directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
สนับสนุนการบริหารจัดการตลอดโครงการ 1 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการ 30 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

อบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจ 2 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs 17 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

ให้บริการคัดกรองประเมินความเสี่ยง 20 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองประเมินความเสี่ยง 27 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

อบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 29 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

สรุปบทเรียน 15 ต.ค. 2566

 

 

 

 

 

ติดตามความเปลี่ยนแปลง 3 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี 4 ก.พ. 2567 4 ก.พ. 2567

 

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี 500 บาทม

 

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี

 

จ่าย ดอกเบี้ยให้กองคลัง 4 ก.พ. 2567 4 ก.พ. 2567

 

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ จำนวน 32.71 บาท

 

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

 

อบรมปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 6 มิ.ย. 2566 6 มิ.ย. 2566

 

วันที่ 6 มิถุนายน 2566
- พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
- รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
- แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
วันที่ 7 มิถุนายน 2566 - รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
- รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความเข้าใจการดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุนและการคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความเข้าใจการเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน

 

ถอนเงินกิจกรรม 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

ถอนเงินที่ธนาคาร

 

ถอนเงินที่ธนาคาร

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการ 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

ชี้แจงและทำความเข้าโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี - วางแผนโครงสร้างคณะทำงานและกำหนดบทบาทหน้าที่ - ออกแบบและวางแผนการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

 

คณะทำงานมีความเข้าใจในโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

มีการออกแบบและวางแผนการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เกิดคณะทำงานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์
    ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ มีคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่  รพสต. และ อสม. จำนวน 15 คน           - คณะทำงานมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับกับโรคNCDs           - คณะทำงานมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม     วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ           - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม     วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์  - กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออก  กำลังกายที่เหมาะสม                 - คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด    3 เดือน/ครั้ง     วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์
          - กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 20 ขึ้นไป น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

เรื่องอื่น ๆ       - นัดหมายอบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00 – 15.30 น. ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

 

อบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs 2 ก.ค. 2566 2 ก.ค. 2566

 

  • สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เบาหวาน ความดันโลหิต โดยวิทยากร...นางมาสีเตาะ นิมาปู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ
  • สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส โดยวิทยากร...นางมาสีเตาะ นิมาปู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ

 

  • คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เบาหวาน ความดันโลหิต และโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ประกอบด้วย 1.อ อาหาร รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีรสหวานมัน เค็ม มากเกินไป 2. อ ออกกำลังกาย เคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 30 นาที 3.อ อารมณ์ มีการจัดการกับอารมณ์ ฝึกสมาธิและผ่อนคลายเครียด เช่น ฟังเพลง ทำงานอดิเรก พบปะเพื่อน 1.ส ไม่สูบบุหรี่ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพราะเป็นอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้คนรอบข้าง 2.ส ไม่ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงมีความรู้เกี่ยวกับการดูและสุขภาพที่ดี
  • คณะทำงานสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการทำงานในพื้นที่ สามารถนำให้รู้ที่ได้ ไปนำปรึกษาแนะนำกลุ่มเป็นหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการและร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร 13 ก.ค. 2566 13 ก.ค. 2566

 

ถอนเงินที่ธนาคาร

 

ถอนเงินที่ธนาคาร

 

วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs 14 ก.ค. 2566 14 ก.ค. 2566

 

 

 

ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ 15 ก.ค. 2566 15 ก.ค. 2566

 

จัดทำป้ายชื่อโครงการและป้ายบันไดผลลัพท์

 

คณะทำงานโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีการติดตั้งปป้ายชื่อโครงการฯ และป้ายบันไดผลลัพท์โครงฯ ทุกครั้งที่จัดกิจกรรมในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชนทั่วไปรับทราบและเข้าใจการดำเนินโครงการ

 

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs 17 ก.ค. 2566 17 ก.ค. 2566

 

คณะทำงานลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ และทำความเข้าใจโครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ โดยการประชาสัมพันธ์ตามบ้าน ร้านค้า ร้านน้ำชา ในพื้นที่ ม.7

 

ประชาชนรับทราบการดำเนินโครงการที่จะมีการดำเนินการในพื้นที่

 

ให้บริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs 20 ก.ค. 2566 20 ก.ค. 2566

 

  • จัดบริการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล มีการจดบันทึกข้อมูลสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูง วัดค่าBMI วัดความัดนเบาหวาน
  • ให้คำปรึกษาและแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้านความรู้ความเข้าใจโรคต่อโรค NCDs โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้รับทราบผลกระทบและสาเหตุของการเกิดโรค NCDs และ สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ 2ส ตามบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
  • ใช้ข้อมูลการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อใช้สำหรับออกแบบกิจกรรมและเป็นข้อมูลตั้งต้น ในการประเมินผลลัพธ์ความเปลี่ยนแปลง
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 115 คน จัด 1  ครั้ง

 

1.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

 

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด 1 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

ค่าจัดทำตรายางหมึก 22 ส.ค. 2566 22 ส.ค. 2566

 

ทำตรายางหมึกปั๊มหมึกในตัว จำนวน 2 ชิ้น

 

โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีตรายางหมึกปั๊มหมึกในตัว จำนวน 2 ชิ้น เพื่อนำไปใช้กับเอกสารการเบิก-จ่ายเงิน ของโครงการฯ

 

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร 23 ส.ค. 2566 23 ส.ค. 2566

 

ถอนเงินที่ธนาคาร

 

ถอนเงินกิจกรรมที่ธนาคาร

 

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 1 24 ส.ค. 2566 24 ส.ค. 2566

 

  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน
  • จัด 3 เดือน/ครั้ง

 

-กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม -คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด  3 เดือน/ครั้ง

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 1 26 ส.ค. 2566 26 ส.ค. 2566

 

  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการดำเนิน กิจกรรมโครงการที่ผ่านมา
  • คณะทำงานร่วมกันหารือแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

ชี้แจงผลการดำเนินกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ผ่านมา จากการดำเนินการที่ผ่านมา โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ทางโครงการได้ดำเนิน จำนวน 2 กิจกรรมดังนี้
- วันที่ 30 มิถุนายน 2566 กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและออกแบบวางแผนขั้นตอนกระบวนการดำเนินงา - วันที่ 2 กรกฎาคม 2566 กิจกรรม 1.2 อบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs - วันที่ 24 สิงหาคม 2566 กิจกรรม 3.2 คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 2 - วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบโครงการ - วันที่ 17 กรกฎาคม 2566ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs - วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 ให้บริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs

คณะทำงานพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมโครงการ และแบ่งบทบาทหน้าที่ การแบ่งโซนรับรับผิดของหมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ ได้แบ่งเป็น 2 โซน และมีการแบ่งโซนย่อยของคณะทำงานที่รับผิดชอบดังนี้ - นางสาว นูรีดา มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 4 คน
- นางแวมือแย มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 20 คน - นางรอกายะ อาแซ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางฮาลีมะ สือบา กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 15 คน - นางเจ๊ะเยาะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 3 คน - นางสาวยุสรอ สามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 15 คน - นางนัยซะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางซากูเราะ เปาะมัด กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 5 คน - นางฮามีเน๊าะ เจ๊ะโส๊ะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางสารีปัห มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 5 คน - นายอาลีสะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 3 คน

คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป จากการแบ่งโซนรับผิดชอบให้คณะทำงานแต่ละโซนรายงานการติดตามกลุ่มเป้าหมายทุกครั้งในการประชุมครั้งถัดไป

 

วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs 27 ส.ค. 2566 5 ส.ค. 2566

 

  • วิเคราะห์ข้อมูลจากการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามและเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมาย
  • คณะทำงานนำข้อมูลที่ได้มาวางแผนจัดกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน จัด 1  ครั้ง

 

  • มีข้อมูลจากการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามและเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมายดังนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
  1. กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายหลัก ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวนรวม 100 คน     กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ แกนนำสุขภาพ จำนวนรวม 5 คน

  2. เครื่องมือในการประเมิลผลและการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย คุ้มค่า มีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงได้ดำเนินการสร้างสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)ขึ้นมา เพื่อบันทึกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งประเมินผล โดยได้ดำเนินการบันทึกข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 8 สัปดาห์ ในด้านหลัก 3อ 2ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่ และสุรา ) โดยจัดทำสมุดบันทึกดังกล่าวจำนวน 100 เล่ม

  3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้สูงอายุ จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ หญิง 72 67 ชาย 36 33 รวม 108 100 จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนเพศของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ผ่านการคัดกรองจำนวน 108 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 67 ต่อมาเป็นเพศชาย จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ตามลำดับ ตารางที่ 2 ช่วงอายุของกลุ่มเป้าหมาย อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ อายุ 60 ปี ขึ้นไป 38 35 55 – 59 ปี 24 22 50 – 54 ปี 9 8 45 – 49 ปี 15 14 40 – 44 ปี 9 8 35 – 39 ปี 13 12 รวม 108 100 จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนอายุของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 35 รองลงมาอายุระหว่าง 55-59 ปี จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 22 และมีอายุระหว่าง 45-49 ปี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ตามลำดับ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 3 รอบเอวของกลุ่มเป้าหมาย รอบเอว จำนวน (คน) ร้อยละ รอวเอวเกิน 35 32 รอบเอวปกติก 73 68 รวม 108 100 จากตารางที่ 3 แสดงขนาดรอบเอวของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่รอบเอวปกติ 73 คน คิดเป็นร้อยละ 68 และรอบเอวเกิน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 32 ตามลำดับ
ตารางที่ 4 แสดงค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ของกลุ่มเป้าหมาย ค่าดัชนีมวลกาย เกณฑ์สภาวะร่างกาย จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 18.5 น้ำหนักน้อยหรือผอม 6 6 18.6 – 25.0 น้ำหนักปกติหรือเหมาะสม 47 44 25.1 – 28.0 ท้วม 29 27 28.1 – 30.0 อ้วน 6 6 30.1 ขึ้นไป อ้วนมาก 20 19 รวม 30 100 จากตารางที่ 4 แสดงค่าดัชนีมวลกาย(BMI)ของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติหรือเหมาะสม จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 44 รองลงมาอยู่ในเกณฑ์ท้วม จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 27 เกณฑ์อ้วนมาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 19 เกณฑ์อ้วน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 และ เกณฑ์น้ำหนักน้อยหรือผอม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 ตามลำดับ


ส่วนที่ 3 ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 5 รับประทานอาหารรสเค็ม หรือมีโซเดียม (เกลือมีปริมาณมากกว่า 1 ช้อนชา/วัน) พฤติกรรม จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่มีรสเค็มเลย 40 37 รับประทานบางวัน 45 42 รับประทานทุกวัน 23 21 รวม 30 100 จากตารางที่ 5 แสดงพฤติกรรมรับประทานอาหารรสเค็ม หรือมีโซเดียม ของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่ไม่รับประทานรสเค็มบางวัน จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 42 รองลงมาไม่มีรสเค็มเลย จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 37 และ รับประทานทุกวันจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ตามลำดับ

 

อบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพ 29 ส.ค. 2566 29 ส.ค. 2566

 

  • อบรมกลุ่มเป้าหมายเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจโรคต่อโรค NCDs ด้านโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รับทราบผลกระทบและสาเหตุของการเกิดโรค NCDs และ สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ 2ส ซึ่งได้รับการอบรมจากเจ้าหน้าที่ รพสต.ตำบลตะลุโบะ
  • กลุ่มเป้าหมายร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง หลังจากได้รับคำแนะนำจากการรับบริการคัดกรองและนำมาปฏิบัติจริง
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 115 คน จัด 1  ครั้ง

 

-กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ -กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

 

เวทีอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566 25 ก.ย. 2566 16 ก.ค. 2566

 

คณะทำงานเข้าร่วมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE เรียนรู้เรื่องการบันทึกข้อมูลลงระบบ และการเงิน

 

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร 5 ต.ค. 2566 5 ต.ค. 2566

 

เดินทางไปธนาคาร

 

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 6 ต.ค. 2566 6 ต.ค. 2566

 

  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
  • คณะทำงานร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

  • มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งถัดไป
  • แบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานแต่ละคน
  • ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับเวลา สถานที่ และ กลุ่มเป้าหมาย

 

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 2 7 ต.ค. 2566 7 ต.ค. 2566

 

  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด และ บันทึกข้อมูลลงสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย

 

  • กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  • กลุ่มความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ที่ดีขึ้น

 

คณะทำงานบันทึกและติดตามพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย และบันทึกลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 11 ต.ค. 2566 11 ต.ค. 2566

 

  • คณะทำงานลงพื้นที่บันทึกพฤติกรรมต่างๆของกลุ่มเป้าหมายตามหลัก 3อ 2ส เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ลงสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน

 

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

 

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร 12 ต.ค. 2566 12 ต.ค. 2566

 

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

 

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

 

สรุปบทเรียนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย 15 ต.ค. 2566 15 ต.ค. 2566

 

  • คณะทำงานร่วมกันวิเคราะห์ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อสรุปตามตัวชี้วัดของโครงการ
  • กลุ่มเป้าหมายร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • สรุปผลลัทธ์ที่เกิดขึ้น  ข้อดี ข้อเสีย อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • วางแผนและต่อยอดการดำเนินโครงการในครั้งถัดไป

 

กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค จำนวน 83 คน  คิดเป็นร้อยละ 83 กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 81

 

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 3 18 พ.ย. 2566 18 พ.ย. 2566

 

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด

 

  • กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด

 

ค่าเดินทางพบพี่เลี้ยง 21 พ.ย. 2566 21 พ.ย. 2566

 

พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลและตรวจสอบการเงิน

 

คณะทำงานมีความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลลงระบบ และ เข้าใจการบริหารงบประมาณมากขึ้น

 

ค่าเดินทางพบพี่เลี้ยง 30 พ.ย. 2566 30 พ.ย. 2566

 

พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลและตรวจสอบการเงิน

 

คณะทำงานมีความเข้าใจการบันทึกข้อมูลลงระบบ และ เข้าใจการบริหารงบประมาณมากขึ้น

 

ติดตามความเปลี่ยนแปลง 3 ธ.ค. 2566 3 ธ.ค. 2566

 

คณะทำงานติดตามความก้าวหน้า และความเปลี่ยนแปลงสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมาย ด้านน้ำหนัก รอบเอว ค่าBMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด

 

  1. กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหารและการออกกำลังกายร้อยละ 80 2.การอบรมให้ความรู้และติดตามการบริโภคและการออกกำลังกาย 3 ครั้ง โดยใช้สมุดบันทึกประจำตัวของกลุ่มเป้าหมายจำนวน100 คนปฏิบัติตามกติกา การบริโภคและการออกกำลังกายจำนวน 2 ข้อ คือ 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีการบริโภคอาหาร2:1:1 2.ผู้เข้าร่วมมีการออกกำลังกายถนนริมแม่น้ำสัปดาห์ละ3 วัน อังคาร ศุกร์ อาทิตย์ ครั้งละ 30 นาทีต่อวัน 3.หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และ การออกกำลังกาย ร้อยละ 80 ดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย แยกชาย36 คนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 20  คน และ หญิง 72คน มีการปรับเปลี่ยน 63 คน

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3 10 ธ.ค. 2566 10 ธ.ค. 2566

 

  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
  • คณะทำงานร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

  • ผู้รับผิดชอบโครงการฯมีการสรุปการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านให้คณะทำงานรับทราบ พร้อมทั้งวางแผนและกำหนดบทบาทหน้าที่ให้แต่ละคน
  • คณะทำงานมีการวางแผนการดำเนินโครงการในครั้งถัดไป เพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์และสถานที่
  • ประเด็นการต่อยอดในการดำเนินกิจกรรมในครั้งถัดไป คือการพัฒนาให้มีลานออกกำลังกายในหมู่บ้าน และ มีสถานที่ออกกำลังกายให้แก่มุสลีมะฮ. ที่เหมาะ

 

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล 5 ม.ค. 2567 5 ม.ค. 2567

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล มีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน

 

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล 13 ม.ค. 2567 13 ม.ค. 2567

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าพบพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาบันทึกข้อมูลการจัดกิจกรรมเข้าระบบ และ ตรวจสอบเอกสารการเงินของแต่ละกิจกรรม

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าพบพี่เลี้ยง มีความเข้าใจและสามารถบันทึกข้อมูลการจัดกิจกรรมลงระบบละเอียดมากขึ้น และ เข้าใจการจัดการเอกสารการเงินของแต่ละกิจกรรม โดยให้มีการเพิ่มรายละเอียดในเอกสารการเงินเพิ่มเติม

 

ค่าจัดทำไวนิล : X-stand 15 ม.ค. 2567 15 ม.ค. 2567

 

สรุปบันไดผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

 

ไวนิล X-stand บันไดผลลัพธ์โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคNCDs หมู่ที่7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 ชิ้น

 

อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2566 15 ม.ค. 2567 15 ม.ค. 2567

 

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อยและร่วมจัดนิทรรศการ

 

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีส่วนร่วมในกิจกรรม ARE ครั้งที่2/2566 โดยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินโครงการ และให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและสิ่งที่จะไปต่อยอดต่อไป คือให้มีลานกิจกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้านให้เหมาะสมกับมุสลิมมะฮ. นอกจจากนี้การจัดนิทรรศการได้รับความสนใจจากผู้คนที่เข้ามาเยี่ยมชมบูธ เนื่องจากโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีตัวอย่างสมุดติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ทำให้หลายคนสนใจและต้องการนำไปเป็นตัวอย่างในการดำเนินโครงการครั้งต่อไป

 

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล 29 ม.ค. 2567 29 ม.ค. 2567

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และ บันทึกกิจกรรมลงระบบ

 

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารกิจกรรม เข้าใจระบบการเงิน การบันทึกรายละเอียดลงในใบเสร็จรับเงิน
อีกทั้งเข้าใจการบันทึกข้อมูลกิจกรรมลงระบบ โดบันทึกรายละเอียดกิจกรรมที่ละเอียดและมีความเข้าใจมากขึ้น

 

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และตรวจรายงานกิจกรรมในระบบ 30 ม.ค. 2567 30 ม.ค. 2567

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางมีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน

 

จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต 1 ก.พ. 2567 30 มิ.ย. 2566

 

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมโครงการตั้งวันที่30มิถุนายน2566 ถึงวันที่31 มกราคม2567ครบถ้วนตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในสัญญาโครงการ

 

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลรานงานกิจกรรมโครงการตั้งวันที่30มิถุนายน2566 ถึงวันที่31 มกราคม2567ครบถ้วนตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในสัญญาโครงการ

 

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล 3 ก.พ. 2567 20 ม.ค. 2567

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

 

ผู้รับผิดชอบโครงการเจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล มีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน