directions_run

โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-003
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567
งบประมาณ 67,550.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปุโละปุโย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลฮาฟิต เจะแต
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 093-6254008
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Wangsingle3004@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายมุสตากีม ดอนิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.769194,101.186749place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 54,040.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 13,510.00
รวมงบประมาณ 67,550.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอุบัติเหตุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินในทุกประเภท เช่น อุบัติเหตุทางถนน การจมน้ำ สัตว์มีพิษกัดต่อย ฯลฯ ซึ่งในปี พ.ศ.2565 ตำบลปุโละปุโยมีเหตุฉุกเฉินที่ต้องส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลหนองจิกทั้งหมด 38 ราย แบ่งเป็นอุบัติเหตุทางถนนจำนวน 24 ราย ถูกสัตว์มีพิษกัดต่อย จำนวน 7 ราย เหตุจมน้ำจำนวน 2 ราย และมีเหตุการณ์ที่เกิดการหายใจติดขัดเนื่องจากสิ่งแปลกปลอมหรืออาหารติดคอจำนวน 5 ราย ซึ่งทุกเหตุการณ์ประชาชนทั่วไปสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพเพื่อลดการสูญเสียแก่ชีวิตและการบาดเจ็บก่อนนำส่งโรงพยาบาลได้ แต่จากการบันทึกข้อมูลทุกเหตุการณ์ประชาชนในที่เกิดเหตุไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้เลย อีกทั้งการเข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปด้วยยากและล่าช้า

สาเหตุที่ประชาชนในที่เกิดเหตุนั้นๆไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่มีความรู้หรือทักษะในการช่วยเหลือ ไม่กล้าที่จะช่วยเหลือ อีกทั้งประชาชนยังมองถึงการช่วยเหลือเป็นหน้าที่ของครอบครัวหรือญาติของผู้ประสบเหตุเท่านั้น ปัญหาทางกายภาพที่ขาดแคลนด้านอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ และยังไม่มีทีมงานหรือหน่วยงานที่ให้ความรู้และฝึกทักษะการปฐมพยาบาลให้กับประชาชนอย่างสม่ำเสมอ

จากสาเหตุดังกล่าวเมื่อประชาชนในที่เกิดเหตุไม่กล้าที่จะปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือให้ผู้ประสบเหตุ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ ทั้งเสียชีวิต พิการ และบาดเจ็บขั้นรุนแรงเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมได้เมื่อผู้ที่มีความสามารถหรือทักษะการช่วยเหลือไม่ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ อาจทำให้เกิดความไม่พอใจของญาติผู้ประสบเหตุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผิดวิธี

จากปัญหาดังกล่าวทางผู้รับผิดชอบโครงการเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพิ่มความมั่นใจในการช่วยเหลือ ลดความสูญเสียเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังมีการจัดตั้งทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน จึงได้จัดโครงการ“การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือ  ฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย”นี้ขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
  • มีคำสั่งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินประจำตำบล ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข/กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/อพปร./ชรบ./อสม.
  • มีข้อมูลสถานการณ์เหตุฉุกเฉินในพื้นที่
  • ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย
1.00
2 เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน
  • มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/จนท.สาธารณสุข/อพปร./ชรบ./อสม.
  • มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้านมีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน
1.00
3 ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล
  • ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินร้อยละ 80 ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล
  • ไม่มีผู้เสียชีวิตจากการช่วยเหลือของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน
1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2050
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ประชาชนในพื้นที่ 2,000 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก ทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ 50 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง(19 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 4,950.00                    
2 กิจกรรมที่ 1 การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย(29 พ.ค. 2566-29 พ.ค. 2566) 0.00                    
3 กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน(29 พ.ค. 2566-29 พ.ค. 2566) 0.00                    
4 สนับสนุนบริหารจัดการ(1 มิ.ย. 2566-29 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
5 กิจกรรมที่ 8 เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม(6 มิ.ย. 2566-6 มิ.ย. 2566) 1,000.00                    
6 ARE ร่วมกับพี่เลื้ยง(6 มิ.ย. 2566-6 มิ.ย. 2566) 0.00                    
7 กิจกรรมที่ 5 แต่งตั้งคำสั่งทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน(3 ก.ค. 2566-3 ก.ค. 2566) 0.00                    
8 กิจกรรมที่ 7 จัดหาและเตรียมสถานที่ของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่(13 ก.ค. 2566-13 ก.ค. 2566) 0.00                    
9 กิจกรรมที่ 6 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้านจำนวน 2 ครั้ง(20 ก.ค. 2566-20 ก.ค. 2566) 4,400.00                    
10 กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ(9 ส.ค. 2566-10 ส.ค. 2566) 47,200.00                    
11 กิจกรรมที่ 9 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน(1 ก.พ. 2567-1 ก.พ. 2567) 0.00                    
12 กิจกรรมที่ 10 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน(1 ก.พ. 2567-1 ก.พ. 2567) 0.00                    
รวม 67,550.00
1 กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 4,950.00 3 4,950.00
10 ก.ค. 66 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 1/3 15 1,650.00 1,650.00
20 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2/3 0 1,650.00 1,650.00
8 ม.ค. 67 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 3/3 0 1,650.00 1,650.00
2 กิจกรรมที่ 1 การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 0.00 1 0.00
29 พ.ค. 66 การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการหรือทีมงานเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินตำบลปุโละปุโย 50 0.00 0.00
3 กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 0.00 1 0.00
29 พ.ค. 66 สำรวจข้อมูลจัดทำสถานการณ์ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน 10 0.00 0.00
4 สนับสนุนบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,000.00 8 10,000.00
6 - 7 มิ.ย. 66 อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 0 0.00 0.00
6 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายสถานทีปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ 0 740.00 740.00
6 มิ.ย. 66 ค่าจัดป้ายไดผลลัพธ์ 0 260.00 260.00
18 ส.ค. 66 ค่าจัดทำตรางยางโครงการ 0 535.00 535.00
1 ต.ค. 66 ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 1 0 0.00 0.00
15 ม.ค. 67 ค่าจัดทำรายงานและค่าบันทึกข้อมูลในระบบฅนสร้างสุข เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 0 1,465.00 1,465.00
15 ม.ค. 67 ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 2 0 1,200.00 1,200.00
16 ม.ค. 67 ค่าเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม/เบิก-ฝากเงินธนาคาร 0 5,800.00 5,800.00
5 กิจกรรมที่ 8 เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,000.00 1 1,000.00
7 ส.ค. 66 เฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน / สื่อสารด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และบันทึกการดำเนินกิจกรรม 0 1,000.00 1,000.00
6 ARE ร่วมกับพี่เลื้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 0.00 4 0.00
9 มิ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลื้ยง 15 0.00 0.00
25 ส.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลื้ยง 0 0.00 0.00
10 พ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลื้ยง 0 0.00 0.00
9 ม.ค. 67 ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลื้ยง 0 0.00 0.00
7 กิจกรรมที่ 5 แต่งตั้งคำสั่งทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 0.00 1 0.00
4 ส.ค. 66 แต่งตั้งคำสั่งทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 15 0.00 0.00
8 กิจกรรมที่ 7 จัดหาและเตรียมสถานที่ของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
14 ส.ค. 66 จัดหาและเตรียมสถานที่ของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 0 0.00 0.00
9 กิจกรรมที่ 6 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้านจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 4,400.00 2 4,400.00
14 ส.ค. 66 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้าน ครั้งที่ 1/2 20 2,200.00 2,200.00
4 ม.ค. 67 ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในแต่ละหมู่บ้าน ครั้งที่ 2/2 0 2,200.00 2,200.00
10 กิจกรรมที่ 4 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 47,200.00 1 47,200.00
9 - 10 ส.ค. 66 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ 60 47,200.00 47,200.00
11 กิจกรรมที่ 9 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
16 ม.ค. 67 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน 0 0.00 0.00
12 กิจกรรมที่ 10 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
16 ม.ค. 67 ติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน 0 0.00 0.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24.22 2 524.22
13 ก.ค. 66 ถอนเงิน เปิดบัญชี 0 0.00 500.00
24 ม.ค. 67 ถอนเงินดอกเบี้ยคืนคลัง 0 24.22 24.22

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • มีคณะกรรมการ/ทีมงานในการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม
  • มีอุปกรณ์ในการช่วยเหลือปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพเพิ่มขึ้น
  • มีข้อมูลเหตุฉุกเฉินสนับสนุนในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาต้นเหตุต่อไป
  • มีทีม ครู ก เป็นพี่เลียงในการสอนการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการฟื้นคืนชีพให้กับประชาชนต่อไป
  • หลังเสร็จสิ้นโครงการจะมีดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และขยายผลการสอนการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการฟื้นคืนชีพให้กับประชาชนต่อไป
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:39 น.