่าน้ำลานหินแบะ เวลา  ๐๖.๔๕ – ๐๗.๐๐ น.  ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ เวลา  ๐๗.๐๐ น.  นายกเทศมนตรีกล่าวรายงาน นายอำเภอศรีนครินทร์กล่าวเปิดกิจกรรม
ร่วมเดิน-วิ่งออกกำลังกายพร้อมกัน เวลา  ๐๘.๓๐ น. มอบของที่ระลึกผู้เข้าร่วมกิจกรรม เวลา  ๐๙.๐๐ น. มอบประกาศนียบัตรให้กับบุคคลต้นแบบ เวลา  ๐๙.๓๐ น. ปิดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมติดตามการดำเนินงาน และวางแผน  โดยมีคณะทำงาน เข้าร่วม จำนวน 27 คน กำหนดการจัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง โดยกิจกรรมในครั้งนี้เป็นการเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ ใช้ระยะทาง ๔ กิโลเมตร วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย  ที่ดี โดยกำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ ณ ท่าน้ำลานหินแบะ หมู่ที่ ๕ ตำบลอ่างทอง      อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

 

24 0

16. กิจกรรมที่ 3.จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย คร้ังที่2

วันที่ 11 ตุลาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ชั่งน้ำนัก ติดตามค่าดัชนีมวลกาย  เก็บข้อมูลปฏฺิทินการออกกำลังกาย จำนวน 120 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 120 คน ส่งข้อมูลกายออกกำลังกาย  แจ้งข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง นำมาคำนวลค่าดัชนีมวลกาย และติดตามการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วมโรางการทางกลุ่มไลน์

 

160 0

17. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง การคัดเลือกบุคคลต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งสิ้น 27 คน ได้บุคคลต้นแบบ 10 คน

 

14 0

18. กิจกรรมที่ 10 เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ

วันที่ 20 ตุลาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดรณรงค์ให้ผู้เข้าร่วม ออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง ระยะทาง 4 กิโลเมตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดรณรงค์ให้ผู้เข้าร่วม  ออกกำลังกายโดยการเดิน-วิ่ง ระยะทาง 4 กิโลเมตร โดยเส้นทางวิ่ง วิ่งจาก ท่าน้ำลานหินแบะ  มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมเดิน-วิ่ง จำนวน 180 คน โดยผู้เข้าร่วมเป็นประชาชน อสม เจ้าหน้าที่รพ.สต ครู สมาชิกสภา คณะผู้บริหาร ผู้ใหญบ้าน ผูhช่วยผู้ใหญ่บ้าน และพนักงานเทศบาลตำบลอ่างทอง

 

120 0

19. กิจกรรมที่ 6 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 27 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามและประเมินผล (ARE)
ประชุมติดตามและทบทวนโครงการพร้อมทั้งวางแผนการดาเนินงานของ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน แกนนำชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมติดตามและประเมินผล (ARE)
ประชุมติดตามและทบทวนโครงการพร้อมทั้งวางแผนการดาเนินงานของ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน แกนนำชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ

 

25 0

20. กิจกรรมที่ 13 สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโดยเชิญผู้เข้าร่วม โครงการทั้งหมด พร้อมทั้งมอบ เกียรติบัตรให้แก่บุคคลต้นแบบ 10 คน จัดทำเอกสารและรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโดยเชิญผู้เข้าร่วม โครงการทั้งหมด พร้อมทั้งมอบ เกียรติบัตรให้แก่บุคคลต้นแบบ 10 คน จัดทำเอกสารและรายงานผล

 

120 0

21. ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยจัดการ (ARE) ครั้งที่ 2

วันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ณ โรงแรมชัยคณาธานี  พื้นที่ผู้รับทุน โครงการ ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง มีผู้เข้าร่วม จำนวน 3 คน ประกอบไปด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ผู้รายงานความก้าวกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผลการดำเนินงานโครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามกระบวนการบันไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 3 เกิดปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย
  2. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลผลลัพธ์กับพื้นที่อื่นๆที่รับทุนในประเด็นกิจกรรมทางกาย

 

3 0

22. กิจกรรมที่ 9 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย ทั้ง การรณรงค์ทางเว็บไซต์ รณรงค์ทางหอกระจายเสียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย ทั้ง การรณรงค์ทางเว็บไซต์ รณรงค์ทางหอกระจายเสียง

 

0 0

23. ประชุมถอดบทเรียน

วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ร่วมถอดบทเรียน ประเด็นความสำเร็จ กิจกรรมสำคัญ เหุตผล การวิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้กลไลเข้มแข็ง แกนนำมีศักยภาพ  ความรู้ที่จำเป็นต่อการดำเนินงาน การบริหารจัดการโครงการ

 

2 0

24. รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

วันที่ 19 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

 

0 0

25. รวมพลคน 3 วัย

วันที่ 19 ธันวาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดบูธนิทรรศการ  นำทีมนักเต้น ไปโชว์การแสดงเต้นที่ รร.อุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วม 16 คน  จัดบุธนิทรรศการ นำทีมนักเต้นไปโชว์การแสดงเต้นที่ รร.อุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนและบุุคลลากรเทศบาลเกิดความรู้และความตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนและบุคลากรในเทศบาลอ่างทองมีความรู้และความตระหนักดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. มีครัวเรือนร่วมดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 3. สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพและกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมวัย
0.00 100.00

การคัดเลือกให้ความรู้คู่กับฝึกปฏิบัติการกิจกรรมทางกายที่หลากหลายที่เหมาะกับช่วงวัย ทำให้แต่ละ่คนเลือกได้หลากรูปแบบที่เหมาะสม

2 เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจากท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน 2. มีข้อมูลสถานการณ์และการดูแลสุขภาพ กิจกรรมทางกาย 3. มีกติกาและแผนปฏิบัติการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกาย 4. มีกลไกการติดตามและส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
26.00

การบูรณาการความร่วมมือและการแบ่งบทบาทตามความถนัด มีทีมกองเลขา และทีมติดตามที่เข้าใจทำให้การดำเนินงานขับเคลื่อนไปได้ตามที่กำหนดไว้ กระบวนการประชุมคณะทำงาน และมีกลไกการประเมินผลทำให้ได้ทบทวนและปรับปรุงการทำงานเป็นระยะ

3 เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและมีปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชน และกลุ่มวัยทำงานมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) 2. มีบุคคลต้นแบบกิจกรรมขยับกายเพื่อสุขภาพจำนวน 10 คน 3. มีแกนนำส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 30 คน 4. มีพื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างน้อย 3 จุด

 

4 ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนนำร่อง 60
ผู้บริหารและบุคคลากรเทศบาลอ่างทอง 70
แกนนำชุมชน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและบุุคลลากรเทศบาลเกิดความรู้และความตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150  นาที (2) เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายที่มีประสิทธิภาพ (3) เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและมีปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย (4) ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน (2) กิจกรรมที่ 2 เปิดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1 (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1 (5) อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่2 (6) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (7) กิจกรรมที่ 14  กำหนดสถานที่เขคปลอดเหล้าและบุหรี่ (8) กิจกรรมที่ 7. กิจกรรมขยับทางกายเพื่อสุขภาพ (กิจกรรมทางเลือก) (9) กิจกรรมที่ 8 ครอบครัวมีสุข (สุขภาพ+มีความสุข) (10) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (11) กิจกรรมที่ 9 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 1 (12) กิจกรรมที่ 11 การแข่งขันกีฬามหาสนุก (13) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการ (14) กิจกรรมที่ 12 ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ (15) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรมที่ 9 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย (17) กิจกรรมที่ 3.จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย คร้ังที่2 (18) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (19) กิจกรรมที่ 10 เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ (20) กิจกรรมที่ 6 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 (21) กิจกรรมที่ 13 สรุปผลการดำเนินงาน (22) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยจัดการ (ARE)  ครั้งที่ 2 (23) ประชุมถอดบทเรียน (24) รวมพลคน 3 วัย (25) รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ65-10156-027

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจริญา บุญมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด