directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-020
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567
งบประมาณ 99,730.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำหมู่บ้านฮูแตกอแล
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมารีแย ดุลลาเตะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 092-4703447
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ A0812768919@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนุชรัตน์ นวลดี
พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.66962,101.550082place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 1 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 79,784.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 19,946.00
รวมงบประมาณ 99,730.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานปรับสภาพสิ่งแวดล้อม
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชุมชนหมู่ 3 บ้านฮูแตกอแล ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เป็นชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามทั้งหมด อาชีพหลักของชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ เช่นทำนา กรีดยาง ชุมชนบ้านฮูแตกอแลมีครัวเรือนทั้งสิ้น 133 ครัวเรือน และประชากรทั้งหมด 689 คน แบ่งเป็นชาย 357 คน หญิง 332 โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุ 69 คน และร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสุขภาพ รวมทั้งคนในชุมชนจะไม่มีความรู้ไม่มีทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย จากการสังเกตการดำเนินการจัดทำกิจกรรมในพื้นที่ชุมชนบ้าน ฮูแตกอแล เช่น การจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อสำรวจความต้องการของชาวบ้าน ,การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มพัฒนาชุมชน ส่วนใหญ่เห็นได้ว่าผู้สูงอายุจะเป็นแกนหลักในการเข้าร่วมดำเนินงานทุกครั้ง จึงสรุปได้ว่าผู้สูงอายุในชุมชนเป็นกำลังหลักของชุมชน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้าน ปัญหาที่เกิดในพื้นที่หมู่3 บ้านเตราะบอนจากที่ประชุมร่วมหารือกับชาวบ้าน ได้ผลว่าชุมชนที่อยู่ในจังหวัดชายแดนใต้ที่มีปัญหาด้านความมั่นคงและมีประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซียที่ได้ค่าแรงสูงกว่าทำให้วัยแรงงานเลือกที่จะออกจากพื้นที่ เพื่อไปทำงาน จึงให้กลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ถูกทอดทิ้งอยู่อย่างโดดเดี่ยว เกิดพฤติกรรมส่วนบุคคลในทางลบ เช่น ไม่เข้าสังคม ขาดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาวะของตนเองทั้งเรื่องการอุปโภคบริโภค การออกกำลังกาย การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ขาดการป้องกันโรคและขาดการดูแลโรคที่จะตามมารวมทั้งวัยผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งการเสื่อมโทรมด้านร่างกาย เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน เบาหวาน อีกทั้งปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ความมั่นคงทางการเงินและด้วยสภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ขาดผู้ดูแลในครอบครัว ขาดความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ขาดแกนนำและการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมหรือวางแผนการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุได้ โดยปัญหาจากการไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ ดำเนินการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบคือกลไกสำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุจำนวน 69 คนป่วยเรื้อรังจากโรคความดัน...26.....คน ป่วยจากโรคเบาหวาน...3....คน ความดันและเบาหวานทั้งหมด 6 คน (ที่มาข้อมูล : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเตราะบอน) ด้วยภาวะร่างกายเสื่อมโทรมข้อเข่าเสื่อม เคลื่อนที่ไม่คล่องตัว ทำให้ผู้สูงอายุเป็นภาระของครอบครัวและสังคม ด้วยอาชีพหลักของคนในชุมชน และกลุ่มวัยแรงงานที่ต้องออกไปหางานทำไกลบ้าน ทำให้เหลือกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว ขาดความอบอุ่นในครอบครัว และอาจถูกทอดทิ้งไว้เพียงลำพัง มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตไม่เหมาะสม อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจอีกด้วย กล่าวคือ ผู้สูงอายุที่เกษียณงานแล้วไม่มีรายได้ กำลังแรงน้อยลง  จึงต้องให้ผู้ที่อยู่วัยแรงงานต้องทำงานมากขึ้น และรับภาระดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ด้วยภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ค่าครองชีพสูงทำให้การออมลดลง ลงทุนน้อยลง การเงินฝืดไม่พอกับรายจ่ายตลอดจนต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาพยาบาลเพิ่มอีกด้วย จากสภาพปัญหาและผลกระทบที่กล่าวมา ทำให้ทราบถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นแกนหลักในการพัฒนาชุมชน กลุ่มแกนนำชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านฮูแตกอแล ต.เตราะบอน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังไม่มีกลุ่มแกนนำหรือชมรมผู้สูงอายุที่สามารถบริหารจัดการเองได้ จึงอยากให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยมีการดำเนินโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล ผ่านการสร้างกระบวนการที่มีส่วนร่วมในชุมชน เช่น การจัดตั้งสภาชมรมผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดแผนขับเคลื่อนกิจกรรม เกิดการเรียนรู้ทักษะและกิจกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยกิจกรรมและความรู้ต่างๆจัดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุและมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้กัน เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชน และ เพื่อให้ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างเมาะสม เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคมและไม่เป็นภาระทางสังคมและครอบครัว

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ไม่มี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างกลไกแกนนำและชมรมผู้สูงอายุในชุมชนบ้านฮูแตกอแล

1.1 เกิดเวทีพูดคุย วางแผนงานกิจกรรมและแนวทาง 1.2 เกิดชมรมผู้สูงอายุที่มีโครงสร้างการทำงานอย่างชัดเจน 1 ชมรม จำนวน....20.....คน 1.3 ชมรมสามารถพัฒนาขับเคลื่อนกิจกรรมได้ตามแผนที่กำหนด

1.00
2 ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี

1.1 ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุมีความรู้มีทักษะการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง 1.2 ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ 1.3 เกิดการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ 1.4 เกิดการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารที่เหมาะสมในกลุ่มผู้สูงอายุ 1.5 เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้าน 1.6 เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ 1.7 ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีความสนใจในกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิต 1.8 ร้อยละ 70% ของผู้สูงอายุมีสุขภาพและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ดี 1.9 ผู้สูงอายุมีระดับความสุขและมีคุณค่าในตัวเองเพิ่มขึ้น หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 169
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 69 -
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้เสี่ยงจากโรคเรื้อรัง 10 -
กลุ่มเป้าหมายรองกลุ่มผู้มีอายุ 50-55 ปี 21 -
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดบ้าน 20 -
กลุ่มเป้าหมายหลักผู้สูงอายุติดสังคม 49 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 1,000.00                    
2 กิจกรรมถอดบทเรียน(1 พ.ค. 2566-1 พ.ค. 2566) 3,200.00                    
3 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ(1 มิ.ย. 2566-31 ม.ค. 2567) 8,860.00                    
4 สนับสนุนงานบริหารจัดกาาร(6 มิ.ย. 2566-1 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
5 ARE กับ พี่เลี้ยง(9 มิ.ย. 2566-31 ม.ค. 2567) 0.00                    
6 สุขภาพดี ชีวิตมีสุข(30 มิ.ย. 2566-26 พ.ย. 2566) 10,800.00                    
7 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ(6 ก.ค. 2566-6 ก.ค. 2566) 10,300.00                    
8 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน(3 ส.ค. 2566-3 ส.ค. 2566) 11,200.00                    
9 แข็งแรงด้วยไม้พลอง(7 ก.ย. 2566-7 ก.ย. 2566) 16,400.00                    
10 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน(5 ต.ค. 2566-17 พ.ย. 2566) 12,200.00                    
11 กิจกรรมนวดผ่อนคลาย(7 ธ.ค. 2566-7 ธ.ค. 2566) 7,770.00                    
12 กิจกรรมสันทนาการ(14 ธ.ค. 2566-14 ธ.ค. 2566) 8,000.00                    
รวม 99,730.00
1 ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 1,000.00 3 1,000.00
15 มิ.ย. 66 ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 1 10 1,000.00 300.00
4 ก.ย. 66 ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 2 0 0.00 300.00
10 พ.ย. 66 ประชุมทีมหรือแกนนำชุมชน ครั้งที่ 3 0 0.00 400.00
2 กิจกรรมถอดบทเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,200.00 1 3,200.00
28 ธ.ค. 66 กิจกรรมถอดบทเรียน 0 3,200.00 3,200.00
3 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 8,860.00 3 8,860.00
22 มิ.ย. 66 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1 30 4,660.00 4,660.00
9 ส.ค. 66 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 0 2,100.00 2,100.00
29 ธ.ค. 66 ประชุมสภาชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 0 2,100.00 2,100.00
4 สนับสนุนงานบริหารจัดกาาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,000.00 10 10,000.00
6 - 7 มิ.ย. 66 อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 0 10,000.00 1,600.00
20 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ 0 0.00 500.00
20 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์ 0 0.00 720.00
20 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ 0 0.00 500.00
23 มิ.ย. 66 ค่าพาหนะเดินทางไปเบิกเงินที่ธนาคารกรุงไทย สาขา บิิ๊กซีปัตตานี 0 0.00 456.00
23 มิ.ย. 66 ค่าพาหนะเดินทางไปทำธุรกรรมการเงินที่ธนาคารกรุงไทย 0 0.00 456.00
4 ส.ค. 66 ปั้มตรายางชื่อโครงการและเลขที่โครงการ 0 0.00 535.00
25 ก.ย. 66 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566 0 0.00 800.00
15 ม.ค. 67 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2566 0 0.00 2,433.00
25 ม.ค. 67 ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบความก้าวหน้าออนไลน์ 0 0.00 2,000.00
5 ARE กับ พี่เลี้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 0.00 4 0.00
9 มิ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง 10 0.00 0.00
27 ส.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง 30 0.00 0.00
14 พ.ย. 66 ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง 0 0.00 0.00
27 ธ.ค. 66 ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง 0 0.00 0.00
6 สุขภาพดี ชีวิตมีสุข กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 10,800.00 3 10,800.00
30 ก.ค. 66 สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 1 30 3,600.00 3,600.00
29 ต.ค. 66 สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 2 0 3,600.00 3,600.00
3 พ.ย. 66 สุขภาพดี ชีวิตมีสุข ครั้งที่ 3 0 3,600.00 3,600.00
7 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,300.00 1 10,300.00
20 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านสำหรับผู้สูงอายุ 0 10,300.00 10,300.00
8 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 11,200.00 1 11,200.00
11 ต.ค. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ,กลุ่มผู้มีอายุ50-57ปี และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้าน 100 11,200.00 11,200.00
9 แข็งแรงด้วยไม้พลอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 16,400.00 1 16,400.00
1 ต.ค. 66 แข็งแรงด้วยไม้พลอง 0 16,400.00 16,400.00
10 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 12,200.00 4 12,200.00
5 ต.ค. 66 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 1 20 6,200.00 6,200.00
20 ต.ค. 66 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 2 0 2,000.00 2,000.00
3 พ.ย. 66 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 3 0 2,000.00 2,000.00
17 พ.ย. 66 ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน ครั้งที่ 4 0 2,000.00 2,000.00
11 กิจกรรมนวดผ่อนคลาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 7,770.00 1 7,770.00
28 ก.ย. 66 กิจกรรมการนวดเพื่อผ่อนคลาย 0 7,770.00 7,770.00
12 กิจกรรมสันทนาการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 8,000.00 1 8,000.00
14 ธ.ค. 66 กิจกรรมสันทนาการ 0 8,000.00 8,000.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 578.07
25 ม.ค. 67 ถอนเงินเปิดบัญชี 0 0.00 500.00
25 ม.ค. 67 ถอนเงินดอกเบี้ยให้เเผนงานฯ 0 0.00 78.07

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2 ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ 3 เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพผู้สูงอายุอย่างสม่ำเสมอ 4 ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี 5 เมื่อโครงการแล้วเสร็จหรือเมื่อทุนของ สสส.ทางแกนนำรับรองว่าจะมีกิจกรรมต่อเนื่องเพราะกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุโดยเฉพาะกิจกรรมการเรียนรู้อัลกุรอาน จะมีการจัดทุกๆเดือน 6 โครงการนี้สามารถทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนแม้ต่างวัย และ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคมและไม่เป็นภาระทางสังคมและครอบครัวเมื่อมีกิจกรรมอื่นเพิ่มผู้สูงอายุสามารถให้ความร่วมมือ อีกทั้งยังทำให้ส่งผลต่อสุขภาพร่างแข็งแรงลดภาระการเป็นโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:55 น.