directions_run

โครงการชาวบางปู สุขภาพดี ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ประจำปี 2566

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เกิดคณะทำงานและกลไกการติดตามกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะกรรมการกลุ่ม 15 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น แกนนำชุมชน อาสาสมัคร อปท. รพ.สต. 2.คณะกรรมการกลุ่ม 15 คน มีความเข้าใจ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกายและออกแบบกิจกรรมได้ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการเก็บข้อมูลและประชุมคืนข้อมูล

 

 

 

2 เกิดความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๒๐ คนร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ในการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย 2 มีข้อมูลการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย ของคนในชุมชนอย่างน้อย 1ชุด 3 เกิดกติกาข้อตกลงร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย

 

 

 

3 เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1 มีสถานที่รวมกลุ่มออกกำลังกาย ในร่มของชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง 2 มีอาหารสุขภาพ 1 เมนู 1 ครอบครัว 3 เกิดข้อตกลงร้านค้าอาหารสุขภาพ อย่างน้อย1 เมนู 4 มีรูปแบบการออกกำลังกายตามช่วงวัย 5 มีบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย อย่างน้อย ๓๐ คน

 

 

 

4 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 73 คน มีการออกกำลังกายสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที 2 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 73 คนมีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม