directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ”

หมู่บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมารีแย ดุลลาเตะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล

ที่อยู่ หมู่บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-020 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-020 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,730.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนหมู่ 3 บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เป็นชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามทั้งหมด อาชีพหลักของชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ เช่นทำนา กรีดยาง ชุมชนบ้านฮูแตกอแลมีครัวเรือนทั้งสิ้น 133 ครัวเรือน และประชากรทั้งหมด 689 คน แบ่งเป็นชาย 357 คน หญิง 332 โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุ 69 คน และร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสุขภาพ รวมทั้งคนในชุมชนจะไม่มีความรู้ไม่มีทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย จากการสังเกตการดำเนินการจัดทำกิจกรรมในพื้นที่ชุมชนบ้าน ฮูแตกอแล เช่น การจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อสำรวจความต้องการของชาวบ้าน ,การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่เห็นได้ว่าผู้สูงอายุจะเป็นแกนหลักในการเข้าร่วมดำเนินงานทุกครั้ง จึงสรุปได้ว่าผู้สูงอายุในชุมชนเป็นกำลังหลักของชุมชน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้าน ปัญหาที่เกิดในพื้นที่หมู่3 บ้านเตราะบอนจากที่ประชุมร่วมหารือกับชาวบ้าน ได้ผลว่าชุมชนที่อยู่ในจังหวัดชายแดนใต้ที่มีปัญหาด้านความมั่นคงและมีประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซียที่ได้ค่าแรงสูงกว่าทำให้วัยแรงงานเลือกที่จะออกจากพื้นที่ เพื่อไปทำงาน จึงให้กลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ถูกทอดทิ้งอยู่อย่างโดดเดี่ยว เกิดพฤติกรรมส่วนบุคคลในทางลบ เช่น ไม่เข้าสังคม ขาดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาวะของตนเองทั้งเรื่องการอุปโภคบริโภค การออกกำลังกาย การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ขาดการป้องกันโรคและขาดการดูแลโรคที่จะตามมารวมทั้งวัยผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งการเสื่อมโทรมด้านร่างกาย เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน เบาหวาน อีกทั้งปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ความมั่นคงทางการเงินและด้วยสภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ขาดผู้ดูแลในครอบครัว ขาดความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ขาดแกนนำและการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมหรือวางแผนการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุได้ โดยปัญหาจากการไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ ดำเนินการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบคือกลไกสำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุจำนวน 69 คนป่วยเรื้อรังจากโรคความดัน...26.....คน ป่วยจากโรคเบาหวาน...3....คน ความดันและเบาหวานทั้งหมด 6 คน (ที่มาข้อมูล : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเตราะบอน) ด้วยภาวะร่างกายเสื่อมโทรมข้อเข่าเสื่อม เคลื่อนที่ไม่คล่องตัว ทำให้ผู้สูงอายุเป็นภาระของครอบครัวและสังคม ด้วยอาชีพหลักของคนในชุมชน และกลุ่มวัยแรงงานที่ต้องออกไปหางานทำไกลบ้าน ทำให้เหลือกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว ขาดความอบอุ่นในครอบครัว และอาจถูกทอดทิ้งไว้เพียงลำพัง มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตไม่เหมาะสม อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจอีกด้วย กล่าวคือ ผู้สูงอายุที่เกษียณงานแล้วไม่มีรายได้ กำลังแรงน้อยลง  จึงต้องให้ผู้ที่อยู่วัยแรงงานต้องทำงานมากขึ้น และรับภาระดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ด้วยภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ค่าครองชีพสูงทำให้การออมลดลง ลงทุนน้อยลง การเงินฝืดไม่พอกับรายจ่ายตลอดจนต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาพยาบาลเพิ่มอีกด้วย จากสภาพปัญหาและผลกระทบที่กล่าวมา ทำให้ทราบถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นแกนหลักในการพัฒนาชุมชน กลุ่มแกนนำชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านฮูแตกอแล ต.เตราะบอน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังไม่มีกลุ่มแกนนำหรือชมรมผู้สูงอายุที่สามารถบริหารจัดการเองได้ จึงอยากให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยมีการดำเนินโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ผ่านการสร้างกระบวนการที่มีส่วนร่วมในชุมชน เช่น การจัดตั้งสภาชมรมผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดแผนขับเคลื่อนกิจกรรม เกิดการเรียนรู้ทักษะและกิจกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยกิจกรรมและความรู้ต่างๆจัดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุและมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้กัน เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชน และ เพื่อให้ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างเมาะสม เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคมและไม่เป็นภาระทางสังคมและครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างกลไกแกนนำและชมรมผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
  2. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน
  2. กิจกรรมถอดบทเรียน
  3. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ
  4. สนับสนุนงานบริหารจัดกาาร
  5. ARE กับ พี่เลี้ยง
  6. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข
  7. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ
  8. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน
  9. แข็งแรงด้วยไม้พลอง
  10. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน
  11. กิจกรรมนวดผ่อนคลาย
  12. กิจกรรมสันทนาการ
  13. ถอนเงินเปิดบัญชี
  14. ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ
  15. อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน
  16. ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  17. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 1
  18. ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ
  19. ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์
  20. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่
  21. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1
  22. ค่าพาหนะเดินทางไปเบิกเงินที่ธนาคารกรุงไทย สาขา บิิ๊กซีปัตตานี
  23. ค่าพาหนะเดินทางไปทำธุรกรรมการเงินที่ธนาคารกรุงไทย
  24. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 1
  25. ปั้มตรายางชื่อโครงการและเลขที่โครงการ
  26. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2
  27. ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  28. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 2
  29. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ
  30. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566
  31. กิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลาย
  32. แข็งแรงด้วยไม้พลอง
  33. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 1
  34. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน
  35. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 2
  36. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 2
  37. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 3
  38. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 3
  39. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 3
  40. ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  41. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 4
  42. กิจกรรมสันทนาการ
  43. ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  44. กิจกรรมถอดบทเรียน
  45. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3
  46. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2566
  47. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบความก้าวหน้าออนไลน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 69
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้เสี่ยงจากโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มเป้าหมายรองกลุ่มผู้มีอายุ 50-55 ปี 21
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดบ้าน 20
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดสังคม 49

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2 ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ 3 เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพผู้สูงอายุอย่างสม่ำเสมอ 4 ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี 5 เมื่อโครงการแล้วเสร็จหรือเมื่อทุนของ สสส.ทางแกนนำรับรองว่าจะมีกิจกรรมต่อเนื่องเพราะกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุโดยเฉพาะกิจกรรมการเรียนรู้อัลกุรอาน จะมีการจัดทุกๆเดือน 6 โครงการนี้สามารถทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนแม้ต่างวัย และ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคมและไม่เป็นภาระทางสังคมและครอบครัวเมื่อมีกิจกรรมอื่นเพิ่มผู้สูงอายุสามารถให้ความร่วมมือ อีกทั้งยังทำให้ส่งผลต่อสุขภาพร่างแข็งแรงลดภาระการเป็นโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานที่อบรมปฐมนิเทศและพัฒนศักยภาพผู้รับทุน มีควมรู้ควมเข้าใจเรื่งกาารจัดทำรายงานในระบบ การใช้โปรแกรมคนสร้างสุข (Happynetwork)และการเงินในเสต็ป

 

0 0

2. ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งรายละเอียดให้ทางร้านปริ้นไวนิล ขนาด 2*1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายโครงกาาร ไวนิล 2*1 มา1 ชิ้นพร้อมใบเสร็จรับเงินสมบูรณ์

 

0 0

3. ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งรายละเอียด เอกสาร หัวข้อบรรไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายบรรไดผลลัพท์

 

0 0

4. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายไวนิลเขตปลอดบุหรี่ 2 ชิ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิลเขตปลอดบุหรี่ 2 ชิ้น

 

0 0

5. ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีนี้ผูํ้รับทุนเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมอย่างท่องแท้ ผู้รับทุนเข้าใน และสสามารปฏิบัติคีย์ข้อมูลลงระบบอย่างสมบูรณ์

 

10 0

6. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 1

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประธานโครงการชี้แจงรายละเอียดของโครงการ -แต่งตั้งและขออนุมัติคณะทำงานและโครงสร้างกาารบริหารโครงการ -ร่างแผนการดำเนินงาน -กำหนดวันประชุมร่วมแกนนำสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-คณะสภามีความเข้าใจ ในหลักการและเตุผลของโครงการ -เกิดโครงสร้างสภาทีหลักหลาย เช่น คณะสภาชุมชน ตัวแทนกลุ่มสตรี ตัวแทนกลุุ่มอสม. ตัวแทนกลุุ่มอพม. ตัวแทนกลุุ่มแม่บ้าน -คณะสภาทุกกคนให้ความร่วมมือในการวางแผนดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล -ลงมติกำหนดกิจกรรมครั้งต่อไป รายงานการประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการโครงการ ครั้งที่...1..../...2566... เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2566

ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล หมุ่ที่ 3 ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ผู้เข้าร่วมประชุมประชุม
1. นายอับดุลเราะห์มัน หะยีมูดอ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน 2. นายซาการียา ซิโมง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3. นายมะรอมลี มะยะเด็ง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4. นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 5. นางสาวอาอีเซาะ นิติเมาะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 6. นางสาวยาวาเฮ สาแมง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 7. นางสาวซีย๊ะ เจะมะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 8. นางสาวนูรอัสมะ หะยีมูดอ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 9. นางมารีเยาะ ดารามะ สมาชิกกลุ่มสตรีในหมู่บ้าน 10. นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เริ่มประชุมเวลา…09.30 – 12.00.น. ประธานกล่าวเปิดการประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระ ดังนี้
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
1. ชี้แจงโครงการ
1.1 ความเป็นมาของโครงการที่ได้รับทุนจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นทีจังหวัดปัตตานีซึ่งได้รับเงินสนับสนุนโครงการ จำนวน 99,730 บาทภายใต้เงื่อนไขที่ต้องดำเนินกิจกรรมทั้งหมด 10 กิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด เริ่มตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ตามแผนดำเนินงานดังนี้


1.2 งบประมาณที่ได้รับจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นทีจังหวัดปัตตานี ได้รับจำนวน 99,730 บาท โดยมีการเข้าบัญชีผู้รับทุนตามงวดรายงาน งวดที่ 1 79,784.00
งวดที่ 2 14,946.00 งวดที่ 3 5,000

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
ไม่มีรายงานการประชุม เป็นการประชุมครั้งแรก

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
3.1 ขอเบิกงบสนับสนุนในการดำเนินงานจากแผนโครงการ จำนวนเงิน 10,500 บาท กิจกรรมที่ 1 ประชุมทีมหรือแกนนำคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จำนวนเงิน 300 บาท กิจกรรมที่ 2 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุครั้งที่ 1 จำนวนเงิน 4,660 บาท ค่าปริ้นไวนิล ป้ายโครงการ ป้ายบันไดผลลัพธ์ จำนวนเงิน 1,720 บาท ค่าพาหนะเดินทางไปเปิดบัญชีโครงการ จำนวนเงิน 456 บาท ค่าพาหนะเดินทางไปเบิกเงิน จำนวนเงิน 456 บาท ค่าเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ARE ครั้งที่1 จำนวนเงิน 1,600 บาท รวมรายการจ่ายในครั้งแรก 9,132 บาท
มติที่ประชุม........รับทราบและอนุมัติ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องพิจารณา 4.1 รับอาสาสมัครคณะทำงานและแต่งตั้งคณะทำงานดังนี้ ประกาศแต่งตั้งคณะบริหารโครงการ/บทบาทหน้าที่คณะกรรมการโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. นายอับดุลเราะห์มัน หะยีมูดอ แต่งตั้งให้เป็นประธานโครงการ
2. นายซาการียา ซิโมง แต่งตั้งให้เป็นประสานงานภายใน 3. นายมะรอมลี มะยะเด็ง แต่งตั้งให้เป็นกรรมการ 4. นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ แต่งตั้งให้เป็นรองประธาน 5. นางสาวอาอีเซาะ นิติเมาะ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการ 6. นางสาวยาวาเฮ สาแมง แต่งตั้งให้เป็นประชาสัมพันธ์ 7. นางสาวซีย๊ะ เจะมะ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการ 8. นางสาวนูรอัสมะ หะยีมูดอ แต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 9. นางมารีเยาะ ดารามะ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการ 10. นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ แต่งตั้งให้เป็นเลขานุการ มติที่ประชุม: เห็นควรอนุมัติ


ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
นัดหมายการประชุมครั้งที่ 2/2566 (วันที่ 04 กันยายน 2566 เวลา 08.30น.-12.00น.) เลิกประชุมเวลา....12.30...... น.

 

10 0

7. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแยดุลลาเตะ ได้ดำเนินการรับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและได้เชิญวิทยากรให้ความรู้ความสสำคัญของาารดูแลผู้สูงอายุ เมื่อววันที่ 22 เดือนมิถุนายน 2566 ณอาคารอเนกประสงค์หมู่บ้นฮูแตกอแล กลุ่มเป้าหมายสมาชิที่ได้ 20 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกชมรมผุุ้งอาายุมีความรู้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงมีการกลับไปเชิญชวนให้สมัครชมรม และ รวมกันก่อตั้งชมรมให้มีโครงสร้างและแผนการำเนินงานอย่างชัดเจน

 

30 0

8. ค่าพาหนะเดินทางไปเปิดบัญชีที่ธนาคารกรุงไทย สาขา บิิ๊กซีปัตตานี

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเดินทาางไปเปิดบัญชี ไปกลับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบัญชีโครงการธนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี (ไป-กลับ)

 

0 0

9. ค่าพาหนะเดินทางไปทำธุรกรรมการเงินที่ธนาคารกรุงไทย

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ได้ดำเนินวางแผนการใช้จ่าย และได้มอบหมายให้นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ 1 ใน ชื่อบัญชี ร่วมทำการเบิกเงินที่ธนาคารกรุงไทยสาขาบิ๊กซี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางสาวมารีแย  ดุลลาเตะ และ นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ ได้้ดำเนินการเบิกเงิน จำนวน 10,500 บาท

 

0 0

10. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 1

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาว มารีแย  ดุลลาเตะ ได้ดำเนนิการจัดกิจกรรม สุขภาพดี ชีวิตมีสุข วันที่ 27/7/2566
ณ อาคารอเนกประสงค์ บ้านฮูแตกอแล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน ซึ่งมีการประกาศเสียงตามสายและประชาสัมพันธ์ตามบ้านผู้สูงอายุ เชิญวิทยากร และได้ตัวแทนวิทยากรจากสมาคมสตรีไทยมุสลิมปัตตานี ร่วมรับฟังการจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตให้มีสุขภาพดีอย่างมีความสุขและไม่มีแรงกดดัน ร่วมการอ่านกุรอานที่ถูกต้องและอถาธิบายความหมายแต่ละอายัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตให้มีสุขภาพดีอย่างมีความสุขและไม่มีแรงกดดัน
ผู้สูงอายุมีความผ่อนคลายได้ออกมาร่วมกิจกรรมนอกบ้าน ผู้สูงอายุได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอัลกุรอาน ผู้สูงอายุอ่านอัลกุรอานได้ถูกต้องมากขึ้น

 

30 0

11. ปั้มตรายางชื่อโครงการและเลขที่โครงการ

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ทางร้านในเมืองปัตตานีผลิตให้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ปั้มตรายางชื่อโครงการ 1 ได้ปั้มตรายางเลขที่โครงการ 1

 

0 0

12. ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 27 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กระบวนการเตรียมพี่เลี้ยงและคณะทำงานโครงการ

  1. การเตรียมพื้นที่ ก่อนลงพื้นที่ควรมีการเตรียมพื้นที่ล่วงหน้า  โดยมีประเด็นในการเตรียม ควรประกอบด้วย 1.1) นัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ซึ่งควรประกอบด้วย คณะทำงาน ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายของ
      โครงการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รวมทั้งหมดควรอยู่ระหว่าง 10-15 คน
    1.2) เตรียมประเด็นที่จะต้องรายงาน ให้รายงานความก้าวหน้าตามบันไดผลลัพธ์ 1.3)เตรียมหลักฐานประกอบการรายงานตามบันไดผลลัพธ์ เช่น รายงานการประชุม รายงานความก้าวหน้า หลักฐานประกอบความก้าวหน้าอื่น ๆ เช่น ข้อตกลงของชุมชนมีกี่ข้ออะไรบ้าง ข้อมูลที่มีการสำรวจ บันทึกต่าง ๆ เช่น บันทึกการออกกำลังกาย เป็นต้น (พี่เลี้ยงต้องไปถอดจากตัวโครงการที่เขียนไว้แล้วว่ามีหลักฐานอะไรบ้างที่จะต้องแสดง ถ้าไม่มีหลักฐานพี่เลี้ยงต้องตีความสรุปโดยดูจากองค์ประกอบอื่น ๆ ว่าได้ทำจริงหรือไม่) และอาจเตรียมพื้นที่เพื่อให้พี่เลี้ยงไปดู ถ่ายภาพ สัมภาษณ์ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย การใช้ประโยชน์จากขยะ  เป็นต้น 1.4) เตรียมหลักฐาน/รายงานด้านการเงิน
    1.5) เตรียมรายงานตามแบบฟอร์ม ส.1 ที่ชุมชนจะต้องรายงานในระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 1.6) เตรียมกระบวนการ เช่น จะเริ่มกี่โมง ขั้นตอนเป็นอย่างไร ไม่ควรมีการต้อนรับหรือพิธีการใด ๆ เพราะจะทำให้เสียเวลา โดยพยามเน้นย้ำเรื่องการติดตามเพื่อการพัฒนา ไม่ใช่เพื่อการตรวจสอบเพื่อให้เกิดการเสนอความจริงและสะท้อนกลับเพื่อการพัฒนา
  2. ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม 2.1) พี่เลี้ยงจะต้องทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ตั้งคำถาม และกระตุ้นเป็นหลัก 2.2) เริ่มจากการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์การติดตามสนับสนุน และประโยชน์ที่จะได้รับ 2.3) ดำเนินการตามขั้นตอน 2.4)การสะท้อนผลลัพธ์ ให้เปรียบเทียบข้อมูลก่อนหลังการดำเนินงาน และมีหลักฐาน ชี้วัดความสำเร็จ พี่เลี้ยงช่วยกระตุ้น
    2.5) ให้ชุมชนประเมินตัวเองว่าถ้าให้ 10 คะแนน ให้คะแนนเท่าไหร่ เพราะอะไร จะทำอย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม 2.6) ขอดูรายงานการเงิน และรายงาน ส.1 และควรดูรูปธรรมจากการดำเนินโครงการ และบันทึกภาพ 2.7) สรุปและให้คำแนะนำในตอนท้ายของการประชุมอย่างสร้างสรรค์ เป็นลักษณะเชิงบวกและเสริมกำลังใจ นัดหมายแผนงานต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

☒.1 มีคณะกรรมการกลุ่ม 20 คน และมีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน -โครงสร้างคณะทำงาน 10 คน ที่มีความหลากหลาย เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม. อพม. กลุ่มสตรี กลุ่มแม่บ้าน และที่ปรึกษาจาก รพสต. 1 คน มีการจัดทำโครงสร้างและแบ่งบทบาทหน้าที่ ดังนี้ ประธาน รองประธาน เลขา ฝ่ายประสานงาน เป็นต้น ☒. 2.เกิดชมรมผู้สูงอายุ 1 ชมรม มีสมาชิก 40คน .มีโครงสร้างและคณะทำงานที่ชัดแจน และแบ่งบทบาทหน้าที่ ☒. 3 เกิดแผนขับเคลื่อนกิจกรรมของชมรม -คณะทำงานร่วมกับพี่เลี้ยงจัดทำแผนการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มโครงการ สิ้นสุดโครงการ (พค66ถึงกพ67)จากเวทีปฐมนิเทศ พัฒนาศักยภาพและคลี่แผนงานare1 ☒. เกิดกติกาชุมชนที่เป็นที่ยอมรับ มีทั้งหมด  7ข้อ 1.มีโครงสร้างและคณะทำงานที่ชัดแจน และแบ่งบทบาทหน้าที่ 2.ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 3.คณะทำงานจะต้องเป็นแกนนำต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แก่กลุ่มเป้าหมายที่เราร่วมโครงการ 4.แบ่งโซนรับผิดชอบในการติดตามกาปรับเปลี่ยนของกลุ่มเป้าหมาย 5.คณะทำงานจะต้องติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการออกกำลังกาย ของกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน 6.มีข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ 7.แกนนำมีการออกกำลังกายสัปดาห์ละ3วันๆละ30นาที

 

30 0

13. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางพารีดะ ตีมุง ประธานชมรมผู้สูงอายุเรียกสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมาประชุมสภา วันที่ 14 กันยายน 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้าานฮูแตกอแล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 20 คน เพื่อให้เครื่องมือและวิธีการเก็บบันทึกการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการออกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้วิธีการเก็บบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ชมรมผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มกันบ่อยขึ้น คณะกรรมกาชมรมผู้สูงอายุสามารถเรียนรู้จากิจกรรมที่ดำเนินกาาร คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุสามารถหาปัญหา และสาเหตุ และร่วมกันแก้ไขปัญหาด้วยกันได้ ชมรมผู้สูงอายุสสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมได้สำเร็จ

 

0 0

14. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 2

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุมถึง ผู้ใหญ่บ้าน,คณะสภาชุมชน,คณะทำงาน และได้มอบหมายให้ฝ่ายที่รับผิดชอบ เตรียมใบลงทะเบียน เตรียมวาระประชุมและเอกสาารประกอบการประชุม เตรียมอาหารว่าง เตรียมพร้อมสถานที่ เพื่อจัดประชุมทีมแกนนำ ในวันที่ 14/9/66 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านฮูแตกอแล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 10 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 10 คน คณะกรรมการเสนอ ผลกิจกรรมที่ผ่านมา เสนอปัญหาและร่วมหาวิธีแก้ สรุปยอดเงินที่ใช้ไปและยอดเงินคงเหลือ กำหนดกิจกรรมครั้งต่อไป ผู้มาประชุม
1. นายอับดุลเราะห์มัน หะยีมูดอ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน 2. นายซาการียา ซิโมง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3. นายมะรอมลี มะยะเด็ง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4. นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 5. นางสาวอาอีเซาะ นิติเมาะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 6. นางสาวยาวาเฮ สาแมง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 7. นางสาวซีย๊ะ เจะมะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 8. นางสาวนูรอัสมะ หะยีมูดอ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 9. นางมารีเยาะ ดารามะ สมาชิกกลุ่มสตรีในหมู่บ้าน 10. นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เริ่มประชุมเวลา…09.00 น. ประธานกล่าวเปิดการประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระ ดังนี้
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
เนื่องจากมีการติดตามผลกิจกรรมของโครงการโดยพี้เลี้ยง พบว่า ปัญหาการเบิกจ่ายเงินยังไม่ตรงตามแผนงานร่วมทุนกำหนดไว้ โดยจะมีการเบิกจ่ายและเงินสดในมือติดลบ (เนื่องจากมีการทดรองจ่ายกันไปก่อน)ซึ่งผิดหลัก จึงต้องร่วมแก้ปัญหานี้ด้วยกัน ผู้รับผิดชอบโครงการมีมติว่า ให้วางแผนการทำกิจกรรมใหม่ ให้เป็นไปตามงบการเงินที่แผนงานร่วมทุนกำหนด และเบิกเงินมาคืนเงินทดรองจ่ายและให้เหลือเงินสดย่อยในมือ ไม่เกิน 5,000 บาทต่อครั้ง ที่ประชุม รับทราบ 4.1 อนุมัติแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 4.1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ 10,300 บาท 4.1.2 กิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลาย 7,770 บาท 4.1.3 แข็งแรงด้วยไม้พลอง 16,400 บาท 4.2 ขออนุมัติการใช้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมตามแผนแล้ว 4.2.1 ค่าปั้มตรายาง (ปั้มชื่อแผนงานร่วมทุนฯ 4.2.2 กิจกรรมสุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 1 ค่าใช้จ่าย 3,600 บาท 4.3 การประชาสัมพันธ์โครงการ มติที่ประชุม ควรมีคู่มือ รูปภาพประกอบกิจกรรม แจกให้กับผู้เข้าร่วมและผู้สนใจทั่วไป

 

0 0

15. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ
กิจกรรม....อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านฮูแตกอแล หมู่ที่3 ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

เปิดลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการ เชิญวิทยากรจาก รพ.สต.มาอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน(สำหรับผู้สูงอายุ) สอบถามพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ด้าน(การออกำลังกาย)การขยับกายการดูแลสุขภาพและการเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ
ผลผลิตที่ได้ ... ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุมีความรู้มีทักษะการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง

 

0 0

16. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 2

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ได้ดำเนินจัดกิจกรรมสุขภาพดี ชีวิตมีสุข ชุมชนบ้านฮูแตกอแล หมู่ที่3 ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ภายใต้โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
วันที่ ....29...เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล... โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน และได้มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ เตรียมอาคารสถานที่ เตรียมอาหาร และประสานวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วม ผู้เข้าร่วมอบบรมสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้ กิจกรรมนี้ได้ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์

 

0 0

17. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามประเมินเพี่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) วันที่ 3 กันยายน 2566 ตั้งแต่เวลา 08.30-15.00 น. ณ. ชุมชนบ้านดอนรัก อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

09.00 – 10.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม 10.00 – 10.30 น.  เปิดการประชุม ....โดย ผู้รับผิดชอบโครงการฯ                 -ชี้แจงวัตถุประสงค์                 -แนะนำผู้เข้าร่วม                 -แนะนำบทบาทหน้าทีทีมงานในการARE (ใครนำ ใครจดบันทึก ใครเขียนบนกระดาษ) 10.30 – 11.00น.  พี่เลี้ยงอธิบายขั้นตอนและกระบวนการ ARE...โดยพี่เลี้ยง โดยพี่เลี้ยง คุณกัลยา เอี่ยวสกุล                 -ทบทวนบันไดผลผลัพธ์/กำหนดประเด็นการติดตาม (พร้อมรับอาหารว่าง) 11.00 – 12.00 น.    ทีมงานโครงการฯ - นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการฯที่ผ่านมา
12.00 - 13.30 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน/ละหมาด 13.30 – 14.00 น.  แลกเปลี่ยน/สะท้อนผล/ตัวชี้วัดการดำเนินงานโครงการฯ
14.00 - 15.00 น.    ร่วมกันประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และร่วมวางแผนการดำเนินงานต่อไป 15.00          ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดการ พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามประเมินเพี่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) วันที่  3 กันยายน 2566 ตั้งแต่เวลา 08.30-15.00 น. ณ. ชุมชนบ้านดอนรัก  อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

09.00 – 10.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม 10.00 – 10.30 น.    เปิดการประชุม ....โดย ผู้รับผิดชอบโครงการฯ                               -ชี้แจงวัตถุประสงค์                               -แนะนำผู้เข้าร่วม                               -แนะนำบทบาทหน้าทีทีมงานในการARE (ใครนำ ใครจดบันทึก ใครเขียนบนกระดาษ) 10.30 – 11.00น.    พี่เลี้ยงอธิบายขั้นตอนและกระบวนการ ARE...โดยพี่เลี้ยง โดยพี่เลี้ยง คุณกัลยา เอี่ยวสกุล                               -ทบทวนบันไดผลผลัพธ์/กำหนดประเด็นการติดตาม (พร้อมรับอาหารว่าง) 11.00 – 12.00 น.        ทีมงานโครงการฯ - นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการฯที่ผ่านมา
12.00 - 13.30 น.    พักรับประทานอาหารกลางวัน/ละหมาด 13.30 – 14.00 น.    แลกเปลี่ยน/สะท้อนผล/ตัวชี้วัดการดำเนินงานโครงการฯ
14.00 -  15.00 น.        ร่วมกันประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และร่วมวางแผนการดำเนินงานต่อไป 15.00                  ปิดการประชุม

 

0 0

18. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 1

วันที่ 5 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกชมรมและคณะสภาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ รวมกลุ่ม ณ บ้านผู้ใหญ่บ้านเพื่อเยี่ยมบ้านในแต่ละโซน ลงทะเบียนคณะเยี่ยมบ้าน เตรียมอาหารว่าง,เครื่องดื่มและ อาหารกลางวันให้กับคณะเยี่ยมบ้าน คัดกรองรายชื่อผู้สูงอายุแต่ละโซนนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกชมรมและคณะสภามีการเยี่ยมบ้านผู้สูงในชุมชน จำนวน 25 คน
เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 10 คน เกิดการสำรวจกิจกรรมกาารขยับกาย สภาพแวดล้อมในบ้าน และสอบถามเรื่องอาหารการกิน ผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนกิจกรรมการออกกำลังกาย และการจัดการเรื่องอาหารการกิน

 

20 0

19. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน

วันที่ 12 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาพี่เลี้ยง รพ.สต.เรื่องการดำเนินโครงการและวิทยากรที่จะให้ความรู้ รวมทั้งกำหนดวันเวลาใหม่เนื่องจากเลยเวลาตามแผนมาแล้ว ประสานคณะทำงานทางไลน์กลุ่มและติดตามงานที่ได้รับมอบหมาย ฝ่ายสถาานที่ ฝ่ายสวัสดิการและอาหาร ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ทำหนังสือเชิญวิทยากร ทำหนังสือเชิญผู้เข้าร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วิทยากรจาก รพ.สต.เตราะบอน มาให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน
• ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ • เกิดการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ • เกิดการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารที่เหมาะสมในกลุ่มผู้สูงอายุ • เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้าน • เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ

 

100 0

20. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 2

วันที่ 20 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและคณะแกนนำสภาร่วมกันเยี่ยมเยียนบ้านผู้สูงอายุ รวมตัวกันลงทะเบียน ณ ลานอาคารอเนกประสงค์ คัดกรองรายชื่อผู้สูงอายุที่จะไปเยี่ยม เตรียมอาหารว่างและอาหารเที่ยง เตรียมสมุดและเอกสารสำรวจผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำรวจผู้สูงอายุ

 

0 0

21. ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 3

วันที่ 26 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ได้จัดทำหนังสือเชิญคณะสภามาร่วมประชุม วันที่ 26/10/66 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านฮูแตกอแล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 10 คน และแจกแจงให้ผู้รับผิดชอบเตรียมใบลงทะเบียน อาคาารสถานที่ อาหารว่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตามผลลัพธ์จากกิจกรรมที่ได้ดำเนินการมาแล้ว สรุปข้อมูลกิจกรรมภายใต้ประเด็นผู้สูงอายุในชุมชน วางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

0 0

22. กิจกรรมสันทนาการ

วันที่ 27 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมสภาชุมชนและสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ เพื่อเลือกผู้สูงอายุต้นแบบ ประกาศเสียงตามสายและแบ่งเขตรับผิดชอบประชาสัมพันธ์เรื่องการจัดกิจกรรม เตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่ม และ เตรียมอาหารกลางวัน เตรียมอาคารสถานที่ให้พร้อม วันจัดทำกิจกรรม ให้ผู้สูงอายุนั่งและเซ็นชื่อให้เรียบร้อย ประธานกล่าวต้อนรับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจจากต่างพื้นที่ เสนอชื่อผู้สูงอายุที่ผ่านคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้สูงอายุต้นแบบให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุรับทราบและเห็นด้วย กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การจัดการสภาพแวดล้อม ที่ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีและมีความสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• เกิดการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ • เกิดการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารที่เหมาะสมในกลุ่มผู้สูงอายุ • เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้าน • เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ •      ผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิต •      ผู้สูงอายุมีสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ดี • ผู้สูงอายุมีระดับความสุขและมีคุณค่าในตัวเองเพิ่มขึ้น หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม

 

0 0

23. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 3

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกชมรมและคณะสภาเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ รวมกลุ่ม ณ บ้านผู้ใหญ่บ้านเพื่อเยี่ยมบ้านในแต่ละโซน ลงทะเบียนคณะเยี่ยมบ้าน เตรียมอาหารว่าง,เครื่องดื่มและ อาหารกลางวันให้กับคณะเยี่ยมบ้าน คัดกรองรายชื่อผู้สูงอายุแต่ละโซน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกชมรมและคณะสภามีการเยี่ยมบ้านผู้สูงในชุมชน จำนวน 25 คน
เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 10 คน เกิดการสำรวจกิจกรรมกาารขยับกาย สภาพแวดล้อมในบ้าน และสอบถามเรื่องอาหารการกิน ผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนกิจกรรมการออกกำลังกาย และการจัดการเรื่องอาหารการกิน

 

0 0

24. แข็งแรงด้วยไม้พลอง

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาพี่เลี้ยง รพ.สต.เรื่องการดำเนินโครงการและวิทยากรที่จะให้ความรู้และวิธีการออกกำลังกายด้วยไม้พลองที่ถูกต้อง รวมทั้งกำหนดวันเวลาใหม่เนื่องจากเลยเวลาตามแผนมาแล้ว ประสานคณะทำงานทางไลน์กลุ่มและติดตามงานที่ได้รับมอบหมาย ฝ่ายสถาานที่ ฝ่ายสวัสดิการและอาหาร ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ทำหนังสือเชิญวิทยากร ทำหนังสือเชิญผู้เข้าร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรม แข็งแรงด้วยไม้พลอง จัดวันที่15/11/2566 เวลา 09.00 น.-15.00น. จัด ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 30 คน คณะทำงาน 10 คน วิทยากรจาก รพ.สต.เตราะบอน 2 คน (สาธิตการออกกำลังกายด้วยไม้พลองสำหรับผู้สูงอายุ) ชั่วโมงแรกจะเป็นการให้ความรู้เรื่องการออกำลังกาย ชั่วโมงที่ 2 เป็นการสาธิตการออกำลังกาย ผลของการจัดกิจกรรม • เป็นกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ • ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิต • ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ดี • ผู้สูงอายุมีระดับความสุขและมีคุณค่าในตัวเองเพิ่มขึ้น หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม

 

0 0

25. ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 4

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน และ คณะทำงานสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 20 คน รวมกลุ่มกัน ไปเยี่ยมผู้สูงอายุ โซน 4

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานเริ่มทำการประเมิณการออกกำลังกาย พูดคุยแลกเปลียนการบริโภคอาหาร การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเป็นอยู่

 

0 0

26. ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ได้อนุมัติจักิจกรรม การติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE3 เวลา 09.00 -15.00 น. วันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 พบปะคณะทำงานและบรรยายในหัวข้อแผนการดำเนินงานขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม เช่นการเตรียมพื้นที่/ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม/ หลังดำเนินการ โดย นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี บรรยายในหัวข้อ ทบทวนกิจกรรมผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสรุปตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดย นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี.

บรรยายในหัวข้อการประเมินความเสี่ยงและความโดดเด่นของโครงการ
โดยนางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี.
บรรยายในหัวข้อการเบิกจ่ายงบประมาณ/ปัญหา/อุปสรรคใน การดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม โดยนางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี.

แนวทางการติดตามสนับสนุนโครงการย่อยสำหรับแผนร่วมทุนจังหวัด 1. การเตรียมพื้นที่ ก่อนลงพื้นที่ควรมีการเตรียมพื้นที่ล่วงหน้า โดยมีประเด็นในการเตรียม ควรประกอบด้วย 1.1)  นัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ซึ่งควรประกอบด้วย คณะทำงาน ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายของ
โครงการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รวมทั้งหมดควรอยู่ระหว่าง 10-15 คน
1.2)  เตรียมประเด็นที่จะต้องรายงาน ให้รายงานความก้าวหน้าตามบันไดผลลัพธ์ 1.3) เตรียมหลักฐานประกอบการรายงานตามบันไดผลลัพธ์ เช่น รายงานการประชุม รายงานความก้าวหน้า หลักฐานประกอบความก้าวหน้าอื่น ๆ เช่น ข้อตกลงของชุมชนมีกี่ข้ออะไรบ้าง ข้อมูลที่มีการสำรวจ บันทึกต่าง ๆ เช่น บันทึกการออกกำลังกาย เป็นต้น (พี่เลี้ยงต้องไปถอดจากตัวโครงการที่เขียนไว้แล้วว่ามีหลักฐานอะไรบ้างที่จะต้องแสดง ถ้าไม่มีหลักฐานพี่เลี้ยงต้องตีความสรุปโดยดูจากองค์ประกอบอื่น ๆ ว่าได้ทำจริงหรือไม่) และอาจเตรียมพื้นที่เพื่อให้พี่เลี้ยงไปดู ถ่ายภาพ สัมภาษณ์ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย สถานที่รวมกลุ่มของชมรม เป็นต้น 1.4) เตรียมหลักฐาน/รายงานด้านการเงิน
1.5) เตรียมรายงานตามแบบฟอร์ม ส.1 ที่ชุมชนจะต้องรายงานในระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 1.6) เตรียมกระบวนการ เช่น จะเริ่มกี่โมง ขั้นตอนเป็นอย่างไร ไม่ควรมีการต้อนรับหรือพิธีการใด ๆ เพราะจะทำให้เสียเวลา โดยพยามเน้นย้ำเรื่องการติดตามเพื่อการพัฒนา ไม่ใช่เพื่อการตรวจสอบเพื่อให้เกิดการเสนอความจริงและสะท้อนกลับเพื่อการพัฒนา 2. ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม 2.1) ควรมีการจับคู่กันระหว่างพี่เลี้ยง เพื่อช่วยในการจัดกระบวนการ พี่เลี้ยงจะต้องทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ตั้งคำถาม และกระตุ้นเป็นหลัก 2.2) เริ่มจากการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์การติดตามสนับสนุน และประโยชน์ที่จะได้รับ 2.3) ดำเนินการตามขั้นตอน 2.4) การสะท้อนผลลัพธ์ ให้เปรียบเทียบข้อมูลก่อนหลังการดำเนินงาน และมีหลักฐาน ชี้วัดความสำเร็จ พี่เลี้ยงช่วยกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วม
2.5) ให้ชุมชนประเมินตัวเองว่าถ้าให้ 5 คะแนน ให้คะแนนเท่าไหร่ เพราะอะไร จะทำอย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม 2.6) ขอดูรายงานการเงิน และรายงาน ส.1 และควรดูรูปธรรมจากการดำเนินโครงการ และบันทึกภาพ 2.7) สรุปและให้คำแนะนำในตอนท้ายของการประชุมอย่างสร้างสรรค์ เป็นลักษณะเชิงบวกและเสริมกำลังใจ นัดหมายแผนงานต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

☐ เกิดกติกาชุมชนที่เป็นที่ยอมรับ .......มีการประกาศใช้กฎกติกาการขยับกายสำหรับกลุ่มเป้าหมาย คือ 150นาที/สัปดาห์อย่างชัดเจน ☒ เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผน
....... ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะทำงานวางไว้โดยมีใบลงทะเบียนและรูปภาพประกอบกิจกรรมทุกครั้ง ☒ ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุความรู้มีทักษะการดูแลสุขภาวะตนเอง .......ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาวะตนเองได้ ประเมินจากใบประเมินที่คณะทำงานทำการสำรวจผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ☒ ร้อยละ 70ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้มีทักษะการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ ......ร้อยละ 70 ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุได้ ประเมินจากใบประเมินที่คณะทำงานทำการสำรวจผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงกา☐ เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ........ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่คณะทำงานได้ดำเนินการ และสามารถนำกิจกรรมไปทำที่บ้านได้ เช่น กิจกรรมนวดเพื่อผ่อนคลาย กิจกรรมขยับกายด้วยไม้พลองและกิจกรรมเยี่ยมเยียนสามารถไปมาหาสู่กันและหารือเรื่องการขยับกายอย่างเหมาะสม

☒ ผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมและปฏิบัติตามคำแนะนำ.......ผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมที่คณะทำงานได้จัดขึ้นและเข้าร่วมกิจกรรมเป็นประจำและสามารถทำกิจกรรมตามคำแนะนำได้ ร จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ100 (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 50 (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 70 (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 70 (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มีปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้านที่เหมาะสม 70 (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพ 10 (คน)
การเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมของผู้สูงอายุ -ผู้สูงอายุเลือกทานประเภท อาหารอย่างเมาะสม -ผู้สูงอายุรู้จักการขยับกายและทำเป็นประจำ -เมื่อมีการพบปะกันจะมีการพูดคุยเรื่องการขยับกาย เรื่องสุขภาพ -มีการรวมกลุ่มเรียนรู้และพบปันบ่อยขึ้น

 

0 0

27. สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 3

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

..

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

...

 

0 0

28. ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย  ดุลลาเตะ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้อนุมัตให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุประชุมสภาครั้งที่ 3 ภายใต้โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล...

ให้มีการลงทะเบียน
ติดตามผลของการจัดกิกรรมที่ผ่านมา ปัญหา อุปสรรค มีการรับประทานอาหารว่าง ร่วมการนำเสนอออกแบบกิจกรรมต่อไป , มอบหมายหน้าที่รับผิชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการประชุม รายงานการประชุมสมาชิกสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่...3..../...2566... เมื่อวันที่...................................................

ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล หมุ่ที่ 3 ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ผู้มาประชุม
1. นายอับดุลเราะห์มัน หะยีมูดอ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน 2. นายซาการียา ซิโมง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3. นายมะรอมลี มะยะเด็ง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4. นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 5. นางสาวอาอีเซาะ นิติเมาะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 6. นางสาวยาวาเฮ สาแมง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 7. นางสาวซีย๊ะ เจะมะ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 8. นางสาวนูรอัสมะ หะยีมูดอ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 9. นางมารีเยาะ ดารามะ สมาชิกกลุ่มสตรีในหมู่บ้าน 10. นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 11. นางสาวแอเซาะ ซาอิ ประชาสัมพันธ์ 12. นางพารีดะ ตีมุง ประธานชมรม 13. นางสาวอามีเนาะ หะยีมูดอ กรรมการ 14. นางเจะวอ มะยะเด็ง กรรมการ 15. นางสาวมัยมูเนาะ และแย กรรมการ 16. นายอับดุลรอมัน ตีมุง รองประธานชมรม 17. นายสือแลมา ดอเลาะ เลขาฯ 18. นางซารีป๊ะ เจะมะ กรรมการ 19. นายมะยาซิ ตือเงาะ กรรมการ 20. นางสาวรอซีเย๊าะ ดามะ กรรมการ 21. นางนูรอัยนีย์ สมาน กรรมการ 22. นายอับดุลลาเตะ และแย กรรมการ 23. นายมะแอ ซิโมง กรรมการ 24. นายอาแว อาลี กรรมการ 25. นางมุณี ยาลา กรรมการ 26. นายปะจู ดอเลาะ กรรมการ 27. นางแมะงอ ดอเลาะ กรรมการ 28. นายดอรอแม มะยะเด็ง รองประธานชมรม 29. นายอับดุลกอเดร์ หะยีอาลี กรรมการ 30. นางรอบีเยาะ มะยะเด็ง กรรมการ


เริ่มประชุมเวลา…09.00 น. ประธานกล่าวเปิดการประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระ ดังนี้
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
มติ ทุกคนรับทราบ

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ให้ทุกคนบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึกให้เรียบร้อย ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องพิจารณา 4.1 อนุมัติแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ มติที่ประชุม เห็นชอบ 4.2 พิจารณา แผนงานกิจกรรมใหม่ มติที่ประชุม เห็นชอบ

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
ไม่มีข้อเสนอเพิ่มเติม เลิกประชุมเวลา....12.00...... น.

 

0 0

29. กิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลาย

วันที่ 7 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย  ดุลลาเตะ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลายด้วยตัวเองในท่าที่ง่ายเหมาะสมกับวัยและถูกวิธี ด้วยน้ำมันนวดเพื่อสุขภาพ ชุมชนบ้านฮูแตกอแล หมู่ที่3 ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ภายใต้โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
วันที่ 28 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล... และได้มีการเชิญวิทยากร จากโรงพยาบาลยุพราชสายบุรี เพื่อใ้ความรุ้กับผุ้เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีกลลุ่มเป้าหมาย 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องกาารผลิตน้ำมันนวดด้วยตัวเอง ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการนวดด้วยตัวเอง และ สามารถทำการนวดอย่างเหมาะสม

 

0 0

30. กิจกรรมถอดบทเรียน

วันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ เชิญคณะสภาแกนนำชุมชน และ คณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรม ถอดบทเรียน วันที่  25 เดือนธันวาคม 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล... โดยให้มีการลงทะเบียน
เชิญประธานเปิดกิจกรรม

ติดตามและประเมิณผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา ( ปัญหา อุปสรรค ) เพื่อสะท้อนผลลัพท์กิจกรรมที่ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี วันที่ 28 ธันวาคม 2566 ชุมชนหมู่ 3 บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เป็นชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามทั้งหมด อาชีพหลักของชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ เช่นทำนา กรีดยาง ชุมชนบ้านฮูแตกอแลมีครัวเรือนทั้งสิ้น 133 ครัวเรือน และประชากรทั้งหมด 689 คน แบ่งเป็นชาย 357 คน หญิง 332 โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุ 69 คน และร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสุขภาพ รวมทั้งคนในชุมชนจะไม่มีความรู้ไม่มีทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย จากการสังเกตการดำเนินการจัดทำกิจกรรมในพื้นที่ชุมชนบ้าน ฮูแตกอแล เช่น การจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อสำรวจความต้องการของชาวบ้าน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่ม พัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่เห็นได้ว่าผู้สูงอายุจะเป็นแกนหลักในการเข้าร่วมดำเนินงานทุกครั้ง จึงสรุปได้ว่าผู้สูงอายุในชุมชนเป็นกำลังหลักของชุมชน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้าน ปัญหาที่เกิดในพื้นที่หมู่3 บ้านเตราะบอนจากที่ประชุมร่วมหารือกับชาวบ้าน ได้ผลว่าชุมชนที่อยู่ในจังหวัดชายแดนใต้ที่มีปัญหาด้านความมั่นคงและมีประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซียที่ได้ค่าแรงสูงกว่าทำให้วัยแรงงานเลือกที่จะออกจากพื้นที่ เพื่อไปทำงาน จึงให้กลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ถูกทอดทิ้งอยู่อย่างโดดเดี่ยว เกิดพฤติกรรมส่วนบุคคลในทางลบ เช่น ไม่เข้าสังคม ขาดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาวะของตนเองทั้งเรื่องการอุปโภคบริโภค การออกกำลังกาย การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ขาดการป้องกันโรคและขาดการดูแลโรคที่จะตามมารวมทั้งวัยผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งการเสื่อมโทรมด้านร่างกาย เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน เบาหวาน อีกทั้งปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ความมั่นคงทางการเงินและด้วยสภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ขาดผู้ดูแลในครอบครัว ขาดความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ขาดแกนนำและการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมหรือวางแผนการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุได้ โดยปัญหาจากการไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ ดำเนินการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบคือกลไกสำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุจำนวน 69 คนป่วยเรื้อรังจากโรคความดัน...26.....คน ป่วยจากโรคเบาหวาน...3....คน ความดันและเบาหวานทั้งหมด 6 คน (ที่มาข้อมูล : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเตราะบอน) ด้วยภาวะร่างกายเสื่อมโทรมข้อเข่าเสื่อม เคลื่อนที่ไม่คล่องตัว ทำให้ผู้สูงอายุเป็นภาระของครอบครัวและสังคม ด้วยอาชีพหลักของคนในชุมชน และกลุ่มวัยแรงงานที่ต้องออกไปหางานทำไกลบ้าน ทำให้เหลือกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว ขาดความอบอุ่นในครอบครัว และอาจถูกทอดทิ้งไว้เพียงลำพัง มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตไม่เหมาะสม อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจอีกด้วย กล่าวคือ ผู้สูงอายุที่เกษียณงานแล้วไม่มีรายได้ กำลังแรงน้อยลง  จึงต้องให้ผู้ที่อยู่วัยแรงงานต้องทำงานมากขึ้น และรับภาระดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ด้วยภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ค่าครองชีพสูงทำให้การออมลดลง ลงทุนน้อยลง การเงินฝืดไม่พอกับรายจ่ายตลอดจนต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาพยาบาลเพิ่มอีกด้วย จากสภาพปัญหาและผลกระทบที่กล่าวมา ทำให้ทราบถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นแกนหลักในการพัฒนาชุมชน กลุ่มแกนนำชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านฮูแตกอแล ต.เตราะบอน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังไม่มีกลุ่มแกนนำหรือชมรมผู้สูงอายุที่สามารถบริหารจัดการเองได้ จึงอยากให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยมีการดำเนินโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ผ่านการสร้างกระบวนการที่มีส่วนร่วมในชุมชน เช่น การจัดตั้งสภาชมรมผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดแผนขับเคลื่อนกิจกรรม เกิดการเรียนรู้ทักษะและกิจกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยกิจกรรมและความรู้ต่างๆจัดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุและมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้กัน เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชน และ เพื่อให้ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างเมาะสม เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคมและไม่เป็นภาระทางสังคมและครอบครัว ทั้งนี้จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ผู้นำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องชุมชนบ้านฮูแตกอแลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม
1.ความสำเร็จและผลลัพธ์ที่ปรากฎ จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี  ในระยะเวลา 1 ปี ด้วยการขับเคลื่อนกระบวนการด้วยคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล เช่น การประชุมของคณะกรรมการทุก เดือน การส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยกิจกรรมอาลาเกาะห์ การกำหนดกติกาสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านเตราะบอน การสนับสนุนให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีบทบาททำน้ำมันนวด และการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในผู้สูงอายุ ชาวบ้านและสิ่งแวดล้อม คือ
1.การเกิดชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล จากผู้นำชุมชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ซึ่งได้แจ้งข้อมูลปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล พร้อมทั้งผลกระทบจาก ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุในเวทีประชุมต่างๆ ในชุมชน ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความตระหนัก และตั้งใจร่วมแก้ไขปัญหา โดยตั้งเป้าหมายให้ชุมชนบ้านฮูแตกอแล เป็นชุมชนที่มีผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี จึงจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ เลือกคณะทำงานผู้สูงอายุ มีการรับสมัครสมาชิก และมีคณะทำงานเป็นทีม มีผู้นำที่มีจิตอาสา แกนนำชุมชน และเสนอชื่อในการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านซึ่งมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานคณะกรรมการ เพื่อให้มีการลงมติรับรอง ส่งผลให้คณะทำงานมีองค์ประกอบด้วย กำนันตำบลเตราะบอน โต๊ะอีมามประจำมัสยิดบ้านฮูแตกอแล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านบ้านฮูแตกอแล ผู้ช่วยใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ บัณฑิตอาสาประจำหมู่บ้านบ้านฮูแตกอแล เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเตราะบอน จำนวน 10 คน แบ่ง บทบาทหน้าที่ คณะกรรมการออกมา เป็น 2 รูปแบบ 1.การแบ่งบทบาทตามความถนัดของคณะกรรมการ เช่น ฝ่ายบริหารและอำนวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายลงทะเบียน ฝ่ายบันทึกข้อมูล ฝ่ายวิชากการ ฝ่ายสถานที่ ฝ่ายอาหาร 2.การแบ่งหน้าที่ตามละแวก โดยคณะกรรมการ 1 คน จะรับผิดชอบผู้สูงอายุ 10 คน หน้าที่ของคณะกรรมการ เพื่อติดตามข้อมูลพฤติกรรม การประชาสัมพันธ์โครงการ การเชิญชวนผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งการคณะกรรมการ 1 คน จะมีบทบาท 2 บทบาท รับผิดชอบฝ่าย และรับผิดชอบบุคคล และคณะทำงานมีการ ออกแบบแผนการดำเนินงาน เช่น กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ และ ดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ หลังจากการดำเนินการคณะทำงานจะมีการประชุมติดตาม วางแผนแก้ไข ปัญหาอุปสรรค และปรับแนวทางทำงานร่วมกันตามปฏิทินงานที่กำหนด ในการประชุมทุกเดือน พร้อมทั้ง ติดตามประเมินและสะท้อนผลการทำงาน และมีการประเมินผลลัพธ์สะท้อนผลลัพธ์ โดยการประเมิน 3 ครั้ง ก่อนดำเนินโครงการ ระหว่าง ดำเนินโครงการและหลังดำเนินโครงการ ซึ่งเป็นการประเมินร่วมกันระหว่างคณะทำงานและพี่เลี้ยงโครงการ ซึ่งจาก การประเมินหลังดำเนินโครงการ พบว่า คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการเข้าร่วมโครงการและกิจกรรมต่างๆ มีข้อมูลเชิงประจักษ์มีคณะทำงานที่เข้มแข็ง จำนวน 16 คนประกอบด้วย ผู้นำชุมชน 4 คน ผู้ศาสนา 1 คน บันฑิตอาสา 1 คน อสม. 3 คน เจ้าหน้าที่รพ.สต.เตราะบอน 1 คน
2.ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น จากการมีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแลที่ขับเคลื่อนงานดำเนินงานอย่างจริงจังส่งผลให้เกิดการรวมกลุ่มชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแลมีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุจำนวน 50 คน ซึ่งมีบทบาทในการร่วมดำเนินงานกับคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ เช่นร่วมทำกิจกรรมตามโครงการ ร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน ร่วมถอดบทเรียน แต่บางกิจกรรมกลุ่มสมาชิกชมรมผู้สูงอายุจะดำเนินการตามความสนใจ เช่น การรวมกลุ่มอาลาเกาะห์ 3 ครั้ง โดยจะเป็นกิจรรมที่เน้นให้เกิดค่านิยมของการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุบ้านฮูแลกอแล ทำให้เกิดพลังในการต่อยอดกิจกรรมอื่นๆ ของผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล เช่นกิจกรรมผลิตน้ำมันนวด เพื่อหารายได้เข้ากลุ่ม เป็นต้น
จาการการขับเคลื่อนโครงการผ่านกิจรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและจริงจังโดยคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ส่งผลให้ผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล จำนวน 50 คน ร้อยละ 70 ออกกำลังกายประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ 30 นาที ด้วยการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ณ.อาคารเอนกประสงค์หมู่บ้านบ้านฮูแตกอแล ร่วมกันในวันเสาร์ นอกจากนั้นจะออกกำลังกายตามบ้านด้วยไม้พลองให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านด้วย เช่นกัน ผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน ร้อยละ 70 ร่วมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตเป็นประจำ ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมอาลาเกาะห์ 3 ครั้ง การร่วมกลุ่มอาชีพทำน้ำมันนวด มีผู้สูงอายุติดบ้าน 12 คน ติดเตียง 2 คน ได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง  โดยทีม คณะกรรมการและตัวแทนผู้สูงอายุร่วมกับ อสม. และผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ร้อยละ 43.47 มีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม (ลดหวานมันเค็ม ลดการกินขนมหวานหลังอาหาร ลดการกินบูดู และเพิ่มการกินผัก) ส่งผลให้ผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ร้อยละ 43.47 มีความสุขเพิ่มขึ้น
3.เกิดกลไกลหนุนเสริมเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มอื่นๆ ด้วยกระแสการออกกำลังกาย และการนวดผ่อนคลาย และการรวมกลุ่มส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ส่งผลให้เกิดผู้สูงอายุต้นแบบ จำนวน 30 คน โดยผู้สูงอายุต้นแบบ จะมีกิจกรรมออกกำลังโดยใช้ไม้พลองทุกวัน และมีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ทำให้ค่าความดันโลหิตอยู่เกณฑ์ปกติ ค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ เบาเทาอาการปวดตามตัว จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล สามารถสรุปได้ว่า หากต้องการให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้สูงอายุ ความดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ด้านคณะกรรมการก่อน ทั้งที่เนื่องจาการ คณะกรรมการเป็นกลไกที่จะทำเกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะส่งผลให้สิ่งแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมายเปลี่ยนแปลงอันจะส่งผลให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้นั้นเอง 3.กิจกรรมสำคัญและเงื่อนไขสู่ความสำเร็จ จาการดำเนินงานจนได้ผลลัพธ์ที่ดี สามารถสรุปได้ว่า กิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการเพื่อให้สามารถส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้สูงอายุ ดังนี้
1). การประชุมชี้แจงเพื่อให้ชุมชนทราบรายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมและผลกระทบต่าง ๆที่จะเกิดขึ้นหากไม่ดำเนินการ ผลดีที่จะเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน รวมทั้งบทบาทในการร่วมกิจกรรต่าง ๆ ที่โครงการกำหนดไว้ อีกทั้งต้องขอความคิดเห็น ข้อเสนอแนะข้อมูลเพิ่มเติม และขอความร่วมมือในการเสนอชื่อหรือสมัครเป็นคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุอันจะเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนโครงการ แต่ทั้งนี้คณะกรรมการจะต้องกระตุ้นเตือนกลุ่มเป้าหมายให้มาร่วมประชุมสมาชิกชมรมให้มากที่สุด มิเช่นนั้นจะไม่สามารถสร้างการรับรู้และเกิดการมีส่วนร่วมจากกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง โดยคณะกรรมการได้แบ่งระแวก ผู้สูงอายุไว้ รับผิดชอบ เพื่อการติดตามและเชิญชวนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2).กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 3 อ2 ส เป็นกิจกรรมสร้างการรับรู้ให้กับผู้สูงอายุ กระตุ้น และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง โดยวิทยากร จะต้องมากด้วยความชำนาญในการเป็นวิทยากร กระบวนการ ซึ่ง ถ้าเป็นวิทยากรที่มีองค์ความรู้อย่างเดียว ไม่สามารถดึงความสนใจและดึงความร่วมมือของผู้สูงอายุ ทำให้ไม่เกิดการรับรู้เรื่องสุขภาพ 3).การประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 3 ครั้ง ในแต่ละครั้งมีการคืนข้อมูลจาก คณะกรรมการได้สำรวจข้อมูลพฤติกรรม และเมื่อทางสมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้ทราบสถานะสุขภาพตนเอง จึงเกิดเป็นข้อตกลงร่วมกัน ในรายที่สถานะสุขภาพไม่ดี ทางคณะกรรมการ ได้ส่งต่อข้อมูลให้กับทาง รพ.สต.เตราะบอน เข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป
4).กิจกรรมออกกำลังกาย กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต และกิจกรรมที่ผู้สูงอายุสนใจ จะส่งต้องมีการออกแบบ หรือคิดรูปแบบกิจกรรม ที่สอดคล้องกับบริบท งบประมาณและความสนใจของผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล เป็นสิ่งสำคัญ คณะกรรมชมรมผู้สูงอายุได้สำรวจ รูปแบบการออกกำลังกาย กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต และกิจกรรมที่ผู้สูงอายุสนใจ ในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ที่สอดคล้องกับบริบท และสถานที่ที่เอื้อ ทั้งงบประมาณที่จำกัด จึงได้รูปแบบการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง สัปดาห์ ละ 1 วันที่ ณ. อาคารเอนกประสงค์หมู่บ้าน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต เป็นการทำอาลาเกาะห์ 3 เดือน ส่วนกิจกรรมที่ผู้สูงอายุสนใจ เป็นกิจกรรมนวดเพื่อผ่อนคลาย พร้อมผลิตน้ำมันนวด เนื่องจากในพื้นที่มีวิทยากรที่มากด้วยประสบการณ์อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านฮูแตกอแลอยู่แล้ว ทำให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยดี
4.โอกาสความยั่งยืนของโครงการ จากการดำเนินโครงการโดยผ่านกระบวนการดำเนินโครงการโดย คณะทำงานและคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 20 คน กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และการแก้ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในชุมชนบ้านฮูแตกอแล จนเป็นการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการออกกำลังกาย การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตสม่ำเสมอการบริโภคอาหารลดหวานมันเค็ม และการนวดผ่อนคลายซึ่งเกิดบุคคลต้นแบบ จำนวน 30 คน และการดำเนินงานทุกอย่างจะมีการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผล และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางแผนการดำเนินงานพร้อมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
จากความมุ่งมั่นของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ที่ดำเนินการส่งเสิรมสุขภาพผู้สูงอายุ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สะท้อนถึงความสำเร็จที่เกิดจากคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ที่สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ภายใต้การสนับสนุนของภาคีต่างๆ ในทุกขั้นตอน มีการติดตามประเมินผลและการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานให้เอื้อต่อการบรรลุเป้าหมาย จึงเป็นหลักประกันได้ว่าบ้านฮูแตกอแลจะเป็นชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีความยั่งยืนต่อไป

 

0 0

31. ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 27 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาว มารีแย ดุลลาเตะ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินกิจกรรม ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE4 วันที่  27 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09.00 -15.00 น. อาคารอเนกประสงค์หมู่บ้านฮูแตกอแล

โดยมีการ พบปะคณะทำงานและบรรยายในหัวข้อแผนการดำเนินงานขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม เช่นการเตรียมพื้นที่/ระหว่างการลงพื้นที่ติดตามหลังดำเนินการ โดย นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี -บรรยายในหัวข้อ ทบทวนกิจกรรมผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสรุปตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดย นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี. จัดเตรียมอาหารกลางวัน
-บรรยายในหัวข้อการประเมินความเสี่ยงและความโดดเด่นของโครงการ  โดยนางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี.
-บรรยายในหัวข้อการเบิกจ่ายงบประมาณ/ปัญหา/อุปสรรคใน การดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม โดยนางสาวนุชรัตน์ นวลดี ติดตามประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุทั้งหมู่บ้านที่อยู่อาศัยจริง (คน) 69 -เป้าหมายรอง 100 คน -จำนวนสถานที่ในการรวมกลุ่มเพื่อร่วมกันออกกำลังกาย  1 แห่ง (อาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บเนฮูแตกอแล -จำนวนแกนนำ 10 คน มีกติกาหรือข้อตกลงในการดูแลสุขภาพ 7 ข้อ 1.มีโครงสร้างและคณะทำงานที่ชัดแจน และแบ่งบทบาทหน้าที่ 2.ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 3.คณะทำงานจะต้องเป็นแกนนำต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แก่กลุ่มเป้าหมายที่เราร่วมโครงการ 4.แบ่งโซนรับผิดชอบในการติดตามกาปรับเปลี่ยนของกลุ่มเป้าหมาย 5.คณะทำงานจะต้องติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการออกกำลังกาย ของกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน 6.มีข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ 7.แกนนำมีการออกกำลังกายสัปดาห์ละ3วันๆละ30นาที

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอ (100คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ (50คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (70คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มีปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้านที่เหมาะสม (70คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพ (70คน) อธิบายการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมของผู้สูงอายุ 10 คน -ผู้สูงอายุเลือกทานประเภทอาหารอย่างเมาะสม -ผู้สูงอายุรู้จักการขยับกายและทำเป็นประจำ 150นาที/สัปดาห์ -เมื่อมีการพบปะกันจะมีการพูดคุยเรื่องการขยับกาย เรื่องสุขภาพ -มีการรวมกลุ่มเรียนรู้และพบปันบ่อยขึ้น -ผู้สูงอายุมีภาวะเป้นผู้นำของการสร้างเสริมสุขภาพ -ผู้สูงอายุมีสถานที่ขยับกายที่บ้านอย่างเหมาะสม

 

0 0

32. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2566

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนชุมชนเข้าร่วมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค และ ผลลัพธ์การดำเนินงานที่ผ่านมา ตลอดจนให้แผนงานร่วมทุนนำประเด็นที่ได้แลกเปลี่ยนนำไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป ในวันที่ 25 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 2,433.- บาท (เงินสองพันสี่ร้อยสามสิบสามบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ค่าพาหนะเดินทาง ด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล ยี่ห้ออีซูซุ เลขทะเบียน ขว 1622 สงขลา ระยะทาง 88 กม. (ไปกลับ) จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 352 บาท (เงินสามร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน)  จ่ายให้นางสาวนะอีมะฮ ดาราม 2. ค่าพาหนะเดินทาง ด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล ยี่ห้อมิตซูบิชิ เลขทะเบียน ขล 1088 สงขลาระยะทาง 88กม. (ไปกลับ) จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 352 บาท (เงินสามร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน) จ่ายให้นายอับดุลเราะห์มัน หะยีมูดอ 3. ค่าพาหนะเดินทาง ด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล ยี่ห้ออีซูซุ เลขทะเบียน บท 8634 ยะลา ระยะทาง 88 กม. (ไปกลับ) จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 352 บาท (เงินสามร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน) จ่ายให้นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ 4. วัสดุอุปกรณ์จัดนิทรรศการ 177 บาท 5. ค่าจัดทำป้ายไวนิล X-stand จำนวน 1 ชิ้นขนาด 80*180 ซม.เป็นเงิน 1,200 บาท(เงินหนึ่งพันสองร้อยบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,433.- บาท (เงินสองพันสี่ร้อยสามสิบสามบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมได้ผ่านลุล่วงไปโดยและบรรลุผลสำเร็จในระดับหหนึ่ง

 

0 0

33. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 20 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางสาวมารีแย ดุลลาเตะ ผู็รับผิดชอบโครงการ ได้จัดจ้างให้นางสาวนะอีมะฮ ดารามะ ได้ทำรายงานในระบบ โดยได้เริ่มจัดดทำรายงาน ตั้งแต่เปิดระบบ บันทึข้อมูลกิจกรรมทุอย่างผ่านระบบออนไลน์ และจัดเก็บตัวรายงานที่เป็นเอกสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เริ่มคีย์ข้อมูลลงโปรแกรมหลังจากจัดทำกิจกรรม และจัดทำจนสิ้ยสุดโครงการอย่างสมบูรณ์

 

0 0

34. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินเปิดบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงินเปิดบัญชี

 

0 0

35. ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างกลไกแกนนำและชมรมผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดเวทีพูดคุย วางแผนงานกิจกรรมและแนวทาง 1.2 เกิดชมรมผู้สูงอายุที่มีโครงสร้างการทำงานอย่างชัดเจน 1 ชมรม จำนวน....20.....คน 1.3 ชมรมสามารถพัฒนาขับเคลื่อนกิจกรรมได้ตามแผนที่กำหนด
1.00

 

2 ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุมีความรู้มีทักษะการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง 1.2 ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ 1.3 เกิดการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 1.4 เกิดการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารที่เหมาะสมในกลุ่มผู้สูงอายุ 1.5 เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้าน 1.6 เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ 1.7 ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิต 1.8 ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ดี 1.9 ผู้สูงอายุมีระดับความสุขและมีคุณค่าในตัวเองเพิ่มขึ้น หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 169
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 69
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้เสี่ยงจากโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มเป้าหมายรองกลุ่มผู้มีอายุ 50-55 ปี 21
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดบ้าน 20
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดสังคม 49

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างกลไกแกนนำและชมรมผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล (2) ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน (2) กิจกรรมถอดบทเรียน (3) ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ (4) สนับสนุนงานบริหารจัดกาาร (5) ARE กับ พี่เลี้ยง (6) สุขภาพดี ชีวิตมีสุข (7) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ (8) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน (9) แข็งแรงด้วยไม้พลอง (10) ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน (11) กิจกรรมนวดผ่อนคลาย (12) กิจกรรมสันทนาการ (13) ถอนเงินเปิดบัญชี (14) ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ (15) อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (16) ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง (17) ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 1 (18) ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ (19) ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์ (20) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ (21) ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1 (22) ค่าพาหนะเดินทางไปเบิกเงินที่ธนาคารกรุงไทย สาขา บิิ๊กซีปัตตานี (23) ค่าพาหนะเดินทางไปทำธุรกรรมการเงินที่ธนาคารกรุงไทย (24) สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 1 (25) ปั้มตรายางชื่อโครงการและเลขที่โครงการ (26) ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 (27) ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง (28) ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 2 (29) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ (30) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566 (31) กิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลาย (32) แข็งแรงด้วยไม้พลอง (33) ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 1 (34) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน (35) ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 2 (36) สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 2 (37) สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 3 (38) ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 3 (39) ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 3 (40) ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง (41) ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 4 (42) กิจกรรมสันทนาการ (43) ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง (44) กิจกรรมถอดบทเรียน (45) ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 (46) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2566 (47) ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบความก้าวหน้าออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-020

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารีแย ดุลลาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด