directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

assignment
บันทึกกิจกรรม
ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ4 กุมภาพันธ์ 2567
4
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ จำนวน 32.71 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี4 กุมภาพันธ์ 2567
4
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี 500 บาทม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงิน ค่าเปิดบัญชี

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และตรวจรายงานกิจกรรมในระบบ30 มกราคม 2567
30
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางมีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล29 มกราคม 2567
29
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และ บันทึกกิจกรรมลงระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารกิจกรรม เข้าใจระบบการเงิน การบันทึกรายละเอียดลงในใบเสร็จรับเงิน
อีกทั้งเข้าใจการบันทึกข้อมูลกิจกรรมลงระบบ โดบันทึกรายละเอียดกิจกรรมที่ละเอียดและมีความเข้าใจมากขึ้น

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล20 มกราคม 2567
20
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล มีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน

อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/256615 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อยและร่วมจัดนิทรรศการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีส่วนร่วมในกิจกรรม ARE ครั้งที่2/2566 โดยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินโครงการ และให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและสิ่งที่จะไปต่อยอดต่อไป คือให้มีลานกิจกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้านให้เหมาะสมกับมุสลิมมะฮ. นอกจจากนี้การจัดนิทรรศการได้รับความสนใจจากผู้คนที่เข้ามาเยี่ยมชมบูธ เนื่องจากโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีตัวอย่างสมุดติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ทำให้หลายคนสนใจและต้องการนำไปเป็นตัวอย่างในการดำเนินโครงการครั้งต่อไป

ค่าจัดทำไวนิล : X-stand15 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สรุปบันไดผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ไวนิล X-stand บันไดผลลัพธ์โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคNCDs หมู่ที่7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 ชิ้น

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล13 มกราคม 2567
13
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าพบพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาบันทึกข้อมูลการจัดกิจกรรมเข้าระบบ และ ตรวจสอบเอกสารการเงินของแต่ละกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าพบพี่เลี้ยง มีความเข้าใจและสามารถบันทึกข้อมูลการจัดกิจกรรมลงระบบละเอียดมากขึ้น และ เข้าใจการจัดการเอกสารการเงินของแต่ละกิจกรรม โดยให้มีการเพิ่มรายละเอียดในเอกสารการเงินเพิ่มเติม

ค่าพาหนะเดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจเอกสาร และระบบบันทึกข้อมูล5 มกราคม 2567
5
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เดินทางเพื่อตรวจเอกสารการเงิน และระบบรายงาน กับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ อบจ.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล มีความเข้าใจในเอกสารการเงินมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในเสร็จรับเงิน แก้ไขใบอนุมัติเบิกและบันทึกข้อความ นอกจจากนี้มีการเพิ่มเติมรายละเอียดกิจกรรมในระบบรายงาน

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 310 ธันวาคม 2566
10
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
  • คณะทำงานร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการฯมีการสรุปการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านให้คณะทำงานรับทราบ พร้อมทั้งวางแผนและกำหนดบทบาทหน้าที่ให้แต่ละคน
  • คณะทำงานมีการวางแผนการดำเนินโครงการในครั้งถัดไป เพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์และสถานที่
  • ประเด็นการต่อยอดในการดำเนินกิจกรรมในครั้งถัดไป คือการพัฒนาให้มีลานออกกำลังกายในหมู่บ้าน และ มีสถานที่ออกกำลังกายให้แก่มุสลีมะฮ. ที่เหมาะ
ติดตามความเปลี่ยนแปลง3 ธันวาคม 2566
3
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานติดตามความก้าวหน้า และความเปลี่ยนแปลงสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมาย ด้านน้ำหนัก รอบเอว ค่าBMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหารและการออกกำลังกายร้อยละ 80 2.การอบรมให้ความรู้และติดตามการบริโภคและการออกกำลังกาย 3 ครั้ง โดยใช้สมุดบันทึกประจำตัวของกลุ่มเป้าหมายจำนวน100 คนปฏิบัติตามกติกา การบริโภคและการออกกำลังกายจำนวน 2 ข้อ คือ 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีการบริโภคอาหาร2:1:1 2.ผู้เข้าร่วมมีการออกกำลังกายถนนริมแม่น้ำสัปดาห์ละ3 วัน อังคาร ศุกร์ อาทิตย์ ครั้งละ 30 นาทีต่อวัน 3.หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และ การออกกำลังกาย ร้อยละ 80 ดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย แยกชาย36 คนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 20  คน และ หญิง 72คน มีการปรับเปลี่ยน 63 คน
ค่าเดินทางพบพี่เลี้ยง30 พฤศจิกายน 2566
30
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลและตรวจสอบการเงิน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความเข้าใจการบันทึกข้อมูลลงระบบ และ เข้าใจการบริหารงบประมาณมากขึ้น

ค่าเดินทางพบพี่เลี้ยง21 พฤศจิกายน 2566
21
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลและตรวจสอบการเงิน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลลงระบบ และ เข้าใจการบริหารงบประมาณมากขึ้น

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 318 พฤศจิกายน 2566
18
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด
สรุปบทเรียนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย15 ตุลาคม 2566
15
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานร่วมกันวิเคราะห์ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อสรุปตามตัวชี้วัดของโครงการ
  • กลุ่มเป้าหมายร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • สรุปผลลัทธ์ที่เกิดขึ้น  ข้อดี ข้อเสีย อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • วางแผนและต่อยอดการดำเนินโครงการในครั้งถัดไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค จำนวน 83 คน  คิดเป็นร้อยละ 83 กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 81

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร12 ตุลาคม 2566
12
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

คณะทำงานบันทึกและติดตามพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย และบันทึกลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม11 ตุลาคม 2566
11
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานลงพื้นที่บันทึกพฤติกรรมต่างๆของกลุ่มเป้าหมายตามหลัก 3อ 2ส เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ลงสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 27 ตุลาคม 2566
7
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด และ บันทึกข้อมูลลงสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  • กลุ่มความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ที่ดีขึ้น
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 26 ตุลาคม 2566
6
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
  • คณะทำงานร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งถัดไป
  • แบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานแต่ละคน
  • ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับเวลา สถานที่ และ กลุ่มเป้าหมาย
ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร5 ตุลาคม 2566
5
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เดินทางไปธนาคาร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินในการจัดกิจกรรม

อบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพ29 สิงหาคม 2566
29
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • อบรมกลุ่มเป้าหมายเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจโรคต่อโรค NCDs ด้านโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รับทราบผลกระทบและสาเหตุของการเกิดโรค NCDs และ สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ 2ส ซึ่งได้รับการอบรมจากเจ้าหน้าที่ รพสต.ตำบลตะลุโบะ
  • กลุ่มเป้าหมายร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง หลังจากได้รับคำแนะนำจากการรับบริการคัดกรองและนำมาปฏิบัติจริง
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 115 คน จัด 1  ครั้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ -กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 126 สิงหาคม 2566
26
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
  • คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการดำเนิน กิจกรรมโครงการที่ผ่านมา
  • คณะทำงานร่วมกันหารือแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชี้แจงผลการดำเนินกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ผ่านมา จากการดำเนินการที่ผ่านมา โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ทางโครงการได้ดำเนิน จำนวน 2 กิจกรรมดังนี้
- วันที่ 30 มิถุนายน 2566 กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและออกแบบวางแผนขั้นตอนกระบวนการดำเนินงา - วันที่ 2 กรกฎาคม 2566 กิจกรรม 1.2 อบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs - วันที่ 24 สิงหาคม 2566 กิจกรรม 3.2 คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 2 - วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบโครงการ - วันที่ 17 กรกฎาคม 2566ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs - วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 ให้บริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs

คณะทำงานพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมโครงการ และแบ่งบทบาทหน้าที่ การแบ่งโซนรับรับผิดของหมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ ได้แบ่งเป็น 2 โซน และมีการแบ่งโซนย่อยของคณะทำงานที่รับผิดชอบดังนี้ - นางสาว นูรีดา มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 4 คน
- นางแวมือแย มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 20 คน - นางรอกายะ อาแซ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางฮาลีมะ สือบา กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 15 คน - นางเจ๊ะเยาะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 3 คน - นางสาวยุสรอ สามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 15 คน - นางนัยซะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางซากูเราะ เปาะมัด กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 5 คน - นางฮามีเน๊าะ เจ๊ะโส๊ะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 10 คน - นางสารีปัห มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 5 คน - นายอาลีสะ มามะ กลุ่มเป้าหมายรับผิดชอบ จำนวน 3 คน

คณะทำงานร่วมเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการปรับปรุงแผนงาน เพื่อดำเนินงานในครั้งถัดไป จากการแบ่งโซนรับผิดชอบให้คณะทำงานแต่ละโซนรายงานการติดตามกลุ่มเป้าหมายทุกครั้งในการประชุมครั้งถัดไป

คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 124 สิงหาคม 2566
24
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน
  • จัด 3 เดือน/ครั้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม -คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด  3 เดือน/ครั้ง

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร23 สิงหาคม 2566
23
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินที่ธนาคาร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินกิจกรรมที่ธนาคาร

ค่าจัดทำตรายางหมึก22 สิงหาคม 2566
22
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำตรายางหมึกปั๊มหมึกในตัว จำนวน 2 ชิ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีตรายางหมึกปั๊มหมึกในตัว จำนวน 2 ชิ้น เพื่อนำไปใช้กับเอกสารการเบิก-จ่ายเงิน ของโครงการฯ

วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs5 สิงหาคม 2566
5
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • วิเคราะห์ข้อมูลจากการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามและเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมาย
  • คณะทำงานนำข้อมูลที่ได้มาวางแผนจัดกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน จัด 1  ครั้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีข้อมูลจากการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการติดตามและเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมายดังนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
  1. กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายหลัก ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวนรวม 100 คน     กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ แกนนำสุขภาพ จำนวนรวม 5 คน

  2. เครื่องมือในการประเมิลผลและการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย คุ้มค่า มีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงได้ดำเนินการสร้างสมุดบันทึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)ขึ้นมา เพื่อบันทึกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งประเมินผล โดยได้ดำเนินการบันทึกข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 8 สัปดาห์ ในด้านหลัก 3อ 2ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่ และสุรา ) โดยจัดทำสมุดบันทึกดังกล่าวจำนวน 100 เล่ม

  3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้สูงอายุ จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ หญิง 72 67 ชาย 36 33 รวม 108 100 จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนเพศของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ผ่านการคัดกรองจำนวน 108 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 67 ต่อมาเป็นเพศชาย จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ตามลำดับ ตารางที่ 2 ช่วงอายุของกลุ่มเป้าหมาย อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ อายุ 60 ปี ขึ้นไป 38 35 55 – 59 ปี 24 22 50 – 54 ปี 9 8 45 – 49 ปี 15 14 40 – 44 ปี 9 8 35 – 39 ปี 13 12 รวม 108 100 จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนอายุของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 35 รองลงมาอายุระหว่าง 55-59 ปี จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 22 และมีอายุระหว่าง 45-49 ปี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ตามลำดับ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 3 รอบเอวของกลุ่มเป้าหมาย รอบเอว จำนวน (คน) ร้อยละ รอวเอวเกิน 35 32 รอบเอวปกติก 73 68 รวม 108 100 จากตารางที่ 3 แสดงขนาดรอบเอวของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่รอบเอวปกติ 73 คน คิดเป็นร้อยละ 68 และรอบเอวเกิน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 32 ตามลำดับ
ตารางที่ 4 แสดงค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ของกลุ่มเป้าหมาย ค่าดัชนีมวลกาย เกณฑ์สภาวะร่างกาย จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 18.5 น้ำหนักน้อยหรือผอม 6 6 18.6 – 25.0 น้ำหนักปกติหรือเหมาะสม 47 44 25.1 – 28.0 ท้วม 29 27 28.1 – 30.0 อ้วน 6 6 30.1 ขึ้นไป อ้วนมาก 20 19 รวม 30 100 จากตารางที่ 4 แสดงค่าดัชนีมวลกาย(BMI)ของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติหรือเหมาะสม จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 44 รองลงมาอยู่ในเกณฑ์ท้วม จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 27 เกณฑ์อ้วนมาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 19 เกณฑ์อ้วน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 และ เกณฑ์น้ำหนักน้อยหรือผอม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 ตามลำดับ


ส่วนที่ 3 ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ตารางที่ 5 รับประทานอาหารรสเค็ม หรือมีโซเดียม (เกลือมีปริมาณมากกว่า 1 ช้อนชา/วัน) พฤติกรรม จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่มีรสเค็มเลย 40 37 รับประทานบางวัน 45 42 รับประทานทุกวัน 23 21 รวม 30 100 จากตารางที่ 5 แสดงพฤติกรรมรับประทานอาหารรสเค็ม หรือมีโซเดียม ของกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ส่วนใหญ่ไม่รับประทานรสเค็มบางวัน จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 42 รองลงมาไม่มีรสเค็มเลย จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 37 และ รับประทานทุกวันจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ตามลำดับ

ให้บริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs20 กรกฎาคม 2566
20
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดบริการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs โดยใช้แบบประเมินสุขภาพรายบุคคล มีการจดบันทึกข้อมูลสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูง วัดค่าBMI วัดความัดนเบาหวาน
  • ให้คำปรึกษาและแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้านความรู้ความเข้าใจโรคต่อโรค NCDs โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้รับทราบผลกระทบและสาเหตุของการเกิดโรค NCDs และ สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ 2ส ตามบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
  • ใช้ข้อมูลการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อใช้สำหรับออกแบบกิจกรรมและเป็นข้อมูลตั้งต้น ในการประเมินผลลัพธ์ความเปลี่ยนแปลง
  • ผู้เข้าร่วมจำนวน 115 คน จัด 1  ครั้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs17 กรกฎาคม 2566
17
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ และทำความเข้าใจโครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ โดยการประชาสัมพันธ์ตามบ้าน ร้านค้า ร้านน้ำชา ในพื้นที่ ม.7

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนรับทราบการดำเนินโครงการที่จะมีการดำเนินการในพื้นที่

เวทีอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/256616 กรกฎาคม 2566
16
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานเข้าร่วมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่1/2566

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE เรียนรู้เรื่องการบันทึกข้อมูลลงระบบ และการเงิน

ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ15 กรกฎาคม 2566
15
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำป้ายชื่อโครงการและป้ายบันไดผลลัพท์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีการติดตั้งปป้ายชื่อโครงการฯ และป้ายบันไดผลลัพท์โครงฯ ทุกครั้งที่จัดกิจกรรมในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชนทั่วไปรับทราบและเข้าใจการดำเนินโครงการ

วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs14 กรกฎาคม 2566
14
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าเดินทางไปถอนเงินที่ธนาคาร13 กรกฎาคม 2566
13
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินที่ธนาคาร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินที่ธนาคาร

อบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs2 กรกฎาคม 2566
2
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เบาหวาน ความดันโลหิต โดยวิทยากร...นางมาสีเตาะ นิมาปู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ
  • สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส โดยวิทยากร...นางมาสีเตาะ นิมาปู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เบาหวาน ความดันโลหิต และโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ประกอบด้วย 1.อ อาหาร รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีรสหวานมัน เค็ม มากเกินไป 2. อ ออกกำลังกาย เคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 30 นาที 3.อ อารมณ์ มีการจัดการกับอารมณ์ ฝึกสมาธิและผ่อนคลายเครียด เช่น ฟังเพลง ทำงานอดิเรก พบปะเพื่อน 1.ส ไม่สูบบุหรี่ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพราะเป็นอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้คนรอบข้าง 2.ส ไม่ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงมีความรู้เกี่ยวกับการดูและสุขภาพที่ดี
  • คณะทำงานสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการทำงานในพื้นที่ สามารถนำให้รู้ที่ได้ ไปนำปรึกษาแนะนำกลุ่มเป็นหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการและร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการ30 มิถุนายน 2566
30
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ชี้แจงและทำความเข้าโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี - วางแผนโครงสร้างคณะทำงานและกำหนดบทบาทหน้าที่ - ออกแบบและวางแผนการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความเข้าใจในโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

มีการออกแบบและวางแผนการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เกิดคณะทำงานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์
    ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ มีคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่  รพสต. และ อสม. จำนวน 15 คน           - คณะทำงานมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับกับโรคNCDs           - คณะทำงานมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม     วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ           - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม     วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์  - กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออก  กำลังกายที่เหมาะสม                 - คณะทำงานลงพื้นที่คัดกรองความเปลี่ยนแปลงค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือด    3 เดือน/ครั้ง     วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น     ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์
          - กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 20 ขึ้นไป น้ำหนัก รอบเอว BMI ค่าความดันและค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

เรื่องอื่น ๆ       - นัดหมายอบรมคณะทำงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักต่อโรค NCDs ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00 – 15.30 น. ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต30 มิถุนายน 2566
30
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยา เอี่ยวสกุล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมโครงการตั้งวันที่30มิถุนายน2566 ถึงวันที่31 มกราคม2567ครบถ้วนตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในสัญญาโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลรานงานกิจกรรมโครงการตั้งวันที่30มิถุนายน2566 ถึงวันที่31 มกราคม2567ครบถ้วนตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในสัญญาโครงการ

ถอนเงินกิจกรรม30 มิถุนายน 2566
30
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินที่ธนาคาร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินที่ธนาคาร

อบรมปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NCdstalubo7
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ 6 มิถุนายน 2566
- พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
- รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
- แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
วันที่ 7 มิถุนายน 2566 - รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
- รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความเข้าใจการดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุนและการคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค NCDs หมู่ที่ 7 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีความเข้าใจการเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน