directions_run

โครงการชาวบางปู สุขภาพดี ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ประจำปี 2566

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชาวบางปู สุขภาพดี ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ประจำปี 2566
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-013
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลบางปู
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว มาเรียม สะนิ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 091-7522327
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ ๋jeksapiyohhayidimae@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวคนึงนิต มากชูชิต
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 80,000.00
2 1 ม.ค. 2567 29 ก.พ. 2567 1 ม.ค. 2567 29 ก.พ. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานบุหรี่และปัจจัยเสี่ยง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลบางปูลักษณะสังคมโดยรวมเป็นชุมชนแออัด / จากข้อมูลโรคเรื้อรัง ของ รพสต.บางปู พบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (NCDs) จำนวน 1,196 ราย (9.6%) จำแนกเป็น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 717 ราย(5.8%) ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 87 ราย(0.7%) และผู้ป่วยความดันและเบาหวาน จำนวน 392 ราย(3.16%) (ข้อมูลจาก HDC จังหวัดปัตตานีเมื่อวันที่ 19 ม.ค.2566) และจากคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชาชนในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ของตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี พบว่า กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน ที่เจาะปลายนิ้วเพื่อตรวจหาค่าน้ำตาลในเลือด ที่มีค่าน้ำตาลในเลือดมากกว่า 100 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จำนวน 90 ราย และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่มีค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท จำนวน 184 ราย จากข้อมูลดังกล่าว มีแนวโน้มการเกิดโรคเรื้อรัง (NCDs)ที่สูงเพิ่มขึ้นตามลำดับ สาเหตุของปัญหาเกิดจากพฤติกรรม จากสภาพสังคม และกลไกลทางภาครัฐและภาคสังคม ดังนี้

ด้านพฤติกรรม

–มีการรับประทานอาหารตามใจปาก กินข้าวเยอะ อย่างน้อย 2 จาน ต่อมื้อ รับประทานวันละ 3-4 มื้อ และรับประทานมื้อดึก หรือหลังละหมาดอีซอ (หลัง 20.00 น.)
-พฤติกรรมการบริโภคแกงถุง และกินขนมหวานทุกวัน วันละ 1-2 ถุง เป็นขนมหวานหลังทานอาหารเที่ยง โดยจะซื้อกินในหมู่บ้านเป็น กล้วยบวชชี กล้วยเชื่อม ต้มถั่วเขียว ข้าวเหนียวดำ บัวลอย สาคู เป็นต้น และเมนูขนมโบราณ เช่น ขนมสอดไส้มะพร้าว เจ๊ะแมะ ขนมบาดา ขนมครก เป็นต้น -ขาดความตระหนักในการเลือกกินอาหารที่มีอาหารรสหวาน เคยได้รับความรู้ทาง สื่อโซเซียล ว่ากินหวานบ่อยๆ จะเป็นเบาหวาน ได้ แต่ไม่เคยปฏิบัติ -ไม่ออกกำลังกาย เดิมเคยมีการร่วมกลุ่มออกกำลังกายสัปดาห์ละครั้ง เช่นการยืดเหยียดด้วยผ้าถุง
ที่ลานมัสยิดตะอาวุน แต่เมื่อโครงการจบ ก็ไม่มีการออกกำลังกายต่อเนื่อง และไม่มีแกนนำ -ประชาชนนิยมซื้ออาหารปรุงสำเร็จมากกว่าอาหารปรุงเอง

ด้านสภาพสังคม
-ไม่มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายในหมู่บ้าน ไม่มีแกนนำ -ร้านขายน้ำถุง 40 ร้าน ร้านขายข้าวแกง 30 ร้าน ราคาน้ำถุง ถูก 5-15 บาท/ถุง และหวานจัด หลากหลายเมนู -มีบริการสั่งอาหารและส่งถึงหน้าบ้าน ทำให้สะดวกต่อการจับจ่ายซื้อของ -ร้านค้าในชุมชนมีทั้งขายอาหารปรุงสำเร็จและขนมขบเคี้ยวที่นิยมซื้อรับประทาน เช่น7-11 ด้านกายภาพ
-ไม่มีสถานที่ออกกำลังกาย
-มีร้านขายแกงถุงตลอดสายในหมู่บ้านและขายทั้งกลางวันและกลางคืน หาซื้อง่าย เนื่องจากมีรถเข็น 2 คัน ขายอาหารถึงหน้าบ้าน

กลไกที่เกี่ยวข้อง
-ไม่มีชมรมออกกำลังกาย
-ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนายังไม่ตระหนักถึงภัยเงียบของโรค NCDs
สาเหตุดังกล่าวจึงมาสู่ผลกระทบที่เกิดจาก ปัญหา ด้าน สุขภาพ ด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจ ดังนี้ เกิดผู้ป่วยความดัน/เบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น เกิดผู้ป่วย stroke รายใหม่ สูญเสียวัยทำงาน ทำให้เป็นภาระของสังคม -รัฐสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดทำโครงการ ชาวบางปู สุขภาพดี ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค โดยจะดำเนินในรูปแบบของโครงการเชิงผลลัพธ์ ซึ่งบันไดผลลัพธ์ขั้นแรก จะจัดตั้งทีมคณะทำงาน NCDs ประจำตำบลบางปู โดยมีภาคีเครือข่ายในตำบลเป็นแกนนำขับเคลื่อนงาน บันไดขั้นที่สอง เพิ่มความรู้และเพิ่มความตระหนักให้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และแกนนำ อสม.เยาวชน มีความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ. 2ส. และมีการติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง บันไดขั้นที่สาม การปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยขอความร่วมมือร้านค้าในการเพิ่มเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ โปสเตอร์ และใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง และมีการคัดเลือกบุคคลต้นแบบ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับรายใหม่
ดังนั้นจากกระบวนการดังกล่าว ส่งผลให้ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันรายใหม่ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยกลุ่มนี้ กลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพที่ดีขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดี ส่งผลให้ชาวตำบลบางปูมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เกิดคณะทำงานและกลไกการติดตามกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
  1. มีคณะกรรมการกลุ่ม 15 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น แกนนำชุมชน อาสาสมัคร อปท. รพ.สต. 2.คณะกรรมการกลุ่ม 15 คน มีความเข้าใจ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกายและออกแบบกิจกรรมได้ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการเก็บข้อมูลและประชุมคืนข้อมูล
2 เกิดความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

1.กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๒๐ คนร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ในการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย 2 มีข้อมูลการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย ของคนในชุมชนอย่างน้อย 1ชุด
3 เกิดกติกาข้อตกลงร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย

3 เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

1 มีสถานที่รวมกลุ่มออกกำลังกาย ในร่มของชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง
2 มีอาหารสุขภาพ 1 เมนู 1 ครอบครัว 3 เกิดข้อตกลงร้านค้าอาหารสุขภาพ อย่างน้อย1 เมนู 4 มีรูปแบบการออกกำลังกายตามช่วงวัย 5 มีบุคคลต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย อย่างน้อย ๓๐ คน

4 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง

1 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 73 คน มีการออกกำลังกายสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที
2 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 73 คนมีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250 195
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
- แกนนำชุมชน ผู้นำองค์กรส่วนท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน 10 10
ประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน 120 120
ผู้ประกอบการร้านค้า 30 10
อาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบางปู 70 40
เยาวชนในชุมชน 20 15
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 สนับสนุนบริหารจัดการ(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
2 AREร่วมกับพี่เลี้ยง(9 มิ.ย. 2566-31 ม.ค. 2567) 0.00                    
3 ประชาสัมพันธ์โครงการชี้แจงโครงการคณะทำงานและกลุ่มเสี่ยง(19 มิ.ย. 2566-17 ก.ค. 2566) 21,600.00                    
4 ประชุมคณะกรรมการ 2 เดือน/ครั้ง(21 มิ.ย. 2566-1 ม.ค. 2567) 9,000.00                    
5 ติดตามผลการดำเนินงาน(คณะทำงาน)ตลอดโครงการ(3 ก.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 2,100.00                    
6 สำรวจข้อมูล ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคและออกกำลังกาย(ก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างและสิ้นสุดโครงการ)(3 ก.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 1,200.00                    
7 คัดเลือกคนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(3 ก.ค. 2566-31 ธ.ค. 2566) 0.00                    
8 ติดตามผลการดำเนินงาน /คืนข้อมูล ๒ เดือนครั้ง(1 ส.ค. 2566-22 ม.ค. 2567) 0.00                    
9 การอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส(1 ส.ค. 2566-1 ส.ค. 2566) 32,400.00                    
10 ติดตามประเมินผล ๓ เดือนครั้ง(1 ส.ค. 2566-31 ม.ค. 2567) 4,200.00                    
11 จัดเวทีกำหนดรูปแบบการออกกำลังกาย(27 ส.ค. 2566-27 ส.ค. 2566) 0.00                    
12 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารสุขภาพ(27 ส.ค. 2566-27 ส.ค. 2566) 0.00                    
13 วิเคราะห์คืนข้อมูล/ให้ความรู้เมนูอาหารสุขภาพ(1 ก.ย. 2566-30 ต.ค. 2566) 4,200.00                    
14 ประกวดเมนูอาหารสุขภาพ (๑ครอบครัว๑เมนู)(2 ต.ค. 2566-2 ต.ค. 2566) 7,000.00                    
15 มหกรรมอาหารสุขภาพ(4 ธ.ค. 2566-4 ธ.ค. 2566) 3,800.00                    
16 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียน(15 ม.ค. 2567-15 ม.ค. 2567) 4,500.00                    
รวม 100,000.00
1 สนับสนุนบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 10,000.00 14 10,000.00
6 - 7 มิ.ย. 66 อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 15 0.00 0.00
6 - 7 มิ.ย. 66 ค่าเดินทางไปประชุมเวทีปฐมนิเทศ 6 1,200.00 1,200.00
7 มิ.ย. 66 - 30 ก.ย. 66 ค่าจัดทํารายงานและ่ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทํารายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 3 2,000.00 2,000.00
7 มิ.ย. 66 - 31 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปเปิดบัญชี 3 600.00 600.00
26 - 27 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ ป้ายโครงการ ป้ายบันไดผลลัพท์ 0 1,800.00 1,800.00
13 ส.ค. 66 ค่าเดินทางไปประชุมวางแผนบ้านพี่เลี้ยง 4 800.00 800.00
28 ส.ค. 66 จัดทำตรายางโครงการ 0 535.00 535.00
25 ก.ย. 66 ค่าเดินทาง ไป ARE หน่วยจัดการแผนร่วมทุน (30 โครงการ) ครั้งที่ 1 3 600.00 600.00
29 ก.ย. 66 ค่าเดินทางไปเบิกเงินครั้งที่ 2-3 2 400.00 400.00
27 ต.ค. 66 ค่าเดินทางไปเบิกเงินครั้งที่ 1 2 400.00 400.00
17 ธ.ค. 66 ค่าเดินทางไปเบิกเงินครั้งที่ 4 2 400.00 400.00
10 ม.ค. 67 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดนิทรรศการ 0 265.00 265.00
15 ม.ค. 67 ARE หน่วยจัดการแผนร่วมทุน (30 โครงการ) ครั้งที่ 2/2566 5 1,000.00 1,000.00
15 ม.ค. 67 อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2 5 0.00 0.00
2 AREร่วมกับพี่เลี้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 0.00 4 0.00
5 มิ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง 15 0.00 0.00
1 ส.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง 15 0.00 0.00
3 ต.ค. 66 ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง 15 0.00 0.00
9 ม.ค. 67 ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง 15 0.00 0.00
3 ประชาสัมพันธ์โครงการชี้แจงโครงการคณะทำงานและกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 21,600.00 1 21,600.00
3 - 31 ก.ค. 66 ประชาสัมพันธ์โครงการชี้แจงโครงการ 120 21,600.00 21,600.00
4 ประชุมคณะกรรมการ 2 เดือน/ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 9,000.00 4 9,000.00
23 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 15 2,250.00 2,250.00
23 ส.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 15 2,250.00 2,250.00
11 พ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 15 2,250.00 2,250.00
10 - 28 ธ.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้ง ที่ 4 15 2,250.00 2,250.00
5 ติดตามผลการดำเนินงาน(คณะทำงาน)ตลอดโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 2,100.00 4 2,100.00
21 ก.ค. 66 ติดตามผลการดำเนินงาน(คณะทำงาน) ครั้งที่ 1 15 2,100.00 525.00
26 ก.ค. 66 ติดตามผลการดำเนินงาน (คณะทำงาน ) ครั้งที่ 2 0 0.00 525.00
24 พ.ย. 66 ติดตามผลการดำเนินงาน (คณะทำงาน ) ครั้งที่ 3 0 0.00 525.00
25 ธ.ค. 66 ติดตามผลการดำเนินงาน (คณะทำงาน ) ครั้งที่4 0 0.00 525.00
6 สำรวจข้อมูล ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคและออกกำลังกาย(ก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างและสิ้นสุดโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 1,200.00 1 1,200.00
23 ก.ค. 66 - 18 ม.ค. 67 สำรวจข้อมูล ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคและออกกำลังกาย(ก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างและสิ้นสุดโครงการ) 120 1,200.00 1,200.00
7 คัดเลือกคนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 0.00 1 0.00
3 ก.ค. 66 - 31 ธ.ค. 66 คัดเลือกคนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 15 0.00 0.00
8 ติดตามผลการดำเนินงาน /คืนข้อมูล ๒ เดือนครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 0.00 1 0.00
3 ก.ค. 66 - 31 ธ.ค. 66 ติดตามผลการดำเนินงาน /คืนข้อมูล ๒ เดือนครั้ง 15 0.00 0.00
9 การอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 32,400.00 1 32,400.00
30 ก.ย. 66 การอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส 120 32,400.00 32,400.00
10 ติดตามประเมินผล ๓ เดือนครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 4,200.00 1 4,200.00
1 ส.ค. 66 - 31 ม.ค. 67 ติดตามประเมินผล ๓ เดือนครั้ง 15 4,200.00 4,200.00
11 จัดเวทีกำหนดรูปแบบการออกกำลังกาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 0.00 1 0.00
15 ก.ย. 66 จัดเวทีกำหนดรูปแบบการออกกำลังกาย 120 0.00 0.00
12 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 0.00 1 0.00
1 ส.ค. 66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารสุขภาพ 120 0.00 0.00
13 วิเคราะห์คืนข้อมูล/ให้ความรู้เมนูอาหารสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 4,200.00 1 4,200.00
3 ก.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 วิเคราะห์คืนข้อมูล/ให้ความรู้เมนูอาหารสุขภาพ 120 4,200.00 4,200.00
14 ประกวดเมนูอาหารสุขภาพ (๑ครอบครัว๑เมนู) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 7,000.00 1 7,000.00
4 ก.ย. 66 ประกวดเมนูอาหารสุขภาพ (๑ครอบครัว๑เมนู) 120 7,000.00 7,000.00
15 มหกรรมอาหารสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 3,800.00 1 3,800.00
4 ธ.ค. 66 มหกรรมอาหารสุขภาพ 120 3,800.00 3,800.00
16 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 4,500.00 1 4,500.00
15 ม.ค. 67 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียน 30 4,500.00 4,500.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 567.12
23 ม.ค. 67 ถอนเงิน เปิดบัญชี 0 0.00 500.00
24 ม.ค. 67 ถอนเงินดอกเบี้ยคือให้แผนงานร่วมทุนฯ 0 0.00 67.12

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:50 น.