directions_run

โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำอย่างมีส่วนร่วมพื้นที่ตำบลจะบังติกอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำอย่างมีส่วนร่วมพื้นที่ตำบลจะบังติกอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-028 มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด และการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำอย่างถูกวิธี (2) เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อความปลอดภัยทางน้ำของเด็กในระดับครัวเรือนและชุมชน มีระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000 บาท
      การดำเนินโครงการฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานจากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และแกนนำชุมชนในพื้นที่รินคลองจะบังติกอ อ.เมือง จ.ปัตตานี จำนวน 10 คน เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมภายใต้โครงการฯบทบาทของคณะกรรมการมีส่วนสำคัญในการการหนุนเสริมการดำเนินงานให้เกิดความสำเร็จ (1) มีการจัดโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน (2) มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละบุคคล (3) มีการประชุมหารือวางแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (4)มีทีมวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญตามกิจกรรมที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ 45 คน ประกอบด้วย เด็ก ช่วงอายุ 9-15 ปี จำนวน 30 คน และแกนนำชุมชน ผู้ปกครอง จำนวน 15 คน โดยมีกิจกรรมในการดำเนินงาน 10 กิจกรรม มีผลลัพธ์ในการกิจกรรม ดังนี้ (1)เกิดคณะทำงาน จำนวน 10 คน แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้ปกครองและสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา มอ. (2)คณะทำงานมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีการทบทวนทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและการช่วยเหลือผู้อื่นอย่างถูกวิธี คณะทำงานทุกท่านสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและถ่ายทอดได้อย่างถูกวิธี (3)มีข้อมูลสถานการณ์การจมน้ำของเด็ก สภาพพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่ 1 ชุด ที่ประกอบไปด้วย ข้อมูลพื้นฐานชุมชน เป็นชุมชนติดริมแม่น้ำเกิดน้ำท่วมซ้ำซากทุกปี มีอุบัติเหตุทางน้ำบ่อยครั้งล่าสุดปี 2564 มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ จากการสำรวจได้แผนที่จุดเสี่ยง ข้อมูลความเสี่ยงต่างๆที่ส่งผลต่อการจมน้ำของเด็กช่วงเวลาปกติและช่วงน้ำท่วม (4)เด็กจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 84 มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและทราบแนวทางปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง (5)เด็กจำนวน 28 คน ร้อยละ 87 มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด ได้แก่ การควบคุมระบบหายใจใต้น้ำ การลอยตัว การเคลื่อนตัวในน้ำ (6) เด็กจำนวน 30 คน ร้อยละ 94 มีทักษะการช่วยเหลือผู้อื่นอย่างถูกวิธีตามหลัก ตะโกน โยน ยื่น (7)แกนนำชุมชน ผู้ปกครอง จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 94 มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำและทราบแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง (8)แกนนำชุมชน ผู้ปกครอง จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีทักษะการช่วยเหลือผู้อื่นจากการจมน้ำอย่างถูกวิธีตามตามหลัก ตะโกน โยน ยื่น (9)มีแผนที่วิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการจมน้ำของเด็ก 1 ชิ้น (10)จุดเสี่ยงในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 3 จุด คิดเป็นร้อยละ 80 ของจำนวนจุดเสี่ยงที่ชุมชนแก้ไขได้ ดังนี้ ศาลาริมน้ำ ลานอเนกประสงค์ บริเวณเส้นทางชุมชนริมคลอง (11)วิธีการแก้ไขจุดเสี่ยงที่ดำเนิน การมีความเหมาะสมสามารถลดอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงนั้นๆ ได้จริงดังนี้ ติดป้ายเตือนต่าง ๆ มีการจัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือ มีสื่อความความรู้วิธีการช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นกรณีจมน้ำ (12)จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่แก้ไขปรับปรุงลดลงจากเดิม จาก 2 ครั้ง เป็น 0 ครั้ง
    บทบาทของคณะกรรมการในการหนุนเสริมการดำเนินงานให้เกิดความสำเร็จของโครงการครั้งนี้ ดังนี้ (1) มีการจัดโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน (2) มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละบุคคล (3) มีการประชุมหารือวางแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (4) มีทีมวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญตามกิจกรรมที่ดำเนินการ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ