directions_run

ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สมาคมรักษ์ทะเลไทย


“ ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน ”

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นาย ปิยะดา เด็นเก

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน

ที่อยู่ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ S-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สมาคมรักษ์ทะเลไทย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ S-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สมาคมรักษ์ทะเลไทย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งกลุ่มองค์กรชาวประมงพื้นบ้านให้เกิดความเข้มแข็ง
  2. เพื่อให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำในชุมชนอย่างยั่งยืน
  3. แกนนำชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะ โดย การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเลปลอดภัยและมาจากการประมงยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าดำเนินงาน
  2. ประชุมคณะทำงานโครงการ เดือนละ1ครั้ง 5เดือน
  3. ประชุมชี้แจงโครงการและจัดตั้งคณะทำงานและสมาชิก บ้านบ่อเจ็ดลูก
  4. ประชุมออกแบบแนวทางการฟื้นฟูทรัพยากร
  5. ปฏิบัติการสร้างธนาคารปูม้า บ้านบ่อเจ็ดลูก
  6. กิจกรรมประชุมหารือวางกติกาในการใช้ประโยชน์
  7. กิจกรรมติดตามประเมินผล 2ครั้ง
  8. ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง
  9. ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร
  10. กิจกรรมฟื้นฟูระบบ นิเวศ ปลูกป่าโกงกาง
  11. กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ
  12. ประชุมคณะทำงานและชี้แจงรายละเอียดโครงการ
  13. ประชุมคณะทำงานหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟู ปลูกป่าโกงกาง
  14. ประชุมพูดคุยหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากร
  15. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่2 การจัดตั้งกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก
  16. ค่าดำเนินงาน
  17. กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่1
  18. ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร
  19. ประชุมแลกเปลี่ยนสถานการณ์ข้อมูลพื้นฐานในชุมชน
  20. กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ
  21. กิจกรรมฟื้นฟูระบบนิเวศปลูกป่าโกงกาง
  22. กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่2
  23. ปฏิบัติการสร้างธนาคารปูม้า บ้านบ่อเจ็ดลูก
  24. ประชุมหารือวางกติกาในการใช้ประโยชน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ได้ธนาคารปูม้าชุมชน 2.ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ 3.ปลูกป่าโกงกางเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ
4.กติกาการจับหอยและปู


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานและชี้แจงรายละเอียดโครงการ

วันที่ 2 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมสถานที่เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนประชุม ประสานงานคณะทำงาน เพื่อชี้เเจงรายเอียดของโครงการและงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมก่อนการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อชี้เเจงรายละเอียดโครงการและงบประมาณและพูดคุยหารือออกแบบแผนกิจกรรม 2.ชี้แจงเป้าหมายแหล่งทุน (สสส)ปรึกษาหารือพูดคุยแลกเปลี่ยนแลกเปลี่ยนรีเช็คกลุ่มและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะมาเข้าโครงการ ได้คณะทำงานและคณะทำงานได้รับทราบเกี่ยวกับโครงการและรายละเอียดของกิจกรรมงบประมาณในการดำเนินแต่ละกิจกรรม ได้รับทราบแหล่งที่มาของทุน และพูดคุยหารือออกแบบตารางเวลาการดำเนินกิจกรรมตามความเหมาะสม

 

30 0

2. ประชุมคณะทำงานหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟู ปลูกป่าโกงกาง

วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานคณะทำงาน เพื่อประชุมหารือเตรียมความพร้อมเพื่อออกแบบวางแผนเวลา เพื่อดำเนินกิจกรรมฟื้นฟู ปลูกป่าโกงกาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเพื่อหารือออกแบบแผนการดำเนินงานในกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูเพื่อเตรียมความพร้อม กิจกรรมปลูกป่าโกงกาง เพื่อหารือออกแบบวางแผนเวลาดำเนินกิจกรรมตามความเหมาะสม  คณะทำงาน  ได้เสนอหารือพูดแลกเปลี่ยน กิจกรรมปลูกป่าโกงกางและหารือเรื่อง เรื่องสถานที่ ที่จะปลูกต้นโกงกาง และหารือพูดคุยออกแบบเรื่องวัน เวลา สถาพอากาศตามความเหมาะสมและหารือการเตียมความพร้อม หาพันธุ์ต้นโกงกางที่จะซื้อมาปลูก และประสานผู้เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกงกาง และพื้นที่บริเวณที่จะปลูกต้นโกงกางให้เหมาะเพื่อให้มีอัตรารอดและเจริญเติบโต สรุปกิจกรรมปลูกป่าโกงกาง จำนวน 40 ต้นและประสานผู้เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกงกาง จำนวน 20 คน  ในส่วนเรื่องแผนการเวลาดำเนินกิจกรรม  ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ น้ำขึ้น-น้ำลง และช่วงเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้ต้นโกงกางมีอัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตได้ดี และบริเวณพื้นที่ ที่ปลูกต้นโกงกาง พิกัด 47 N, x:577114 , y:7590419
ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จ.สตูล

 

10 0

3. ประชุมพูดคุยหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากร

วันที่ 21 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานคณะทำงาน จำนวน 40 คน เพื่อประชุมพูดคุยหารือเพื่อออกแบบวางแผนตารางเวลาในกิจกรรมฟื้นฟู และหารือเตรียมความพร้อมก่อนปฎิบัติดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน40 คนได้รับทราบและพูดคุยหารือ  คณะทำงาน  ได้เสนอหารือพูดแลกเปลี่ยน กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์ ปล่อยลูกหอยแครง ปล่อยลูกหอยป้ะ และหารือเรื่อง เรื่องสถานที่ ที่จะปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ และหารือพูดคุยเรื่องวัน เวลา สถาพอากาศตามความเหมาะสม สรุปกิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์สัตว์ ปล่อยพันธุ์หอยแครง จำนวน 3,000 ตัว ในส่วนเรื่องแผนการเวลาดำเนินกิจกรรม  ดูสภาพอากาศ น้ำขึ้น-น้ำลง และช่วงเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้ลูกหอยครองมีอัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตได้ดี และบริเวณพื้นที่ ที่ปล่อยลูกหอยแครง พิกัด 47 N, x:577904 , y:7590221  ตำบล ปากน้ำ อำเภอละงู จ.สตูล

 

40 0

4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่2 การจัดตั้งกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก

วันที่ 5 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประมานงานคณะทำงาน เพื่อพูดคุยหารือการจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รับทราบ การจัดตั้งกลุ่มชาวประมงพื้ยนบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก โดยใหาที่ตั้งกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก และคัดเลือกกรรมการ จำนวน10 คน พิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริหารกลุ่ม เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริหารกลุ่ม ได้ร่วมกันพิจารณาแล้วมีมติเป็นเอกฉันท์ แต่งตั้งคณะกรรมการชุดแรก จำนวน 10 คน โดยมีรายละเอียดและตำแหน่งดังนี้ 1. นาย อาหมาด หยียูโส๊ะ  ตำแหน่ง ประธานกลุ่ม 2. นาย สมชัย มณีโชค  ตำแหน่ง รองประธานกลุ่ม 3. นาย อรุณ งะสมัน    ตำแหน่ง เลขานุการ 4. นาย อาเหรน นิ่งสระ  ตำแหน่ง เหรัญญิก
5. นาย อน ถิ่นสตูล    ตำแหน่ง ปฏิคม 6. นาย บารูดีน หวังสบู  ตำแหน่ง นายทะบียน 7. นาย บาเอน ถิ่นสตูล  ตำแหน่ง กรรมการ 8. นาย อำหรน หวังสบู  ตำแหน่ง กรรมการ 9. นาย เล็ก สอแหละ    ตำแหน่ง กรรมการ 10. นาง ลัดดา เหมรา    ตำแหน่ง กรรมการ

ให้ที่ประชุมพิจารณาสถานที่ตั้งของกลุ่ม ที่ประชุม ได้ร่วมกันพิจารณาเรื่องสถานที่ตั้งของกลุ่มเพื่อความสะดวกและความเหมาะสมในการดำเนินการของกลุ่มและที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ว่าให้ใช้สถานที่
ตั้งกลุ่ม คือ บ้านเลขที่ 237 หมู่ที่ 1 ตำบล ปากน้ำ อำเภอ ละงู จังหวัดสตูล เป็นที่ตั้งกลุ่ม

 

10 0

5. ค่าดำเนินงาน

วันที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบ๊ชี ธนาคาร ธกส สาขา ละงู จำนวน500บาท

 

0 0

6. กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่1

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเพื่อมาประชุมหารือ กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก เพื่อออกแบบกิจกรรมติดตามประมินผล ถอดบทเรียน (ARE) หารือเรื่องข้อมูลต่างๆ เตรียมสถานที่ประชุม ณ.กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชาวฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก กำหนดวันเวลา พูดคุยหารือเตรียมความพร้อมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมประเมินผล ถอดบทเรียน
ประชุมหารือติดตามประเมินผล บันทึกการประชุมและสรุปการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลสรุปจากการประชุม กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก จำนวน 20 คน  ณ. กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก ได้ประชุมออกแบบกิจกรรมติดตามประเมินผล ถอดบทเรียน ได้หารือเรื่องการจัดเตรียมสถานที่ เวที ติดตามประเมินผล ถอดบทเรียน ได้มีการถอดบทเรียน ทำกิจกรรมติดตามประเมินผลร่วมกัน

 

20 0

7. ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร

วันที่ 12 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านบ้านบ่อเจ็ดลูก ปรึกษาหารือเรื่องการจัดกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากร บันทึกการประชุม สรุปการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชาวประมงพื้นบ้านได้ประชุมปรึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ และได้แสดงความคิดเห็น เพื่อทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรบ้านบ่อเจ็ดลุก ชาวประมงพื้นบ้านเห็นด้วยและทุกคนให้ความร่วมมือที่จะจัดกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรบ้านบ่อเจ็ดลูก ชาวประมงได้เกิดจิตสำนึกรักห่วงแหนทรัพยากรในชุมชนของตนเอง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลานต่อไป

 

20 0

8. ประชุมแลกเปลี่ยนสถานการณ์ข้อมูลพื้นฐานในชุมชน

วันที่ 5 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานชาวประมงพื้นบ้าน ประสานคณะทำงาน กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก ประชุมหารือแลกเปลี่ยนสถานการณ์ข้อมูลพื้นฐานในชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก เรื่อง การอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ บริเวณคลองข้ามควาย ใกล้ๆอ่าวโต๊ะศิลา มีการบันทึกการประชุม บันทึกภาพการประชุม สรุปการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชาวประมงพื้นบ้านและคณะทำงานกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก ได้จัดกิจกรรมประชุมหารือแลกเปลี่ยนสถานการณ์ข้อมูลพื้นฐานในชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก เรื่อง การอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ บริเวณคลองข้ามควาย ใกล้ๆ อ่าวโต๊ะศิลา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ในที่ประชุมผู้เข้าร่วมประชุมได้แลกเปลี่ยนพร้อมเสนอว่าจะทำการปล่อยพันธุ์ลูกปูม้า เนื่องจากเป็นสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชน ที่ทำอาชีพและรายได้ให้แก่ประมงพื้นบ้านบ้านบ่อเจ็ดลูก พร้อมกิจกรรมปลุกป่าชายเลนไปด้วยเพื่อเป็นการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชายเลนชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก มติในที่ประชุมเห็นด้วยและให้ความร่วมมือต่อกิจกรรมที่จะดำเนินการ

 

20 0

9. กิจกรรมฟื้นฟูระบบนิเวศปลูกป่าโกงกาง

วันที่ 8 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกลุ่มเป้าหมาย ทำการประชุม นัดวันเวลาลงทำกิจกรรม เช็คสภาพอากาศที่เหมาะสม ขออนุเคราะห์พันธุ์ไม้โกงกางที่ศูนย์วิจัยป่าชายเลน (ตำมะลัง) รับพันธุ์ไม้โกงกาง ลงพื้นที่ปลูกป่าชายเลน 200 ต้น ติดตามผลหลังปลูกป่าโกงกาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานจำนวน 20 คนได้ร่วมประชุมเพื่อวางแผนลงพื้นที่ปลูกป่าโกงกาง จำนวน 200 ต้น ณ.บริเวณอ่าวโต๊ะศิลา บ้านบ่อเจ็ดลูก ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล เพื่อเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำวัยอ่อย และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ คณะทำงาน ชาวประมงพื้นบ้านบ้านบ่อเจ็ดลูก เยาวชน ได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งในพื้นที่ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดไป

 

30 0

10. กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ

วันที่ 8 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกลุ่มเป้าหมาย ประชุมกำหนดวันเวลา เพื่อนัดวันปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ซื้อแม่ปูไข่นอกกระดองเพื่อให้กรมประมงเพาะ รับลูกปู ลงพื้นที่ปล่อยลงทะเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก ชาวประมงพื้นบ้านบ้านบ่อเจ็ดลูก เยาวชนบ้านบ่อเจ็ดลูก จำนวน 20 คน ลงพื้นที่ทำกิจกรรมปล่อยพันธุ์ลูกปูม้าลงทะเล อ่าวโต๊ะศิลา บ้านบ่อเจ็ดลูก จำนวน 400000 ตัว ทุกคนให้ความสมัคคีและร่วมมือ ตระหนักถึงการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก

 

20 0

11. กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่2

วันที่ 29 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเพื่อมาประชุมหารือ กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก เพื่อออกแบบกิจกรรมติดตามประมินผล ถอดบทเรียน (ARE) หารือเรื่องข้อมูลต่างๆ เตรียมสถานที่ประชุม กำหนดวันเวลา พูดคุยหารือเตรียมความพร้อมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมประเมินผล ถอดบทเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลสรุปจากการประชุม จากคณะทำงานกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง บ้านบ่อเจ็ดลูกได้ประชุมออกแบบกิจกรรมติดตามประเมินผล ถอดบทเรียน ได้หารือเรื่องการจัดเตรียมสถานที่ เวที ติดตามประเมินผล ถอดบทเรียน ได้มีการถอดบทเรียน ทำกิจกรรมติดตามประเมินผลร่วมกัน และได้แลกเปลี่ยนความรู้ คณะทำงานได้ความรู้เรื่องอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรในพื้นที่ และตระหนักปลูกสร้างจิตใต้สำนึก อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลเพื่อให้เกิดความยั่งยืนไปจนสู่รุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป

 

20 0

12. ปฏิบัติการสร้างธนาคารปูม้า บ้านบ่อเจ็ดลูก

วันที่ 19 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกับคณะทำงานกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านล่อเจ็ดลูก
ประชุมหารือ เรื่องการจัดตั้งทำธนาคารปู จัดซื้ออุปกรณ์ เลือกสถานที่ ทำเลที่เหมาะสม นัดวันทำโรงเรือนธนาคารปู
ร่วมปฏิบัติการสร้างธนาคารปู

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้ลงพื้นที่ ลงมือทำโรงเรือนธนาคารปูม้า จำนวน 20 คน ณ.บ้านบ่อเจ็ดลูก ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ได้โรงเรือน และมีการรับฝากแม่ปูไข่นอกกระดอง เพื่อทำการเพาะลูกปู ปล่อยลูกปูลงทะเล

 

20 0

13. ประชุมหารือวางกติกาในการใช้ประโยชน์

วันที่ 19 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกลุ่มเป้าหมายหารือประชุม คณะทำงาน ณ.ที่ทำการกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก เพื่อทำข้อตกลงกฏกติกาของชุมชนในการใช้ประโยชน์จากบริเวณป่าชายเลนบ้านบ่อเจ็ดลูก อ่าวโต๊ะศิลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก ได้ร่วมประชุมหารือจำนวน 20 คน ทำ ข้อตกลงกฎกติกาของชุมชนในการใช้ประโยชน์จากบริเวณป่าชายเลนบ้านบ่อเจ็ดลูก อ่าวโต๊ะศิลา ณ.กลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านบ่อเจ็ดลูก
ข้อตกลงดังนี้ 1.) กำหนดเขตพื้นที่ปลูกป่าโกงกาง 10 ไร่ 2.) ห้ามใช้เครื่องมือทำการประมงที่ทำลายสัตว์น้ำวัยอ่อน 3.) ดูแลติดตามผลในเขตพื้นที่ร่วมกันปลูกป่าโกงกาง 4.) ใช้ประโยชน์พร้อมฟื้นฟู (ปลูกเพิ่ม) 5.) ห้ามทิ้งขยะ บริเวณป่าชายเลน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งกลุ่มองค์กรชาวประมงพื้นบ้านให้เกิดความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานกลุ่ม 2.มีการจดทะเบียนองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน 3.ได้รู้ข้อมูลพื้นฐานปัญหาของชุมชน 4.มีโครงสร้างระเบียบข้อบังคับกลุ่มประมง 5.ชาวประมงเข้าใจการบริหารจัดการฟื้นฟูทรัพยากร

คณะทำงาน และทีมชาวประมงพื้นบ้าน สมาชิกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำได้มีการขับเคลื่อนงานร่วมกันในเรื่องของการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากร เพื่อการประโยชน์ของคนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง ควบคู่กับการให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึก สร้างความเข้าใจ และผลเสียจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรให้คนในชุมชนได้เกิดความตระหนัก นึกคิด และหันมาให้ความสำคัญกับการดูแลรักษาทรัพยากรชายฝั่งทะเลในพื้นที่

2 เพื่อให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำในชุมชนอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.เกิดธนาคารปูม้าชุมชน 2.ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ 3.ปลูกป่าโกงกางเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ 4.มีกฎกติกาการจับปูและหอยที่มีขนาดเล็กในชุมชนทะเลหน้าบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก

คนในชุมชน ชาวประมงพื้นบ้านเห็นถึงความสำคัญของการฟื้นฟูของสัตว์น้ำ ปลูกป่าชายเลน (ป่าโกงกาง) ที่ส่งผลค่อนข้างชัดเจนต่อการเพิ่มปริมาณของสัตว์น้ำ ส่งผลดีต่อการประกอบอาชีพทำการประมง มีรายได้ ดีขึ้น และที่สำคัญการบริโภคสัตว์น้ำที่จับเอง ส่งผลดีต่อสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวและผู้บริโภค ได้บริโภค อาหารทะเลสด ปลอดภัย ปลอดสารเคมี

3 แกนนำชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะ โดย การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเลปลอดภัยและมาจากการประมงยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.แกนนำชาวประมงและชุมชน เปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารทะเล ปลอดภัยเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 30 คน

การจัดการผลผลิตของสัตว์น้ำที่สอดคล้องตามฤดูกาล ส่งผลให้สมาชิกมีความสนใจที่จะนำไปสร้างรายได้เพิ่ม พร้อมทั้งบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้นในครอบครัว

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งกลุ่มองค์กรชาวประมงพื้นบ้านให้เกิดความเข้มแข็ง (2) เพื่อให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำในชุมชนอย่างยั่งยืน (3) แกนนำชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะ โดย การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเลปลอดภัยและมาจากการประมงยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าดำเนินงาน (2) ประชุมคณะทำงานโครงการ เดือนละ1ครั้ง 5เดือน (3) ประชุมชี้แจงโครงการและจัดตั้งคณะทำงานและสมาชิก บ้านบ่อเจ็ดลูก (4) ประชุมออกแบบแนวทางการฟื้นฟูทรัพยากร (5) ปฏิบัติการสร้างธนาคารปูม้า บ้านบ่อเจ็ดลูก (6) กิจกรรมประชุมหารือวางกติกาในการใช้ประโยชน์ (7) กิจกรรมติดตามประเมินผล 2ครั้ง (8) ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง (9) ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร (10) กิจกรรมฟื้นฟูระบบ นิเวศ ปลูกป่าโกงกาง (11) กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ (12) ประชุมคณะทำงานและชี้แจงรายละเอียดโครงการ (13) ประชุมคณะทำงานหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟู ปลูกป่าโกงกาง (14) ประชุมพูดคุยหารือออกแบบกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากร (15) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่2 การจัดตั้งกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน บ้านบ่อเจ็ดลูก (16) ค่าดำเนินงาน (17) กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่1 (18) ประชุมหารือการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากร (19) ประชุมแลกเปลี่ยนสถานการณ์ข้อมูลพื้นฐานในชุมชน (20) กิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ (21) กิจกรรมฟื้นฟูระบบนิเวศปลูกป่าโกงกาง (22) กิจกรรมติดตามประเมินผลครั้งที่2 (23) ปฏิบัติการสร้างธนาคารปูม้า บ้านบ่อเจ็ดลูก (24) ประชุมหารือวางกติกาในการใช้ประโยชน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการฟื้นฟูทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืนและการพัฒนาศักยภาพเพื่อจัดตั้งองค์กรชาวประมงพื้นบ้าน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ S-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย ปิยะดา เด็นเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด