directions_run

โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย

assignment
บันทึกกิจกรรม
ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ24 มกราคม 2567
24
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯจำนวน 24.22 บาท

ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน16 มกราคม 2567
16
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย กำหนดจัดกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมทั้งโครงการ โดยมีกิจกรรมดังนี้ - การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย - ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน - สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉินและจัดทำแผนชุมชน - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ - ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านจำนวน 2 ครั้ง - จัดเตรียมสถานที่ทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน - ประชาสัมพันธ์ป้องกันเหตุช่วงเทศกาล - เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม - เวทีคืนข้อมูลจุดเสี่ยง และออกแบบการแก้ไข - ติดตามประเมินผล และสรุปบทเรียนวางแผนการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินอย่างเนื่องและยั่งยืน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ - มีคำสั่งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินประจำตำบล ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข/กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/อพปร./ชรบ./อสม. จำนวน 1 ฉบับ - มีข้อมูลสถานการณ์เหตุฉุกเฉินในพื้นที่ และแผนที่ชุมชนที่มีข้อมูลจุดเสี่ยง จำนวน 1 ชุด - ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย (ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน - มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม - มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่บ้าน - มีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ การเขียนแบบบันทึกรายงานช่วยเหลือและส่งต่อผู้ป่วย จำนวน 23 เหตุการณ์ 26 คน - ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)

ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน16 มกราคม 2567
16
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย
  • ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  • สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉินและจัดทำแผนชุมชน
  • จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ
  • ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านจำนวน 2 ครั้ง
  • จัดเตรียมสถานที่ทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน
  • ประชาสัมพันธ์ป้องกันเหตุช่วงเทศกาล
  • เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม
  • เวทีคืนข้อมูลจุดเสี่ยง และออกแบบการแก้ไข
  • ติดตามประเมินผล และสรุปบทเรียนวางแผนการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินอย่างเนื่องและยั่งยืน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีคำสั่งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินประจำตำบล ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข/กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/อพปร./ชรบ./อสม. จำนวน 1 ฉบับ
  • มีข้อมูลสถานการณ์เหตุฉุกเฉินในพื้นที่ และแผนที่ชุมชนที่มีข้อมูลจุดเสี่ยง จำนวน 1 ชุด
  • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย (ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 คน
  • มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม
  • มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่บ้าน
  • มีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ การเขียนแบบบันทึกรายงานช่วยเหลือและส่งต่อผู้ป่วย จำนวน 23 เหตุการณ์ 26 คน
  • ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)
ค่าเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม/เบิก-ฝากเงินธนาคาร16 มกราคม 2567
16
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการเบิกจ่ายค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมการเงินโครงการฯ ณ ธนาคารกรุงไทย สาขาเจริญประดิษฐ์ จำนวน 5 ครั้ง และค่าเดินทางเข้าร่วมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ARE ร่วมกับแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี จำนวน 2 ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ค่าเดินทางเข้าร่วมอบรมAREกับแผนงานร่วมทุนฯ 2 ครั้ง -ค่าเดินทางเบิก-ฝากเงินธนาคารกรุงไทย สาขาเจริญประดิษฐ์ 5 ครั้ง

ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 215 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการฯได้รับหนังสือจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีเชิญเข้าร่วมอบรม ARE 2 กับแผนงานฯ ในวันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ติดตาม และนำเสนอจัดนิทรรศการโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่โครงการเข้าร่วม 3 คน ดังนี้ 1)นายอับดุลฮาฟิต เจะแต ประธานโครงการฯ 2)นายอัณวาร์ แวมะเด็ง ผู้รับผิดชอบโครงการ 3)นางสาวมาวาตี ผู้รับผิดชอบโครงการ และได้จ้างทำไวนิลขนาด 180*80 ซม. พร้อมขาตั้งรูปตัว X จำนวน 1 ชุดๆละ 1,200 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เข้าร่วมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดโครงการในแต่ละพื้นที่
  • นำเสนอความสำเร็จของโครงการ
ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้าน ครั้งที่ 2/211 มกราคม 2567
11
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 6 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้านจำนวน ครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการดำเนินงานในระดับหมู่บ้าน ในวันที่ 4 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย  เวลา 08.30 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 20 คน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ - วางแผนการดำเนินงาน - คณะทำงานโครงการจัดทำหนังสือเชิญประชุม - จัดทำวาระการประชุม - จัดเตรียมอาหารว่างและอาหารกลางวัน - จัดเตรียมห้องประชุม - สรุปรายงานการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน (ตัวแทนหมู่บ้านละ 3 คน จำนวน 5 หมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่คณะทำงานโครงการ) ผลการปฏิบัติงาน ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)
ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 3/38 มกราคม 2567
8
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดประชุมเพื่อใช้ในการดำเนินการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ และสรุปผลการดำเนินงาน ในวันที่ 8 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย  เวลา 08.30 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 15 คน  โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ - วางแผนการดำเนินงาน - คณะทำงานโครงการจัดทำหนังสือเชิญประชุม - จัดทำวาระการประชุม - จัดเตรียมอาหารว่างและอาหารกลางวัน - จัดเตรียมห้องประชุม - สรุปรายงานการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม 15 คน
    ผลการปฏิบัติงาน ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)
ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลื้ยง8 มกราคม 2567
8
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1-3 กำหนดการ การลงพื้นที่ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ลงพื้นที่ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE4

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นขั้นที่ 4 ของบันไดผลลัพท์โครงการ ผลการปฏิบัติงาน.... ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)

ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลื้ยง10 พฤศจิกายน 2566
10
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1 กำหนดการ การลงพื้นที่ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ลงพื้นที่ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE3

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นขั้นที่ 4 ของบันไดผลลัพท์โครงการ ผลการปฏิบัติงาน.... ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินจำนวน 21 คนได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล (ร้อยละ 80.76 ของจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมด 26 ราย)

ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 125 กันยายน 2566
25
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย ได้รับหนังสือจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีเชิญเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 25 กันยายน 2566 ณ โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี เพื่อทำความเข้าใจเรื่องการดำเนินกิจกรรม ตรวจหลักฐานทางการเงินของกิจกรรมที่ทำไปแล้ว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 จำนวน 3 คน ดังนี้ 1)นายอับดุลฮาฟิต เจะแต ประธานโครงการฯ 2) นางสาวมาวาตี สะมะแอ ผู้รับผิดชอบโครงการฯ 3) นายอัณวาร์ แวมะเด็ง ผู้รับผิดชอบโครงการฯ เข้าใจเรื่องการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมและตรวจหลักฐานทางการเงิน

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2/320 กันยายน 2566
20
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดประชุมเพื่อใช้ในการดำเนินการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ ให้กับคณะทำงานโครงการฯ ในวันที่ 20 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 15 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม 15 คน ผลลัพธ์ : ทราบบทบาทของคณะกรรมการในการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่

ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้าน ครั้งที่ 1/212 กันยายน 2566
12
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 6 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้านจำนวน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 14 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 20 คน โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ - เพื่อติดตามการดำเนินงานในระดับหมู่บ้าน
- คัดเลือก/สรรหา บุคคลเป็นคณะทำงานทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน - จัดทำคำสั่งคณะทำงานทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในระดับหมู่บ้าน (หมู่ที่ 1, 4, 5, 8, 9 ตำบลปุโละปุโย) ตัวแทนหมู่ละ 3 คน รวมทั้งหมดจำนวน 20 คน

ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลื้ยง25 สิงหาคม 2566
25
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเริ่มขั้นที่ 3 ของบันไดผลลัพท์โครงการ

ค่าจัดทำตรายางโครงการ18 สิงหาคม 2566
18
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดจ้างทำตรายางชื่อแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีและรหัสข้อตกลงโครงการประเภทหมึกในตัว จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 535 บาท (ห้าร้อยสามสิบห้าบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ค่าตรายางหมึกในตัว “แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี” ขนาด 2.3 * 7 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน ราคา 321 บาท 2. ค่าตรายางหมึกในตัว “รหัสข้อตกลงโครงการ 65-P1-0068-003” ขนาด 0.9 * 2.5 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน ราคา 214 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1)ตรายางหมึกในตัว “แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี” ขนาด 2.3 * 7 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน
2)ตรายางหมึกในตัว “รหัสข้อตกลงโครงการ 65-P1-0068-003” ขนาด 0.9 * 2.5 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน

จัดหาและเตรียมสถานที่ของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน14 สิงหาคม 2566
14
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟืนคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย ดำเนินงานจัดหาและเตรียมสถานที่ของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่ (หมู่ที่ 1 บ้านกาหยี, หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง, หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา, หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ และหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน) เพื่อให้มีที่ทำการและประสานงานด้านเหตุฉุกเฉินในหมู่บ้าน พร้อมทั้งมีอุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์เบื้องต้น(ประกอบด้วย สมุดบันทึกรายงานการปฏิบัติงานเหตุฉุกเฉิน 1 เล่ม / อุปกรณ์ SET ทำแผล / ที่วัดความดันโลหิต / อุปกรณ์ชุดเจาะเลือดปลายนิ้ว / อุปกรณ์ไม้ดามกรณีกระดูกหัก และคู่มือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) เพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ป่วยก่อนนำส่งโรงพยาบาล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถานที่จัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น หมู่ที่ 1 อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ร้านค้าชุมชน (จิจา อสม.) หมู่ที่ 4 อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ร้านค้าชุมชน(กะยะห์ อสม.) หมู่ที่ 5 อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ร้านค้าชุมชน (อามาณี อสม.) หมู่ที่ 8 อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ร้านค้าชุมชน (นิปาซีระ อสม.) หมู่ที่ 9 อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ศาลาละหมาด

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ9 สิงหาคม 2566
9
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วย นางสาวมาวาตี สะมะแอ คณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 4 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น พร้อมทั้งสามารถช่วยเหลือฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้องและปลอดภัย อีกทั้งผู้เข้าร่วมอบรมฯมีการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินได้ ในระหว่างวันที่ 9 - 10 สิงหาคม 2566 ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 60 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีผู้เข้าร่วมอบรม 60 ราย
  • มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ร้อยละ 100
เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม7 สิงหาคม 2566
7
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตำบลปุโละปุโย มีการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉินเบื้องต้นในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านกาหยี, หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง, หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา, หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ และหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ - จัดเตรียมทีมเฝ้าระวังด้านอุบัติเหตุฉุกเฉินในระดับพื้นที่ - สร้างกลุ่มไลน์เพื่อประสานงานได้ดีขึ้น - เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือเหตุฉุกเฉินหมู่บ้านละ 1 กล่อง (ประกอบด้วย สมุดบันทึกรายงานการปฏิบัติงานเหตุฉุกเฉิน 1 เล่ม / อุปกรณ์ SET ทำแผล / ที่วัดความดันโลหิต / อุปกรณ์ชุดเจาะเลือดปลายนิ้ว / อุปกรณ์ไม้ดามกรณีกระดูกหัก) - จัดทำบันทึกการให้การช่วยเหลือ/การปฐมพยาบาลเบื้องต้น - การช่วยเหลือ/การปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่เกิดเหตุในพื้นที่ระหว่างรอนำส่ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีทีมเฝ้าระวังในระดับพื้นที่ 5 หมู่บ้าน
  • มีการช่วยเหลือ/การปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่เกิดเหตุในพื้นที่ระหว่างรอนำส่ง
แต่งตั้งคำสั่งทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน4 สิงหาคม 2566
4
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบครงการกำหนดจัดพูดคุยสรรหาผู้ที่มีความสามารถเพื่อเป็นคณะกรรมการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน ในวันที่ 4 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย จำนวน 5 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 1 บ้านกาหยี, หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง, หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา, หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ และหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ด้วย คณะทำงานได้จัดตั้งหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้บริการประชาชนในการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น และรับ-ส่งผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน ก่อนถึงโรงพยาบาล ตามระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ได้มีมติให้มีการดำเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย โดยให้มีคณะทำงานด้านการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในหมู่บ้านในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยงาน คือ หมู่ที่ 1 บ้านกาหยี, หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง, หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา, หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ และหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานในการให้บริการประชาชนเป็นไปอย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 1. ที่ปรึกษา 1.1. นายกองค์บริหารส่วนตำบลปุโละปุโย 1.2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย 2. คณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินหมู่ที่ 1 บ้านกาหยี 2.1 นายเชาวฤทธิ์ เจะอาลี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลปุโละปุโย ประธานคณะกรรมการ 2.2 โต๊ะอิหม่ามมัสยิด มัสยิดบ้านกาหยี คณะกรรมการ 2.3 นางสาวซีตีอาลีเสาะ สิเดะ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการ 2.4 ครูอนามัยโรงเรียน ครูอนามัยโรงเรียนบ้านกาหยี คณะกรรมการ 2.5 นางสีตีฮายา สาและ ตัวแทนกลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 2.6 นางรอปีหะ ดอเลาะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการ 2.7 นางซาฮารอ นาแว อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการ 2.8 นางปารีด๊ะ สาและ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการ 2.9 นางซารีปะ สือนิ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการ 2.10 นางสาวซูไฮลา บือราเฮง อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 คณะกรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑. ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วยบาดเจ็บ – ฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านกาหยี
๒. บันทึกและรายงานการออกปฏิบัติงานตามแบบบันทึกทุกครั้งที่มีการออกปฏิบัติงาน ๓. สอบถาม/ติดตามผลการรักษา วันอยู่รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยทุกรายที่ให้บริการ ๔. สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค
๕. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง 6. ประชาสัมพันธ์การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง

  1. คณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินหมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง 3.1 นายมะวี ยะโก๊ะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ตำบลปุโละปุโย ประธานคณะกรรมการ 3.2 โต๊ะอิหม่าม มัสยิดหมู่ที่ 4 ตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 3.3 นางวีนัส สาเร๊ะ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 คณะกรรมการ 3.4 ครูอนามัยโรงเรียน โรงเรียนบ้านน้ำดำ คณะกรรมการ 3.5 ครูอนามัยโรงเรียน โรงเรียนแสงประทีปวิทยา คณะกรรมการ 3.6 นางฟารีด๊ะ สามะ ตัวแทนกลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 3.7 นางสาวนูรมี แวหมะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 คณะกรรมการ 3.8 นางสาวไซนะห์ มะลี อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 คณะกรรมการ 3.9 นางบัดรีหย๊ะ เจ๊ะมุ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 คณะกรรมการ 3.10 นายอัณวาร์ แวมะเด็ง อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 4 คณะกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑. ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วยบาดเจ็บ – ฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง
    ๒. บันทึกและรายงานการออกปฏิบัติงานตามแบบบันทึกทุกครั้งที่มีการออกปฏิบัติงาน ๓. สอบถาม/ติดตามผลการรักษา วันอยู่รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยทุกรายที่ให้บริการ ๔. สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค
    ๕. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง
    1. ประชาสัมพันธ์การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง
  2. คณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินหมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา 4.1 นายดอเลาะ ยีเจะอาแว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลปุโละปุโย ประธานคณะกรรมการ 4.2 โต๊ะอิหม่าม มัสยิดปาแดลางา คณะกรรมการ 4.3 นางสารีฮา กาเดร์ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 คณะกรรมการ 4.4 ครูอนามัยโรงเรียน โรงเรียนบ้านค่าย คณะกรรมการ 4.5 ครูอนามัยโรงเรียน ครูอนามัยโรงเรียนมูลนิธิชุมชนอิสลามศึกษา คณะกรรมการ 4.6 นางสาวคอลีเยาะ วาเงาะ ตัวแทนกลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 4.7 นางสาวรอบีย๊ะ ยะโก๊ะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 คณะกรรมการ 4.8 นางสาวอามาณี เจะแต อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 คณะกรรมการ 4.9 นายมะดาโอะ เจ๊ะปอ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 คณะกรรมการ 4.10 นายอับดุลฮาฟิต เจะแต อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 กรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑. ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วยบาดเจ็บ – ฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา
    ๒. บันทึกและรายงานการออกปฏิบัติงานตามแบบบันทึกทุกครั้งที่มีการออกปฏิบัติงาน ๓. สอบถาม/ติดตามผลการรักษา วันอยู่รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยทุกรายที่ให้บริการ ๔. สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค
    ๕. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง

    1. ประชาสัมพันธ์การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง


  3. คณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินหมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ 5.1 นายรอซาลี กาปิง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 ตำบลปุโละปุโย ประธานคณะกรรมการ 5.2 โต๊ะอิหม่าม มัสยิดบ้านกูแบซือโยะ คณะกรรมการ 5.3 นางสาวนูรีดา ลาเตะ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 คณะกรรมการ 5.4 นางสาวซูไรนา ลาเตะ ตัวแทนกลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 5.5 นางสาวเจะแอเสาะ ยีเร็ง อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 คณะกรรมการ 5.6 นางสาวนูร์ซูไฮปามีย์ โระ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 คณะกรรมการ 5.7 นางสีตีฮาวอ แวดอเลาะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 คณะกรรมการ 5.8 นายหามะ ลาเตะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 คณะกรรมการ 5.9 นางสาวรอบีหยะ จูอะ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 กรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑. ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วยบาดเจ็บ – ฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโยะ ๒. บันทึกและรายงานการออกปฏิบัติงานตามแบบบันทึกทุกครั้งที่มีการออกปฏิบัติงาน ๓. สอบถาม/ติดตามผลการรักษา วันอยู่รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยทุกรายที่ให้บริการ ๔. สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค
    ๕. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง

    1. ประชาสัมพันธ์การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง
  4. คณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน 6.1 นายหะหมัด บาเฮ็ง กำนันตำบลปุโละปุโย ประธานคณะกรรมการ 6.2 โต๊ะอิหม่าม มัสยิดบ้านคลองควน คณะกรรมการ 6.3 นางลีเยาะ ดอนิ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.4 นางแมะซง ดอนิ ตัวแทนกลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย คณะกรรมการ 6.5 นางสาวคอดีเยาะห์ แวนิด อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.6 นางสุกัลยา คางา อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.7 นางสาวซาปีน๊ะ แก้วจิตร์ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.8 นางซัยนับ นากอ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.9 นางสาวแวแย หะยีมะนุ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 คณะกรรมการ 6.10 นางสาวปวริศา บัวทองผุด อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 กรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑. ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วยบาดเจ็บ – ฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 9 บ้านคลองควน ๒. บันทึกและรายงานการออกปฏิบัติงานตามแบบบันทึกทุกครั้งที่มีการออกปฏิบัติงาน ๓. สอบถาม/ติดตามผลการรักษา วันอยู่รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยทุกรายที่ให้บริการ ๔. สรุปผลการปฏิบัติงาน รายงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค
    ๕. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง
    1. ประชาสัมพันธ์การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 4  สิงหาคม พ.ศ. 2566
ถอนเงิน เปิดบัญชี13 กรกฎาคม 2566
13
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยดำเนินการถอนเงินค่าสำรองเปิดบัญชีธนาคารโครงการฯจำนวน 500 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินค่าสำรองเปิดบัญชีธนาคารโครงการฯจำนวน 500 บาท

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 1/310 กรกฎาคม 2566
10
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย กำหนดจัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 15 คน โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการและวางแผนการดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ในโครงการฯ 2) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย 3) พิจารณาวันที่จัดกิจกรรม “การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ” ตำบลปุโละปุโย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม 15 คน ผลลัพธ์ : ทราบบทบาทของคณะกรรมการในการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่

ค่าจัดป้ายไดผลลัพธ์6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดจ้างทำไวนิลป้ายบันไดผลลัพธ์ เพื่อใช้ในการวางแผนโครงการและตรวจสอบกิจกรรมตามกระบวนการเชิงผลลัพธ์ของโครงการ จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 260 บาท (เงินสองร้อยหกสิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์โครงการ ขนาด 80*100 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 260 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์โครงการ ขนาด 80 ซ.ม.*100 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน
ค่าจัดทำป้ายสถานทีปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการจัดจ้างไวนิลป้ายปลอดบุหรี่และสุราและป้ายชื่อโครงการ เพื่อใช้ในการนำเสนอป้ายชื่อกิจกรรมต่างๆในโครงการ อีกทั้งยังได้ติดป้ายประกาศเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่และสุรา จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 740 บาท (เงินเจ็ดร้อยสี่สิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ค่าป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่และสุรา ขนาด 8080 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 220 บาท 2. ค่าป้ายไวนิลชื่อโครงการ ขนาด 120200 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 520 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่ ขนาด 80 ซ.ม. * 80 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน
  • ป้ายชื่อโครงการ ขนาด 120 ซ.ม. * 200 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน
อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับทุนได้รับความรู้ เรื่องการทำรายงานในระบบฅนสร้างสุขและจัดทำรายงานเอกสารการเบิกจ่ายเงิน
ผู้รับทุนที่เข้ารับการอบรมปฐมนิเทศได้รับความรู้การดำเนินงานและการบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน มีความรู้และสามารถบันทึกข้อมูลในเวปไซต์ฅนสร้างสุข มีความรู้เรื่องการเบิกจ่ายเงินโครงการ

สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน29 พฤษภาคม 2566
29
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะผู้รับผิดชอบโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย ดำเนินการจัดทำสถานการณ์อุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ เพื่อการวางแผนการดำเนินงานในการเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉินในแต่ละพื้นที่ โดยทางคณะผู้รับผิดชอบโครงการฯมีกระบวนการ ขั้นตอนการจัดทำสถานการณ์ดังนี้ - หาข้อมูลสถานการณ์อุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ โดยได้รับสนุนข้อมูลจากโรงพยาบาลหนองจิก ข้อมูลระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2565 - ตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องของข้อมูล - จัดทีมพูดคุยเรื่องข้อมูล - จัดทำเป็นสถานการณ์อุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ - วิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไข จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในปี พ.ศ.2565 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2565) ตำบลปุโละปุโยมีเหตุฉุกเฉินที่ต้องส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลหนองจิกทั้งหมด 38 ราย แบ่งเป็นอุบัติเหตุทางถนนจำนวน 24 ราย ถูกสัตว์มีพิษกัดต่อยจำนวน 7 ราย เหตุจมน้ำจำนวน 2 ราย และมีเหตุการณ์ที่เกิดการหายใจติดขัดเนื่องจากสิ่งแปลกปลอมหรืออาหารติดคอจำนวน 5 ราย

การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย29 พฤษภาคม 2566
29
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะผู้รับผิดชอบโครงการจัดประชุมพูดคุย เพื่อสรรหาบุคคลที่มีความสามารถเพื่อแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับตำบลปุโละปุโยและได้จัดตั้งหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้บริการประชาชนในการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น และรับ-ส่งผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน ก่อนถึงโรงพยาบาล ตามระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ได้มีมติให้มีการดำเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย โดยให้มีคณะทำงานด้านการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในระดับตำบลปุโละปุโยดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานในการให้บริการประชาชนเป็นไปอย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ทางคณะผู้รับผิดชอบโครงการจึงจำเป็นที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังและหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับตำบลปุโละปุโย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีคำสั่งคณะกรรมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับตำบลปุโละปุโย 1 ฉบับ โดยมีคณะทำงาน 18 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ปุโละปุโย 5 คน / อสม. จำนวน 1 คน / ชมรมรักสุขภาพ 1 คน / กลุ่มสตรีตำบลปุโละปุโย 1 คน / กำนัน 1 คน/ ผู้ใหญ่บ้าน 4 คน/ โต๊ะอิหม่าม 1 คน / อปพร. 2 คน / ผอ.โรงเรียน 2 คน

ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลื้ยง24 พฤษภาคม 2566
24
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการฯได้รับการประสานจากพี่เลี้ยงประจำโครงการ (นายมุสตากีม ดอนิ) ลงพื้นที่พบปะกับคณะทำงานการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย เพื่อทำความเข้าใจ ปรับแผนการดำเนินงาน เข้าใจการดำเนินงานโครงการเชิงผลลัพธ์ การรายงานงวดและการบันทึกข้อมูลกิจกรรมโครงการฯในเว็ปไซต์ "ฅนสร้างสุข" รวมทั้งติดตามการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา โดยมีคณะทำงานโครงการเข้าร่วมพูดคุยจำนวน 2 คน 1)นายอับดุลฮาฟิต เจะแต และ 2)นางสาวมาวาตี สะมะแอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถเข้าใจถึงกระบวนการการจัดกิจกรรม เข้าใจการดำเนินงานโครงการเชิงผลลัพธ์ การรายงานงวดและการบันทึกข้อมูลกิจกรรมโครงการฯในเว็ปไซต์ "ฅนสร้างสุข" และหลักฐานการเงินในแต่ละกิจกรรม

ค่าจัดทำรายงานและค่าบันทึกข้อมูลในระบบฅนสร้างสุข เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์1 พฤษภาคม 2566
1
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Wang_3004
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโยจะดำเนินการจัดจ้างนายอัณวาร์ แวมะเด็ง เพื่อบันทึกรายงานกิจกรรมโครงการในเว็ปไซต์ “ฅนสร้างสุข” https://happynetwork.org/ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบันทึกโครงการ รายงานโครงการ รายงานงวดกิจกรรมตั้งแต่เริ่มดำเนินการโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้บันทึกโครงการในเว็ปไซต์ “ฅนสร้างสุข” https://happynetwork.org/
  • ได้บันทึกสำเร็จและปิดโครงการ