directions_run

ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ
ภายใต้โครงการ ร่วมทุน อบจ.พัทลุง ปี 2567
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 15 มิถุนายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 มิถุนายน 2567 - 30 เมษายน 2568
งบประมาณ 75,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทา รพ.สต.บ้านห้วยเรือ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสรรเสริญ เขียวทอง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0954273843
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ warissara.may0804@Gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาววริศรา สุวรรณกาญจน์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มิ.ย. 2567 15 พ.ย. 2567 37,500.00
2 16 พ.ย. 2567 15 มี.ค. 2568 30,000.00
3 16 มี.ค. 2568 15 เม.ย. 2568 7,500.00
รวมงบประมาณ 75,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทามีสมาชิก จำนวน ๑,๕๐๑ ประกอบด้วย สมาชิกที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑,๔๓๘ คน สมาชิกที่มีอายุ ตั้งแต่ ๒๕ - ๕๙ ปี จำนวน ๖๓ คน กิจกรรมของชมรมประกอบด้วย กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน สวัสดิการเยี่ยมสมาชิกที่เจ็บป่วยและนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ ๒ คืนขึ้นไป จ่ายครั้งละ ๖๐๐ บาท  การเยี่ยมสมาชิกที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง กิจกรรมฌาปนกิจสงเคราะห์สมาชิกที่เสียชีวิต การถวายเทียนพรรษา ๙ วัด  ในเทศกาลเข้าพรรษา การรวมกลุ่มทำบุญทอดกฐิน ทอดผ้าป่าวัดพื้นที่ตำบลหารเทา และวัดในตำบลใกล้เคียง
      สภาวะสุขภาพของสมาชิกชมรมมีหลายประเภท ทั้งผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน และสมาชิกที่มีความคล่องตัว หรือติดสังคม หรือผู้สูงวัย ซึ่งจำนวนสมาชิกที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุติดบ้านนับวันจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ประเด็นปัญหาสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต คือ ในระยะหลังๆ ประมาณ ๕ ปี ที่ผ่านมา คือหลังจาก    ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทาไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เพื่อใช้ในการจัดทำโครงการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัย สมาชิกชมรมจึงขาดการจัดกระบวนการเรียนรู้ในการเตรียมตัวเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพ หรือเป็นผู้สูงวัยที่พึงประสงค์ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ก็ไม่สามารถ  ดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุได้อย่างทั่วถึงและเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องได้ เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ
      ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทา มีความเข้มแข็ง และเป็นองค์กรชุมชนขนาดใหญ่ มีศักยภาพในการดูแลสมาชิกและบริหารโครงการได้ การขอรับงบประมาณภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง จึงเป็นหนทางหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพอนามัยของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เพื่อดูแลผู้สูงอายุ  ที่มีปัญหาด้านสุขภาพไม่ให้ถดถอยลงกว่าเดิม และเป็นการเตรียมสมาชิกอีกส่วนหนึ่งที่มีสภาวะสุขภาพปกติ      ให้เข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพตามลักษณะที่พึงประสงค์ต่อไป

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ
  1. มีคณะทำงาน 15 คน
      - ตัวแทนชมรมผู้สูงอายุ 11 คน   - จนท.สาธารณสุข 1 คน
      - ปกครอง/อปท. 1 คน
      - อสม.3 คน
    ๒. เกิดโครงสร้างคณะทำงาน
      - กำหนดบทบาทหน้าที่
      - แผนการปฏิบัติทำงานที่ชัดเจน
      - มีเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลสุขภาพที่ครอบคลุม ๓. เกิดกติกา/ข้อตกลงคณะทำงาน   และกลุ่มเป้าหมาย
15.00
2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ
    ความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาพ
    อย่างถูกวิธี (44คน)
  2. กลุ่มเป้าหมายมีการตรวจสุขภาพ (รายการ
    ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงโรคเรื้อรัง) ทุกคน
    (ร้อยละ 100 : 55คน)
44.00
3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองที่ถูกวิธี
  1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีการปรับเปลี่ยน
      พฤติกรรมตามกติกาที่กำหนด   - กินผัก   - ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม   - เมนูสุขภาพ
  2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมทางกาย/
      ออกกำลังกาย ตามข้อกำหนด
  3. เกิดข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม   ของกลุ่มเป้าหมายทุกคน (ร้อยละ 100)
39.00
4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะสุขภาพดีขึ้น
  1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีความเสี่ยงต่อโรค
      เรื้อรังลดลง
      - ความดันโลหิต ,น้ำตาลในเลือด,ค่าดัชนีมวลกาย
  2. เกิดบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ   อย่างน้อย 10 คน
  3. มีการเผยแพร่กิจกรรมสู่สาธารณะ/ชุมชน
39.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 358 70,800.00 1 0.00
20 มิ.ย. 67 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ 3 800.00 0.00
23 ก.ค. 67 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงาน จัดทำข้อตกลง กำหนดการประชุม 15 6,350.00 -
8 ส.ค. 67 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 55 12,200.00 -
20 ส.ค. 67 กิจกรรมที่ 3 ARE ครั้งที่ 1 ประเมินผลความก้าวหน้า 25 5,750.00 -
19 ก.ย. 67 กิจกรรมที่ 4 รณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 55 4,000.00 -
15 พ.ย. 67 กิจกรรมที่ 5 ล้อมวงสนทนา ตามประสาคนรักสุขภาพ 55 15,700.00 -
23 ม.ค. 68 กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียน ARE2 "เฉียงฟืน หุงข้าวหม้อดิน กินแกงเลียง" 150 26,000.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี 4.กลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพดีขึ้น มีความเสี่ยงลดลง

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2567 10:11 น.