directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-014
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.พ่อมิ่ง
ผู้รับผิดชอบโครงการ ไลลา ยูโซะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0612241427
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ pomingsasuk50@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ คนึ่งนึจ มากชูชิต
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.786929,101.554427place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 80,000.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในชุมชน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยว
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในชุมชน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ หรือบริการสุขภาพไม่ได้รับมาตรฐาน อาจทำให้ผู้บริโภคมีผลกระทบต่อสุขภาพหรือเสียชีวิตได้ เนื่องจากเป็นร้านค้าที่เข้าถึงชุมชนอยู่ภายในหมู่บ้าน ชาวบ้านมีความสะดวกในการจับจ่ายและซื้อสินค้ามากที่สุด อีกทั้งเป็นร้านที่มีสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา อาหาร เครื่องสำอาง บุหรี่และแอลกอฮอล์ ในปี งบประมาณ 2565 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในพื้นที่ตำบลพ่อมิ่งมีร้านชำที่จำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอางจำนวน 32 ร้าน พบว่ามีการจำหน่ายผลิตเครื่องสำอางที่ฉลากถูกต้อง ร้อยละ 93.75 ฉลากไม่ถูกต้อง ร้อยละ 6.25 ร้านชำที่นำยามิใช่ยาสามัญประจำบ้านมาจำหน่ายให้แก่คนในชุมชน    ร้อยละ 19 ของจำนวน 32 ร้าน และพบว่ามีการขายยาอันตรายภายในร้านชำ ได้แก่ ยาชุด ยาที่กฎหมายทางคุ้มครองห้ามขาย  ยาไม่มีเลขทะเบียน ร้อยละ 9.37 ยังพบมีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศห้ามขาย ปัญหาหลักคือผู้ประกอบการยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับยาอันตรายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค เช่นพระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติการสาธารณสุข ตลอดจนไม่ทราบผลข้างเคียงหรืออันตรายที่เกิดจากการใช้ยาในทางที่ผิดรูปแบบในการแก้ปัญหาและการดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคที่ผ่านมา มุ่งเน้นการให้คำแนะนำและ    ให้ความรู้เบื้องต้นแต่ประชาชนในพื้นที่เป็นสำคัญ แต่ยังพบว่าไม่สามารถแก้ปัญหาหรือลดการใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชนได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในตำบลพ่อมิ่ง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคและแก้ไขปัญหายาในชุมชนในตำบลพ่อมิ่ง เพื่อให้สอดคล้องการแก้ไขปัญหายา    ในชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและเพื่อให้คนในชุมชนมีศักยภาพและสามารถจัดการเรื่องยาได้      อย่างสมเหตุสมผลและเกิดความปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 คณะทำงานที่มีความพร้อมในการขับเคลื่อนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  1. เกิดคณะทำงานจากแกนนำชุมชน เครือข่ายในชุมชนอย่างน้อย 15 คน และมีการแบ่งบทบาทที่ชัดเจน
  2. มีการเก็บข้อมูลและติดตามประเมินการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอาง
  3. มีการจัดทำแผนการดำเนินการ 1 แผน
2 ประชาชนตำบลพ่อมิ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
  1. ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องงานการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพร้อยละ 100
  2. แกนนำชุมชนและผู้สูงอายุมีความรู้ร้อยละ 100
  3. นักเรียนมีความรู้ร้อยละ 100
3 เกิดกลไกสนับสนุนการติดตามเฝ้าระวัง
  1. มีแผนการติดตามลงเยี่ยมบ้านผู้สุงอายุเพื่อติดตามการใช้ยา 1 แผน
  2. เกิดแกนนำ อาสาสมัครเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยง 20 คน (อาสาตาสับปะรด)
  3. ช่องทางการติดตามสื่อสารผ่านไลน์กลุ่ม1 กลุ่ม
4 ประชาชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร ยาและเครื่องสำอาง
  1. แกนนำชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอาง 30 คน
  2. เกิดร้านชำต้นแบบ 20 ร้านชำ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนในชุมชน 50 -
แกนนำชุมชน..นักเรียน 80 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 ประชุมคณะทำงาน(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 11,700.00                    
2 งบสนับสนุนบริหารจัดการ(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
3 ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 0.00                    
4 ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ(9 มิ.ย. 2566-9 มิ.ย. 2566) 16,000.00                    
5 เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง(12 มิ.ย. 2566-12 มิ.ย. 2566) 5,400.00                    
6 เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง(13 มิ.ย. 2566-13 มิ.ย. 2566) 1,900.00                    
7 อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค(10 ก.ค. 2566-10 ก.ค. 2566) 7,800.00                    
8 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง(10 ส.ค. 2566-20 ส.ค. 2566) 11,300.00                    
9 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย(11 ส.ค. 2566-11 ส.ค. 2566) 7,200.00                    
10 รณรงค์ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง(10 ต.ค. 2566-10 ต.ค. 2566) 4,000.00                    
11 ประชุทวางแผนการลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย(18 ต.ค. 2566-20 ต.ค. 2566) 2,100.00                    
12 การติดตาม 4 กลุ่มเป้าหมาย(จำนวน 3 ครั้ง)(7 พ.ย. 2566-7 ม.ค. 2567) 7,200.00                    
13 จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย(10 พ.ย. 2566-15 พ.ย. 2566) 13,450.00                    
14 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล(12 ธ.ค. 2566-12 ธ.ค. 2566) 1,950.00                    
รวม 100,000.00
1 ประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 90 11,700.00 6 11,700.00
26 ก.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 15 11,700.00 1,950.00
15 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 15 0.00 1,950.00
19 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 15 0.00 1,950.00
4 ต.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 15 0.00 1,950.00
6 ธ.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 15 0.00 1,950.00
28 ธ.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 15 0.00 1,950.00
2 งบสนับสนุนบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 26 10,000.00 14 10,000.00
11 พ.ค. 66 เปิดบัญชีกรุงไทย 3 736.00 736.00
6 - 7 มิ.ย. 66 เวทีปฐมนิเทศน์และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 3 1,536.00 1,536.00
6 มิ.ย. 66 จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ 0 675.00 675.00
6 มิ.ย. 66 ค่าจัดป้ายบันไดผลลัพธ์ 0 400.00 400.00
19 ก.ค. 66 ประชุมทำความเข้าใจเอกสารการเงินกับพี่เลี้ยง 3 336.00 336.00
21 ส.ค. 66 ค่าตราปั้มหมึกในตัว 1 535.00 535.00
24 ก.ย. 66 ประชุมแลก การติดตามผลลัพธ์ 2 616.00 616.00
24 ก.ย. 66 เบิกเงินสนับสนุนงวงที่1 2 616.00 616.00
25 ก.ย. 66 ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้รับทุนครั้งที่ 1 3 376.00 376.00
1 ม.ค. 67 ค่าไวนิลเแสดงโครงการ พร้อมขาตั้ง 0 750.00 750.00
9 ม.ค. 67 เบิกเงินสนับสนุนครั้งที่2 2 616.00 616.00
15 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปนำเสนอโครงการ 4 681.00 681.00
17 ม.ค. 67 ค่าพาหะนะเดินทางพบกองเลขาตรวจเอกสารรายงาน 3 376.00 376.00
25 ม.ค. 67 ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 0 1,751.00 1,751.00
3 ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 33 0.00 4 0.00
5 มิ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 1 คลีแผนงานโครงการฯ เพื่อติดตามการเรียนรู้และพัฒนา 3 0.00 0.00
5 ก.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 ติดตามผลลัพธ์ 15 0.00 0.00
28 พ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 3 หน่วยจัดการแผนร่วมทุน ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการ 15 0.00 0.00
15 ม.ค. 67 ARE ครั้งที่ 4 สรุปผลงานการดำเนินงาน 0 0.00 0.00
4 ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 16,000.00 1 16,000.00
21 ส.ค. 66 ชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย 100 16,000.00 16,000.00
5 เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 5,400.00 1 5,400.00
4 ก.ย. 66 เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง 15 5,400.00 5,400.00
6 เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 1,900.00 1 1,900.00
15 ก.ย. 66 เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง 15 1,900.00 1,900.00
7 อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 7,800.00 1 7,800.00
18 ก.ย. 66 ให้ความรู้ผู้ประกอบการ 30 7,800.00 7,800.00
8 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 11,300.00 1 11,300.00
22 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง 50 11,300.00 11,300.00
9 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 7,200.00 1 7,200.00
21 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย 30 7,200.00 7,200.00
10 รณรงค์ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 4,000.00 1 4,000.00
10 ต.ค. 66 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ 20 4,000.00 4,000.00
11 ประชุทวางแผนการลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 2,100.00 1 2,100.00
1 - 3 พ.ย. 66 ประชุมวางแผนลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย 15 2,100.00 2,100.00
12 การติดตาม 4 กลุ่มเป้าหมาย(จำนวน 3 ครั้ง) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 45 7,200.00 3 7,200.00
7 พ.ย. 66 ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD) ครั้งที่ 1 15 2,400.00 2,400.00
6 ธ.ค. 66 ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 2 15 2,400.00 2,400.00
22 ธ.ค. 66 ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 3 15 2,400.00 2,400.00
13 จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 13,450.00 1 13,450.00
1 - 6 ธ.ค. 66 จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย 50 13,450.00 13,450.00
14 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 1,950.00 1 1,950.00
12 ธ.ค. 66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล 15 1,950.00 1,950.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 571.90
24 ม.ค. 67 จ่ายดอกเบีียคืนกองคลัง 0 0.00 71.90
25 ม.ค. 67 ถอนเงินเปิดบัญชี 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการ
    1.1 ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคมากกว่าเดิม 1.2 แกนนำชุมชนจับจ่ายใช้สอยอย่างปลอดภัยและใช้ยาสมเหตุสมผล 1.3 นักเรียนที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
  2. เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
    จะมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลสุขภาพของกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งเป้าหมายคือให้ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เข้าถึงได้อย่างปลอดภัย
  3. ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการและชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้ อย่างไร แนวทางดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่องต่อไป เมื่อสิ้นสุดโครงการดังนี้
  4. สร้างแกนนำนักเรียนให้เกิดความขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภค มุ่งให้เกิดประโยขน์ต่อโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน
  5. ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหาร สามารถเลือกและพิจารณาผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
  6. ทำให้เกิดโรคจากการรับประทานอาหารลดลง เกิดภาวะสุขภาวะที่ดีขึ้น ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:51 น.