directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนะ หะยีลาเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-027 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-027 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนดและอสม.ในพื้นที่ พบว่าประชากรในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี มีประชากรทั้งหมด จำนวน 502 คน ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 25.89 จำแนกประเภทผู้สูงอายุ พบว่าผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 99.23 เป็นผู้สูงอายุติดบ้าน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.76 และ ผู้สูงอายุ  ที่ติดเตียง จำนวน 0 ราย มีโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 27 คน โรคเบาหวาน จำนวน 11 คน โรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 39 คน มีภาวะซึมเศร้า จำนวน 2 คน นอนหลับไม่สนิท จำนวน 24 คน สายตาผิดปกติ จำนวน 28 คน ผู้สูงอายุ มีการออกกำลังกายเป็นประจำ จำนวน 55 คน และบริโภคอาหารที่เหมาะสม จำนวน 48 คน   จากการสำรวจคัดกรองผู้สูงอายุประจำปี 2565 พบว่า ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีปัญหาเสี่ยง ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ผู้สูงอายุขาดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม ไม่ชอบ ออกกำลังกาย รับประทานอาหารซ้ำๆ เช่น ข้าวยำ บางคนสูบบุหรี่/ดื่มสุรา ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาสุขภาพ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ข้อเข่าเสื่อม ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อตัวผู้สูงอายุเอง  และครอบครัวรวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ด้านสังคม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต่างคนต่างอยู่ขาดการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผู้สูงอายุมีหน้าที่ต้องเลี้ยงหลาน
บางคนไม่ได้อยู่ในชุมชน ไปๆมาๆ ทำให้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่ชุมชนจัดไม่ต่อเนื่อง ไม่สะดวกในการเดินทาง  การเดินทางลำบาก(ไม่มีรถ) มีผลกระทบต่อผู้สูงอายุเองทำให้ไม่ได้รับการยกย่องจากสังคม ขาดการรวมกลุ่ม  ทำกิจกรรมทำให้คุณค่าในตัวเองลดลง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลและสภาพแวดล้อมโดยใช้กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ  ในชุมชนและเพิ่มคุณค่าให้กับตัวเอง เป็นที่ยอมรับของสังคม
ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สถานที่และอุปกรณ์ไม่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมสุขภาพชุมชนไม่มีสถานทีในการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ ขาดผู้นำในการจัดกิจกรรม ไม่มีกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและจิตใจ
ด้านเศรษฐกิจ ปัญหา พบว่า ผู้สูงอายุขาดรายได้ให้กับตัวเองและเพิ่มภาระให้กับครอบครัว หากผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ สามารถเพิ่มรายให้กับตัวเองและครอบครัวทำใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น ดังนั้น เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต  ให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิดเข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึง  และพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือ ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว แม้จะมีการรวมตัวมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน ชุมชนผู้สูงอายุบ้านต้นโตนดจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้
  2. 2.คณะกรรมชมรมผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง
  3. 3.สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home
  4. 4.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชื่อกิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 5 ครั้ง
  2. ชื่อกิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง
  3. ชื่อกิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (ก่อน-หลัง)
  4. ชื่อกิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ
  5. สสส. สนับสนุนงบเพิ่มเติมเพื่อบริหารจัดการจำนวน 10,000 บาท
  6. ชื่อกิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 3 ครั้ง
  7. ชื่อกิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม มีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
  8. ชื่อกิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ
  9. ชื่อกิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  10. ชื่อกิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน (จัดหลังจากการดำเนินงานเสร็จสิ้นแล้ว)
  11. อื่นๆ ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  12. จ่าย ดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุน
  13. อบรมเวทีปฐมนิเทศสนับสนุนการสร้างสุขภาพในพื้นที่จังหวัดปัตตานี
  14. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 (ชี้แจงรายละเอียดโครงการ)
  15. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1/2566
  16. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 (แต่งตั้งคณะทำงานและแบ่งบทบาทหน้าที่)
  17. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่2/2566
  18. กิจกรรมที่ 6.1.1 การออกกำลังกายรำไม้พลอง(ครั้งที่1)
  19. กิจกรรมที่ 6.2.1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 1
  20. ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ
  21. อบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  22. สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (ก่อนทำโครงการ)
  23. กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม มีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยพิจารณาตามสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่
  24. กิจกรรมที่ 6.3.1 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 1
  25. อบรมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุในการคัดกรองและจัดทำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุเพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้น
  26. ค่าทำป้ายที่ทำการชมรมผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่1
  27. ค่าทำป้ายสวนสมุนไพร
  28. ค่าป้ายชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด จำนวน 4 ชนิด
  29. ค่าปั้มตรายางโครงการ
  30. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ (อบรมสมุนไพรและปลูกพืชสมุนไพรผลิตลูกประคบ)
  31. ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์
  32. ค่าป้ายข้อตกลงของชุมชน
  33. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่3/2566
  34. กิจกรรมที่ 6.1.2 การออกกำลังกายกะลาบิคยางยืด (ครั้งที่2)
  35. กิจกรรมที่ 6.2.2 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2
  36. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 (วางแผนออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับผู้สูงอายุ)
  37. กิจกรรมที่ 6.1.3 การออกกำลังกายยางยืด (ครั้งที่3)
  38. กิจกรรมที่ 6.2.3 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 3
  39. กิจกรรมที่ 6.3.2 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 2
  40. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4 (เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม)
  41. ค่าทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์
  42. กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  43. กิจกรรมที่ 6.1.4 การออกกำลังกายเต้นบาสโลบ (ครั้งที่4)
  44. กิจกรรมที่ 6.2.4 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 4
  45. กิจกรรมที่ 6.2.5 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 5
  46. กิจกรรมที่ 6.3.3 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 3
  47. คืนค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย
  48. กิจกรรมที่ 6.2.6 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6
  49. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5 (สรุปผลการดำเนินงาน)
  50. สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (หลังทำโครงการ)
  51. กิจกรรมที่ 9 เวที สรุปบทเรียนการดำเนินงาน
  52. ค่าทำป้ายไวนิล x stand

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด 129

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้าง เสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้

  2. คณะกรรมการผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง

  3. สำรวจจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน

  4. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเวทีปฐมนิเทศสนับสนุนการสร้างสุขภาพในพื้นที่จังหวัดปัตตานี

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีความรู้การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย 2.การบันทึกโปรแกรมตามแผนโครงการ 3.มีความรู้เรื่องการเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน

 

0 0

2. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 (ชี้แจงรายละเอียดโครงการ)

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 เพื่อประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 และคัดเลือกคณะกรรมการเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการของโครงการฯ ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 22 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแกนนำที่ได้รับคัดเลือกเป็นคณะกรรมการ จำนวน 16 คน 2.คณะกรรมการมีความเข้าใจรายละเอียดโครงการทั้งหมด

 

16 0

3. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1/2566

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด ครั้งที่ 1 เพื่อประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 และร่วมกำหนดข้อตกลงในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
ณ ลานอาคารเอนกประสงค์โรงเรียนบ้านต้นโตนด ในวันที่ 23 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2566
เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความเข้าใจรายละเอียดโครงการและร่วมกำหนดข้อตกลงในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
  2. เกิดข้อตกลงในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน ดังนี้
          -ออกกำลังร่วมกันสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ทุกวันจันทร์/พุธ/ศุกร์ ได้แก่ วันจันทร์รำไม้พลอง วันพุธยางยืด วันศุกร์กะลาบิดยางยืด
          -ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม ทุกมื้ออาหารให้เน้นผัก       -ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง       -ผู้สูงอายุมาทำกิจกรรมวันพระ เดือนละ 1 ครั้ง
          -เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง

 

65 0

4. กิจกรรมที่ 6.3.1 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 1

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.3 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 1 โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1 คน คณะกรรมการชมรมและผู้สูงอายุลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในลักษณะ “เพื่อนช่วยเพื่อน” โดยเป็นไปในลักษณะของการให้กำลังใจ  และเยียวยาจิตใจ ณ บ้านเลขที่ 13/2 หมู่ที่ 1 บ้านต้นโตนด ในวันที่ 25 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 15.00 น. – 16.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน หมู่1 บ้านต้นโตนด จำนวน 1คนได้รับการเยี่ยมบ้าน “เพื่อนช่วยเพื่อน”โดยเป็นไปในลักษณะของการให้กำลังใจและเยียวยาจิตใจ

 

0 0

5. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 (แต่งตั้งคณะทำงานและแบ่งบทบาทหน้าที่)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 เพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด
ในวันที่ 3 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.กิจกรรมที่ 4

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดแกนนำคณะกรรมการที่ได้จากการคัดเลือกแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 16 คน
  2. แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบแก่คณะกรรมการตามกิจกรรมอย่างชัดเจน

 

0 0

6. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่2/2566

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด ครั้งที่ 2 เพื่อประชุมติดตามพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุสุขภาพ
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด
ในวันที่ 7 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566
เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่ได้ดำเนินการไปแล้ว 2. ผู้สูงอายุเกิดการวางแผนและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน 3. มีการกำหนดรูปแบบการออกกำลังกาย รำไม้พลองทุกๆวันจันทร์ ยางยืดทุกวันพุธ กะลาบิดยางยืดทุกๆวันศุกร์ สัปดาห์ละ 3 ครั้งนาน 30 นาที ในกรณีผู้สูงอายุที่มาร่วมออกกำลังกายไม่ไหวให้ออกกำลังกายที่บ้าน
4.แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเช่นการเตรียมสถานที่ อุปกรณ์เครื่องเสียง

 

0 0

7. กิจกรรมที่ 6.1.1 การออกกำลังกายรำไม้พลอง(ครั้งที่1)

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.1 การออกกำลังกายแบบรำไม้พลอง (ครั้งที่ 1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายร่วมกัน โดยมีแกนนำเป็นวิทยากรสอนออกกำลังกายในครั้งนี้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด
ในวันที่ 10 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566
เวลา 16.00 น. – 17.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน มีการออกกำลังกายร่วมกันแบบรำไม้พลอง โดยมีวิทยากรสอนการออกกำลังกายที่ถูกต้องจากเจ้าหน้าที่รพ.สต.คลองทราย นาน 1 ชั่วโมง
  2. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันและออกกำลังกายที่บ้านในรายที่ออกมาร่วมไม่ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ได้แก่ วันจันทร์รำไม้พลอง วันพุธยางยืด วันศุกร์กะลาบิคยางยืด

 

65 0

8. กิจกรรมที่ 6.2.1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 1

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรมครั้งที่ 1 มีการทำบุญ ตักบาตร มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในหัวข้อเรื่อง “ความสุขด้านที่ 5 สุขสงบ” วิทยากรสอน นางรื่นฤดี ยามเย็น ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด จำนวน 1 ชั่วโมง ณ วัดบุพนิมิต ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ในวันที่ 10 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 09.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรม ครั้งที่ 1 มีการทำบุญ ตักบาตร ในวันจันทร์ ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.00 น. – 09.00 น. ณ วัดบุพนิมิตร ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
  2. วิทยากรสอน นางรื่นฤดี ยามเย็น ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด
  3. กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้สูงอายุจำนวน 65 คน
  4. ผู้สูงอายุเกิดความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของความสุขด้านที่ 5 สุขสงบ
  5. ผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

9. ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิล สถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย
  2. ป้ายชื่อโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 ป้าย

 

0 0

10. อบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 อบรมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 เพื่อให้คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 14 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการเข้าร่วมอบรมจำนวน 16 คน
  2. เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้
  3. คณะกรรมการผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การพลัดตกหกล้ม
  4. คณะกรรมการผู้สูงอายุมีความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
  5. คณะกรรมการผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันและสามารถให้คำแนะนำแก่สมาชิกในครอบครัวรวมถึงผู้สูงอายุในชุมชน

 

16 0

11. สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (ก่อนทำโครงการ)

วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูล และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ก่อนดำเนินโครงการ
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 17 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการช่วยกันสำรวจข้อมูลตามแบบฟอร์มคัดกรองสุขภาพ ร่วมด้วยทีมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.และอสม.ม.1 ทุกคน พร้อมให้กำลังใจสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย เช่นการออกกำลังกาย การกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพลดอาหารที่หวาน มัน เค็ม มีการทำบุญ ฟังบรรยายธรรมเพื่อให้จิตใจสุขสงบ
  2. มีการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุครั้งที่ 1 และบันทึกผลในเอกสาร โดยทีมสหวิชาชีพ มาตรวจคัดกรอง ADL ตรวจสุขภาพช่องปาก ตรวจข้อเข่าเสื่อม ตรวจสายตา ตรวจภาวะหกล้มและตรวจประเมินภาวะสมองเลื่อมของผู้สูงอายุ

 

16 0

12. กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม มีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยพิจารณาตามสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุกลุ่ม 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม และสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ มีความรู้การดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกาย การรับประทานอาหารในผู้สูงวัย การหลีกเลี่ยงสิ่งบั่นทอนสุขภาพ
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้สูงอายุเข้าร่วมอบรมจำนวน 65 คน
  2. ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีความรููุ้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกาย การรับประทานอาหารในผู้สูงวัย การหลีกเลี่ยงสิ่งบั่นทอนสุขภาพ
  3. ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

65 0

13. อบรมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุในการคัดกรองและจัดทำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุเพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้น

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 อบรมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 เรื่องแนวทางในการคัดกรองผู้สูงอายุและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุเพื่อใช้สำหรับออกแบบกิจกรรมและเป็นข้อมูลตั้งต้น(baseline)ในการประเมินผลลัพท์ความเปลี่ยนแปลง ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 27 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจถึงแนวทางในการคัดกรองผู้สูงอายุ 2.คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุสามารถจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด ออกแบบกิจกรรม เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้น และการประเมินผลลัพธ์

 

0 0

14. ค่าป้ายชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด จำนวน 4 ชนิด

วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด จำนวน 4 ชนิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด จำนวน 4 ชนิดได้แก่ ตะไคร้ ขมิ้น ไพล มะกรูด จำนวน 1,200 บาท

 

0 0

15. ค่าทำป้ายสวนสมุนไพร

วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิล สวนสมุนไพรชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด จำนวน 1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายสวนสมุนไพรชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด 1 ป้าย จำนวน 1,000 บาท

 

0 0

16. ค่าทำป้ายที่ทำการชมรมผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่1

วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิล ที่ทำการชมรมผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่1 จำนวน 1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายที่ทำการชมรมผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่1 จำนวน 1 ป้าย จำนวน 1,000 บาท

 

0 0

17. ค่าปั้มตรายางโครงการ

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำปั้มตรายางโครงการ จำนวน 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปั้มตรายางโครงการ จำนวน 1ชุด ราคา 535 บาท

 

0 0

18. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ (อบรมสมุนไพรและปลูกพืชสมุนไพรผลิตลูกประคบ)

วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 7
1. การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการปลูกพืชสมุนไพรผลิตลูกประคบและสมุนไพรแก้ข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 3 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.
2. ลงพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพรเพื่อผลิตลูกประคบ ณ บริเวณอาคารผลิตลูกประคบบ้านต้นโตนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุเล็งเห็นความสำคัญของสมุนไพรท้องถิ่นและนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
  2. ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มเพื่อสร้างอาชีพให้มีรายได้เพื่อปัญหาด้านเศรษฐกิจ
  3. มีวัตถุดิบในการผลิตลูกประคบสมุนไพรโดยไม่ต้องซื้อ
  4. ชมรมผู้สูงอายุมีการผลิตลูกประคบอย่างต่อเนื่อง เป็นการสร้างจุดเด่นของชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด

 

50 0

19. ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายบันไดผลลัพท์ 1 ผืน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิลบันไดผลลัพท์ 1 ผืน จำนวน 500 บาท

 

0 0

20. ค่าป้ายข้อตกลงของชุมชน

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโฟมบอร์ด ข้อตกลงร่วมกันของชุมชน จำนวน 1 แผ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โฟมบอร์ด ข้อตกลงร่วมกันของชุมชน 1แผ่น จำนวน 500 บาท

 

0 0

21. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่3/2566

วันที่ 7 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด ครั้งที่ 3 เพื่อนำผลจากการคืนข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ มาวางแผนและปรับปรุงการ ดำเนินงานให้บรรลุตามผลลัพธ์มากยิ่งขึ้น ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นำผลจากการคืนข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ มาวางแผนและปรับปรุงการ ดำเนินงานให้บรรลุตามผลลัพธ์มากยิ่งขึ้น
  2. ผู้สูงอายุมีการปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันดังนี้ -ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ -ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม ทุกมื้ออาหารให้เน้นผัก ผลไม้ -ตรวจประเมินภาวะสุขภาพและประเมินความสุขอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง -ผู้สูงอายุมีการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่องเช่นทำบุญ ตักบาตร นั่งสมาธิ ไปวัด กิจกรรมจิตอาสา -เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้านและติดเตียงทุก 2 เดือนครั้ง จำนวน 1 คน
  3. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีความเข้าใจและรับทราบถึงบันไดผลลัพธ์ในแต่ละขั้น

 

0 0

22. กิจกรรมที่ 6.1.2 การออกกำลังกายกะลาบิค(ครั้งที่2)

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.1 การออกกำลังกายแบบกะลาบิคยางยืด ครั้งที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายร่วมกัน โดยมีแกนนำเป็นวิทยากรสอนออกกำลังกายในครั้งนี้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 เวลา 16.00 น. – 17.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน มีการออกกำลังกายร่วมกันแบบกะลาบิคยางยืด โดยมีวิทยากรสอนการออกกำลังกายที่ถูกต้องจาก แกนนำอสม.หมู่ 1 นาน 1 ชั่วโมง
  2. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันและออกกำลังกายที่บ้านในรายที่ออกมาร่วมไม่ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์

 

0 0

23. กิจกรรมที่ 6.2.2 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรมครั้งที่ 2 มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ในหัวข้อเรื่อง “เคล็ดลับความสุข 5 มิติสำหรับผู้สูงอายุ”
เรียนเชิญ นางสาวการีมะห์ สะดี ตำแหน่ง นักจิตวิทยาชำนาญการ โรงพยาบาลแม่ลาน ร่วมเป็นวิทยากร จำนวน 1 ชั่วโมง ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 เวลา 10.00 น. – 11.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุจำนวน 65 คน ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง “เคล็ดลับความสุข 5 มิติสำหรับผู้สูงอายุ”
  3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้มาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

 

0 0

24. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 (วางแผนออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับผู้สูงอายุ)

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 เพื่อวางแผน และออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 23 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงการวางแผนและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน และกำหนดรูปแบบการออกกำลังกาย รำไม้พลอง กะลาบิก ยางยืด ซึ่งได้มติ การออกกำลังกาย รำไม้พลองทุกๆวันจันทร์ ยางยืดทุกวันพุธ กะลาบิดยางยืดทุกๆวันศุกร์ สัปดาห์ละ 3 ครั้งนาน 30 นาที ในกรณีผู้สูงอายุที่มาร่วมออกกำลังกายไม่ไหวให้ออกกำลังกายที่บ้าน
  2. แบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย   - เตรียมสถานที่ รับผิดชอบ โดย นายจรูญ พรหมมีฤทธิ์   - เครื่องเสียง และอุปกรณ์ออกกำลังกาย รับผิดชอบโดย นางระรินทิพย์ พรหมดำเนิน   - แจ้งสมาชิกเพื่อเข้าร่วม กิจกรรมออกกำลังกาย รับผิดชอบโดย นายเยื้อน พุฒยอด

 

0 0

25. กิจกรรมที่ 6.1.3 การออกกำลังกายยางยืด (ครั้งที่3)

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.1 การออกกำลังกายแบบยางยืด (ครั้งที่ 3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายร่วมกัน โดยมีแกนนำเป็นวิทยากรสอนออกกำลังกาย ในครั้งนี้
ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 14 เดือน กันยายน พ.ศ.2566 เวลา 16.00 น. – 17.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน มีการออกกำลังกายร่วมกันแบบยางยืด โดยมีวิทยากรสอนการออกกำลังกายที่ถูกต้องจากเจ้าหน้าที่รพ.สต.ป่าไร่ นาน 1 ชั่วโมง
  2. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันและออกกำลังกายที่บ้านในรายที่ออกมาร่วมไม่ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ได้แก่ วันจันทร์รำไม้พลอง วันพุธยางยืด วันศุกร์กะลาบิคยางยืด

 

0 0

26. กิจกรรมที่ 6.2.3 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 3

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุมีการทำบุญ ตักบาตร และบรรยายธรรมครั้งที่ 3 มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ในหัวข้อเรื่อง “ศาสนาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ” เรียนเชิญ พระสมุห์อุดม ฐิตญาโณ (อุดม เอกธัญ) ร่วมเป็นวิทยากร
ณ อาคารเอนกประสงค์โรงเรียนบ้านต้นโตนด ในวันที่ 14 เดือน กันยายน พ.ศ.2566 เวลา 14.00 น. – 15.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุจำนวน 65 คน ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง “ศาสนาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ”
  3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้มาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

 

0 0

27. กิจกรรมที่ 6.3.2 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 2

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.3 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 2 โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1 คน คณะกรรมการชมรมและผู้สูงอายุลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในลักษณะ “เพื่อนช่วยเพื่อน”
ณ บ้านเลขที่ 13/2 หมู่ที่ 1 บ้านต้นโตนด ในวันที่ 15 เดือน กันยายน พ.ศ.2566 เวลา 15.00 น. – 16.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน หมู่ที่ 1 บ้านต้นโตนด จำนวน 1คนได้รับการเยี่ยมบ้านจากทีมคณะกรรมการชมรมและสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ “เพื่อนช่วยเพื่อน”โดยเป็นไปในลักษณะของการให้กำลังใจและเยียวยาจิตใจ

 

0 0

28. ค่าทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์และรวบรวมเอกสารหลักฐานทางการเงินเป็นรูปเล่ม

 

0 0

29. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4 (เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม)

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4 เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม รวมถึงการร่วมกันให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การแก้ไขปัญหาอุปสรรคและการปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 22 เดือน กันยายน พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความ ก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม รวมถึงการร่วมกันให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การแก้ไขปัญหาอุปสรรคและการปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  2. เกิดการติดตามความก้าวหน้าในชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตามข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุดังนี้       -ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ       -ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม ทุกมื้ออาหารให้เน้นผัก ผลไม้       -ตรวจประเมินภาวะสุขภาพและประเมินความสุขอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง       -ผู้สูงอายุมีการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่องเช่นทำบุญ ตักบาตร นั่งสมาธิ ไปวัด กิจกรรมจิตอาสา       -เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้านและติดเตียงทุก 2 เดือนครั้ง จำนวน 1 คน

 

0 0

30. กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ

วันที่ 11 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้สูงอายุ เพื่อติดตามและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง และผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย (การออกกำลังกาย การกินอาหาร)
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 11 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 50 คน
  2. คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุมีการติดตามและให้กำลังใจสมาชิกชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย เช่นการออกกำลังกายทุกจันทร์ พุธ ศุกร์ การกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพลดอาหารที่หวาน มัน เค็ม มีการทำบุญ ฟังบรรยายธรรมเพื่อให้จิตใจสุขสงบ
  3. ติดตามผลการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการตรวจสุขภาพหลังจากได้ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพต่างๆในช่วงระยะเวลา 4 เดือนที่ผ่านมา
  4. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย มีการออกกำลังกาย การกินอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม
  5. มีการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุครั้งที่ 2 และบันทึกผลในเอกสาร
  6. คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุทำการคืนข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุให้แก่ชมรมผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุ

 

50 0

31. กิจกรรมที่ 6.1.4 การออกกำลังกายเต้นบาสโลบ (ครั้งที่4)

วันที่ 12 ตุลาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.1 การออกกำลังกายแบบบาสโลบ (ครั้งที่ 4) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายร่วมกัน โดยมีแกนนำเป็นวิทยากรสอนออกกำลังกายในครั้งนี้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566 เวลา 16.00 น. – 17.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน มีการออกกำลังกายร่วมกันแบบบาสโลบ โดยมีวิทยากรสอนการออกกำลังกายที่ถูกต้องจากแกนนำอสม.หมู่ 1 บ้านต้นโตนด นาน 1 ชั่วโมง
  2. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายร่วมกันและออกกำลังกายที่บ้านในรายที่ออกมาร่วมไม่ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ได้แก่ วันจันทร์รำไม้พลอง วันพุธยางยืด วันศุกร์กะลาบิคยางยืด

 

0 0

32. กิจกรรมที่ 6.2.4 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 4

วันที่ 12 ตุลาคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรมครั้งที่ 4 มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในหัวข้อเรื่อง “ใช้หลักธรรมอย่างไร ให้มีความสุขในชีวิตประจำวัน”
เรียนเชิญ พระสมุห์อุดม ฐิตญาโณ (อุดม เอกธัญ) ร่วมเป็นวิทยากร จำนวน 1 ชั่วโมง ณ วัดทุ่งพลานุภาพ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ในวันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566 เวลา 14.00 น. – 15.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุจำนวน 65 คน ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“ใช้หลักธรรมอย่างไร ให้มีความสุขในชีวิตประจำวัน”
  3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้มาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

 

0 0

33. กิจกรรมที่ 6.2.5 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 5

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรมครั้งที่ 5 มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ในหัวข้อเรื่อง “การปฏิบัติธรรมในผู้สูงอายุ”
เรียนเชิญ พระสมุห์อุดม ฐิตญาโณ (อุดม เอกธัญ) ร่วมเป็นวิทยากร จำนวน 1 ชั่วโมง ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2566 เวลา 14.00 น. – 15.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุจำนวน 65 คน ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง “การปฏิบัติธรรมในผู้สูงอายุ”
  3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้มาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

 

0 0

34. กิจกรรมที่ 6.3.3 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 3

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.3 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียง ในชุมชน ครั้งที่ 3 โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1 คน คณะกรรมการชมรมและผู้สูงอายุลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในลักษณะ “เพื่อนช่วยเพื่อน” โดยเป็นไปในลักษณะของการให้กำลังใจ  และเยียวยาจิตใจ ณ บ้านเลขที่ 13/2 หมู่ที่ 1 บ้านต้นโตนด ในวันที่ 10 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2566 เวลา 15.00 น. – 16.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน หมู่ที่ 1 บ้านต้นโตนด จำนวน 1คนได้รับการเยี่ยมบ้านจากทีมคณะกรรมการชมรมและสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ “เพื่อนช่วยเพื่อน”โดยเป็นไปในลักษณะของการให้กำลังใจและเยียวยาจิตใจ

 

0 0

35. คืนค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เบิกค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เบิกค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย จำนวน 500บาท

 

0 0

36. กิจกรรมที่ 6.2.6 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6.2 การส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ทำบุญ ตักบาตร และบรรยายธรรมครั้งที่ 6 มีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน โดยให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ในหัวข้อเรื่อง “หลักธรรมประจำใจ โดยใช้พรมวิหาร 4 ของผู้สูงอายุ”
เรียนเชิญ พระสมุห์อุดม ฐิตญาโณ (อุดม เอกธัญ) ร่วมเป็นวิทยากร จำนวน 1 ชั่วโมง ณ วัดบุพนิมิต ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ในวันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 เวลา 14.00 น. – 15.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุจำนวน 65 คน ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง “หลักธรรมประจำใจ โดยใช้พรมวิหาร 4 ของผู้สูงอายุ”
  3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้มาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

 

0 0

37. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5 (สรุปผลการดำเนินงาน)

วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานส่งแก่ สสส.
ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 8 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชุมณะกรรมการจำนวน 16 คน ณ รพ.สต.บ้านต้นโตนด เพื่อติดตามผลการดำเนินกิจกรรมตลอดที่ผ่าน
  2. ชี้แจงปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขแก่คณะกรรมการรับทราบ
  3. วางแผนรูปแบบการจัดกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน

 

0 0

38. สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (หลังทำโครงการ)

วันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (หลังทำโครงการ) ณ ห้องประชุมต้นโตนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นโตนด ในวันที่ 25 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงบันไดผลลัพท์ว่าปัจจุบันดำเนินการ จนถึงบันไดขั้นที่ 3 ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ติดตามผลการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุเฉพาะผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 65 คน โดยให้คณะกรรมการช่วยกันรวบรวมข้อมูลผลการคัดกรองสุขภาพและบันทึกผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  3. สรุปผลการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล
          - ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (ร้อยละ50 ของผู้สูงอายุจำนวน 129 คน) มีการออกกำลังกายประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที ในระยะเวลาโครงการต่อเนื่อง 6 เดือน
          - ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (ร้อยละ50 ของผู้สูงอายุจำนวน 129 คน) มีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง เช่น ไม่ทานอาหารประเภทหวาน มัน เค็ม ในรายเป็นโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคของตนเองได้ไม่มี
            ภาวะแทรกซ้อน ส่วนกลุ่มปกติไม่เกิดโรคและกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 50.38       - ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (ร้อยละ50 ของผู้สูงอายุจำนวน 129 คน) ร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต เดือนละ 1 ครั้ง
  4. เก็บข้อมูลสรุปผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้สูงอายุ คัดเลือดบุคคลต้นแบบ จำนวน 13 คน

 

0 0

39. กิจกรรมที่ 9 เวที สรุปบทเรียนการดำเนินงาน

วันที่ 27 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน เพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย และคืนข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ณ อาคารเอนกประสงค์โรงเรียนบ้านต้นโตนด ในวันที่ 27 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆสมาชิกชมรมมีพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น โดยสมาชิกจะปฏิบัติตาม มาตรการข้อตกลงของชุมชนที่กำหนดไว้คือ
    • ออกกำลังร่วมกันสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ทุกวันจันทร์/พุธ/ศุกร์ ได้แก่ วันจันทร์รำไม้พลอง วันพุธยางยืด วันศุกร์กะลาบิดยางยืด
    • ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม ทุกมื้ออาหารเน้นการทานผักเป็นหลักและการทำบุญใส่บาตรต้องเป็นอาหารที่ดีถูกหลักโภชนาการ
    • ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง
    • ผู้สูงอายุมาทำกิจกรรมวันพระ เดือนละ 1 ครั้ง
    • เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง
  2. คืนข้อมูลการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุติดสังคมทั้งหมดในชุมชนหมู่ 1 บ้านต้นโตนด มีจำนวน 129 คน ตั้งแต่ก่อนดำเนินโครงการผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 67.44 และออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 32.55 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 72.8 ผู้สูงอายุขาดการยกย่องจากสังคม ขาดการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต สุขภาพกาย และยังไม่มีสมาชิกชมรมที่เป็นบุคคลต้นแบบ
  3. หลังจากสิ้นสุดโครงการ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการออกกำลังกายทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เช่นรำไม้พลอง กะลาบิค ยางยืด และเต้นบาสโลบอย่างสม่ำเสมอเพิ่มขึ้น จากเดิมจำนวน 42 คน เพิ่มขึ้นเป็น จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 54.26 สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง เช่น ไม่ทานอาหารประเภทหวาน มัน เค็ม ในรายเป็นโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคของตนเองได้ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ส่วนกลุ่มปกติไม่เกิดโรคและกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 50.38 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต เดือนละ 1ครั้ง จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 50.38 และมีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 13 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 65 คน คิดเป็นร้อยละ 20 หลังจากนี้เป็นต้นไปขอให้ชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นโตนด มีพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและเหมาะสมตลอดไปเรื่อยๆ
  4. สรุปบทเรียนการดำเนินงาน
    • ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เกิดแกนนำคณะกรรมการโครงการและคณะทำงาน จำนวน 16 คน ที่เข้าใจเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนและสามารถติดตามพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง เกิดบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จำนวน 13 คน
    • ปัญหาอุปสรรค ผู้สูงอายุบางส่วนยังไม่ให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และมีผู้สูงอายุอีกบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ เนื่องจากเป็นผู้สูงอายุ ที่ประกอบอาชีพรับจ้างและทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาฝนฟ้าอากาศฝนตกบ่อยทำให้มารวมตัวออกกำลังกายลำบากแต่ทุกคนก็สามารถออกกำลังกายที่บ้านได้     - ข้อเสนอแนะ จากการสรุปผลการดำเนินงาน และผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงาน/กิจกรรมโครงการ และการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 จะเห็นได้ว่าสามารถดำเนินได้สำเร็จลุล่วงบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยสรุปได้จากการตอบรับเข้าร่วมอบรมของผู้สูงอายุเป็นไปตามเป้าหมายที่ได้วางเอาไว้ ส่วนในการดำเนินโครงการในครั้งต่อไปต้องเพิ่มในด้านระยะเวลาการอบรมเพื่อให้ได้ความรู้และร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มพูนทักษะเพิ่มขวัญและกำลังใจ ทำให้ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ร่วมกิจกรรมสร้างความสุขสนุกสนานและความรู้สึกไม่ถูกทอดทิ้ง เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุต่อไป

 

50 0

40. ค่าทำป้ายไวนิล x stand

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิล x stand ขนาด 180 x 80 จำนวน 1ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิล x stand ขนาด 180 x 80 จำนวน 1ป้าย

 

0 0

41. จ่าย ดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุน

วันที่ 29 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่าย ดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุนฯ จำนวน 46.39 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จ่าย ดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะกรรมการดำเนินโครงการที่ร่วมดำเนินการในทุกขั้นตอนอย่างน้อย 16 คน มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนคุ้มบ้าน อปท. รพ.สต. เป็นต้น 2. มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 3. มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนที่ครบถ้วนเพื่อออกแบบกิจกรรม เช่น จำนวนและประเภทผู้สูงอายุ ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านสังคม เป็นต้น 4. ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตาม ข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุ

 

2 2.คณะกรรมชมรมผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2. ร้อยละ 100 ของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร การพลัดตกหกล้ม

 

3 3.สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home
ตัวชี้วัด : 1. มีฐานข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน จำนวน 129 คน รวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำทุกเดือน 2. มีผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 50 จำนวน 65 คน

 

4 4.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 129 คน) มีการออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที ในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 2. ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 129 คน) เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง 3. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนทุกคน จำนวน 1 คน (ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชน) ได้รับการเยี่ยมบ้านเป็นประจำอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 4. ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 129 คน) มีพฤติกรรมเหมาะสมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ 5. ผู้สูงอายุ จำนวน 65 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 129 คน) ได้รับการประเมินความสุขด้านที่ 5 สุขสงบ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 129
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด 129

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ (2) 2.คณะกรรมชมรมผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง (3) 3.สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (4) 4.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 5 ครั้ง (2) ชื่อกิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง (3) ชื่อกิจกรรมที่ 3 สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (ก่อน-หลัง) (4) ชื่อกิจกรรมที่ 6  จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ (5) สสส. สนับสนุนงบเพิ่มเติมเพื่อบริหารจัดการจำนวน 10,000 บาท (6) ชื่อกิจกรรมที่ 4  ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 3 ครั้ง (7) ชื่อกิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม มีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง (8) ชื่อกิจกรรมที่ 7  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ (9) ชื่อกิจกรรมที่ 8  การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (10) ชื่อกิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน  (จัดหลังจากการดำเนินงานเสร็จสิ้นแล้ว) (11) อื่นๆ ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (12) จ่าย ดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุน (13) อบรมเวทีปฐมนิเทศสนับสนุนการสร้างสุขภาพในพื้นที่จังหวัดปัตตานี (14) ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 (ชี้แจงรายละเอียดโครงการ) (15) ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่1/2566 (16) ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ  ครั้งที่ 2 (แต่งตั้งคณะทำงานและแบ่งบทบาทหน้าที่) (17) ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่2/2566 (18) กิจกรรมที่ 6.1.1 การออกกำลังกายรำไม้พลอง(ครั้งที่1) (19) กิจกรรมที่ 6.2.1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 1 (20) ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ (21) อบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (22) สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (ก่อนทำโครงการ) (23) กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคม มีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยพิจารณาตามสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ (24) กิจกรรมที่ 6.3.1 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 1 (25) อบรมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุในการคัดกรองและจัดทำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุเพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้น (26) ค่าทำป้ายที่ทำการชมรมผู้สูงอายุชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่1 (27) ค่าทำป้ายสวนสมุนไพร (28) ค่าป้ายชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด จำนวน 4 ชนิด (29) ค่าปั้มตรายางโครงการ (30) กิจกรรมที่ 7  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ (อบรมสมุนไพรและปลูกพืชสมุนไพรผลิตลูกประคบ) (31) ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์ (32) ค่าป้ายข้อตกลงของชุมชน (33) ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่3/2566 (34) กิจกรรมที่ 6.1.2 การออกกำลังกายกะลาบิคยางยืด (ครั้งที่2) (35) กิจกรรมที่ 6.2.2 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2 (36) ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ  ครั้งที่ 3 (วางแผนออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับผู้สูงอายุ) (37) กิจกรรมที่ 6.1.3 การออกกำลังกายยางยืด (ครั้งที่3) (38) กิจกรรมที่ 6.2.3 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 3 (39) กิจกรรมที่ 6.3.2 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 2 (40) ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ  ครั้งที่ 4 (เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม) (41) ค่าทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ (42) กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (43) กิจกรรมที่ 6.1.4 การออกกำลังกายเต้นบาสโลบ (ครั้งที่4) (44) กิจกรรมที่ 6.2.4 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 4 (45) กิจกรรมที่ 6.2.5 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 5 (46) กิจกรรมที่ 6.3.3 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 3 (47) คืนค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย (48) กิจกรรมที่ 6.2.6 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6 (49) ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ  ครั้งที่ 5 (สรุปผลการดำเนินงาน) (50) สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad @home (หลังทำโครงการ) (51) กิจกรรมที่ 9 เวที สรุปบทเรียนการดำเนินงาน (52) ค่าทำป้ายไวนิล x stand

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นโตนด หมู่ 1 ตำบลป่าไร่ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-027

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนะ หะยีลาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด