directions_run

ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสรรเสริญ เขียวทอง

ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มิถุนายน 2567 ถึง 30 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มิถุนายน 2567 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทามีสมาชิก จำนวน ๑,๕๐๑ ประกอบด้วย สมาชิกที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑,๔๓๘ คน สมาชิกที่มีอายุ ตั้งแต่ ๒๕ - ๕๙ ปี จำนวน ๖๓ คน กิจกรรมของชมรมประกอบด้วย กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน สวัสดิการเยี่ยมสมาชิกที่เจ็บป่วยและนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ ๒ คืนขึ้นไป จ่ายครั้งละ ๖๐๐ บาท  การเยี่ยมสมาชิกที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง กิจกรรมฌาปนกิจสงเคราะห์สมาชิกที่เสียชีวิต การถวายเทียนพรรษา ๙ วัด  ในเทศกาลเข้าพรรษา การรวมกลุ่มทำบุญทอดกฐิน ทอดผ้าป่าวัดพื้นที่ตำบลหารเทา และวัดในตำบลใกล้เคียง
      สภาวะสุขภาพของสมาชิกชมรมมีหลายประเภท ทั้งผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน และสมาชิกที่มีความคล่องตัว หรือติดสังคม หรือผู้สูงวัย ซึ่งจำนวนสมาชิกที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุติดบ้านนับวันจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ประเด็นปัญหาสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต คือ ในระยะหลังๆ ประมาณ ๕ ปี ที่ผ่านมา คือหลังจาก    ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทาไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เพื่อใช้ในการจัดทำโครงการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัย สมาชิกชมรมจึงขาดการจัดกระบวนการเรียนรู้ในการเตรียมตัวเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณภาพ หรือเป็นผู้สูงวัยที่พึงประสงค์ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ก็ไม่สามารถ  ดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุได้อย่างทั่วถึงและเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องได้ เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ
      ชมรมผู้สูงอายุตำบลหารเทา มีความเข้มแข็ง และเป็นองค์กรชุมชนขนาดใหญ่ มีศักยภาพในการดูแลสมาชิกและบริหารโครงการได้ การขอรับงบประมาณภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง จึงเป็นหนทางหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพอนามัยของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เพื่อดูแลผู้สูงอายุ  ที่มีปัญหาด้านสุขภาพไม่ให้ถดถอยลงกว่าเดิม และเป็นการเตรียมสมาชิกอีกส่วนหนึ่งที่มีสภาวะสุขภาพปกติ      ให้เข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพตามลักษณะที่พึงประสงค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองที่ถูกวิธี
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะสุขภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงาน จัดทำข้อตกลง กำหนดการประชุม
  3. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  4. กิจกรรมที่ 3 ARE ครั้งที่ 1 ประเมินผลความก้าวหน้า
  5. กิจกรรมที่ 4 รณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. กิจกรรมที่ 5 ล้อมวงสนทนา ตามประสาคนรักสุขภาพ
  7. กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียน ARE2 "เฉียงฟืน หุงข้าวหม้อดิน กินแกงเลียง"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี 4.กลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพดีขึ้น มีความเสี่ยงลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ โดย นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์การบริหารส่วนจังกวัดพัทลุง ชี้แจงแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน หลักฐานการเงิน การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network โดย นายไพฑูรณ์ ทองสม ผู้เชี่ยวชาญประจำแผนงานร่วมทุนฯ และอบรมแนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน โดย นายสมนึก นุ่นด้วง คณะกรรมการแผนงานร่วมทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดความรู้ความเข้าใจแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน หลักฐานการเงิน การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network และแนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 15 คน - ตัวแทนชมรมผู้สูงอายุ 11 คน - จนท.สาธารณสุข 1 คน - ปกครอง/อปท. 1 คน - อสม.3 คน ๒. เกิดโครงสร้างคณะทำงาน - กำหนดบทบาทหน้าที่ - แผนการปฏิบัติทำงานที่ชัดเจน - มีเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลสุขภาพที่ครอบคลุม ๓. เกิดกติกา/ข้อตกลงคณะทำงาน และกลุ่มเป้าหมาย
15.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาพ อย่างถูกวิธี (44คน) 2. กลุ่มเป้าหมายมีการตรวจสุขภาพ (รายการ ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงโรคเรื้อรัง) ทุกคน (ร้อยละ 100 : 55คน)
44.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมตามกติกาที่กำหนด - กินผัก - ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม - เมนูสุขภาพ 2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมทางกาย/ ออกกำลังกาย ตามข้อกำหนด 3. เกิดข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของกลุ่มเป้าหมายทุกคน (ร้อยละ 100)
39.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีความเสี่ยงต่อโรค เรื้อรังลดลง - ความดันโลหิต ,น้ำตาลในเลือด,ค่าดัชนีมวลกาย 2. เกิดบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ อย่างน้อย 10 คน 3. มีการเผยแพร่กิจกรรมสู่สาธารณะ/ชุมชน
39.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดคณะทำงานที่มีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองที่ถูกวิธี (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะสุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงาน จัดทำข้อตกลง กำหนดการประชุม (3) กิจกรรมที่ 2  อบรมให้ความรู้  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 3  ARE ครั้งที่ 1  ประเมินผลความก้าวหน้า (5) กิจกรรมที่ 4  รณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (6) กิจกรรมที่ 5  ล้อมวงสนทนา ตามประสาคนรักสุขภาพ (7) กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียน ARE2 "เฉียงฟืน หุงข้าวหม้อดิน กินแกงเลียง"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้สูงอายุยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ รพ.สต.บ้านห้วยเรือ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสรรเสริญ เขียวทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด