directions_run

ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
น.ส.นิยม ณ พัทลุง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 15 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 15 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี ตั้งอยู่ในพื้นที่    หมู่ที่ 1 ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประชากรในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำสวน สวนยาง ปาล์ม และอาชีพรับจ้าง มีจำนวน 375หลังคาเรือน จำนวนประชากร 1,276 คน แยกเป็นกลุ่มวัยเด็กและเยาวชน 276 คน วัยทำงาน 742 คน ผู้สูงอายุ 257 คน ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จากการวิเคราะห์ปัจจัยและสาเหตุของโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลฝาละมี พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำสวนยางพารา และสวนปาล์ม วิถีชีวิตของคนในชุมชน คือ    ในตอนเช้าตรู่เป็นช่วงเวลาที่เร่งรีบในการทำงาน จึงดื่มกาแฟสำเร็จรูปเพื่อความสะดวก และเป็นตัวกระตุ้นการทำงาน เช่น การกรีดยาง ซึ่งกาแฟสำเร็จรูปนั้นจะผสมน้ำตาล ครีมเทียม จากการสอบถามพบว่าเป็นกาแฟแก้วแรกของวัน หลังจากนั้นก็จะดื่มกาแฟสำเร็จรูปอีกในช่วงบ่ายของแต่ละวัน โดยเฉลี่ยพบว่าจะกินกาแฟวันละ 2-3 แก้ว นั่นหมายถึง ปริมาณน้ำตาลและครีมเทียมที่ได้รับต่อวัน นอกจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมแล้ว ประชากรอีกส่วนหนึ่งยังประกอบอาชีพรับจ้าง  จึงทำให้ต้องใช้กาแฟ เครื่องดื่มชูกำลังและมีการสูบบุหรี่ เพื่อลดความเครียดและกระตุ้นการทำงานจนเป็นกิจวัตร และอีกสาเหตุหนึ่ง คือ รสชาติในการปรุงอาหาร ตามวิถีคนใต้ ส่วนใหญ่ปรุงอาหารที่มีรสชาติเข้มข้น คือ เผ็ดจัด หวาน มัน เค็ม โดยเฉพาะแกงกะทิ และการบริโภคอาหารที่มีความเค็มจัดของใต้ เช่น กะปิ บูดู จิ้งจัง เป็นต้น เนื่องจากหามารับประทานได้ง่าย และความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการออกแรงทำงานในสวนว่าเป็นการออกกำลังกายอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องออกกำลังกายแบบอื่น ทำให้ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม จากสาเหตุดังกล่าว ทำให้ผู้ป่วยเรื้อรังมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี แต่สาเหตุที่เลือกประเด็นปัญหาโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุอยู่ในวัยพึ่งพิง ไปไหนมาไหนเองได้ไม่สะดวก มีปัญหาการเดินทางไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล ต้องมีลูกหลานคอยดูแล และหากผู้สูงอายุเป็นโรคเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้น อาจจะมีผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงเพิ่มสูงขึ้นด้วย สอดคล้องกับการคัดกรอองสุขภาพตามกลุ่มวัย พบว่าผู้ที่เข้าสู่วัยสูงอายุจะมีความเสี่ยงเป็นโรคความดับโลหิตสูง และเบาหวาน  เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และอยู่ภายใต้การดูแลต่อเนื่องที่ รพ.สต.บ้านฝาละมี ถึง 42 ราย จากการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาภาพรวมของชุมชน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สรุปได้ดังนี้
1. ด้านพฤติกรรม พบว่า ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพยังไม่ถูกต้อง ขาดความตะหนักในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพและวัย  ผู้สูงอายุสูบบุหรี่  ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม (มีความเข้าใจผิดว่า การตัดยาง เดินทำสวน เป็นการออกกำลังกาย) และชอบบริโภคอาหารประเภทแกงกะทิ ทอด หวาน เข็ม และทำปิ่นโตใส่บาตรเกือบทุกครั้งที่มีงานบุญ 2. ด้านสังคม พบว่า  ขาดการรวมกลุ่มที่เป็นรูปธรรมในการทำกิจกรรม ผู้สูงอายุบางคนไม่เข้าใจ แล้วไปบอกต่อในทางที่ผิดๆ เช่น อย่าไปเลย เราแก่แล้ว ไม่จำเป็น และผู้สูงอายุบางคนอาศัยอยู่บ้านเพียงลำพัง    ในช่วงกลางวัน 3. ด้านสิ่งแวดล้อมกายภาพ พบว่า ในชุมชนขาดการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุที่เป็นกิจลักษณะอย่างชัดเจน
ขาดผู้นำในการจัดกิจกรรม ข้อจำกัดของกิจกรรมทางกาย ออกกำลังกาย และผู้สูงอายุต้องเดินทางไกลในการทำกิจกรรมร่วมกัน   4. ด้านระบบ กลไกลที่เกี่ยวข้อง พบว่า ไม่มีผู้นำคนเริ่มต้น ในการรวมกลุ่ม การประชาสัมพันธ์ ไม่ทั่วถึง ความก้าวหน้าเทคโนโลยี ผู้สูงอายุบางคนเข้าไม่ถึง  ไม่มีอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการทำกิจกรรม เช่น เครื่องเสียง และ ขาดกิจกรรมที่ส่งเสริมอาชีพ
จากสภาพปัญหาทั้ง 4 ด้าน ส่งผลกระทบที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ผลกระทบด้านสุขภาพ พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพไม่ถูกต้อง ส่งผลเกิดความเจ็บป่วย เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 12 คน เบาหวาน 2 คน หอบ 2 คน ข้ออักเสบ/ข้อเสื่อม 15 คน อัมพาต 2 คน มีภาวะความเครียด 2 คน และนอนไม่หลับ 15 คน
2. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้สูงอายุต้องเสียค่าเดินทางไปรักษาในแต่ละครั้ง เป็นเงิน 300 บาทต่อครั้ง 12 ครั้ง รวมเป็นเงิน 3,600 บาทต่อปี ทำให้ผู้สูงอายุบางคนเลือกไม่ไปพบแพทย์ และขาดยา ผู้สูงอายุบางคนไม่มีลูกหลานดูแล ต้องพึ่งเพื่อนบ้านในการพาไปพบแพทย์ ซึ่งต้องมีรายจ่าย บางคนเบี้ยยังชีพคนชราไปพอกับการจ่ายในแต่ละวัน  ผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพจากการรับจ้างกรีดยาง ปลูกผัก มีรายได้วันละ 100 บาท ทำให้รายได้ไม่พอในการเลี้ยงตัวเองและครอบครัว  ครอบครัวสูญเสียรายได้จากการพาผู้สูงอายุไปรักษาพยาบาล
3 .ผลกระทบด้านสังคม พบว่า ผู้สูงอายุบางคนอาศัยเพียงลำพัง ไม่ได้รับการยกย่องเชิดชูทางสังคม ผู้สูงอายุคิดว่าเป็นคนที่สังคมลืม เนื่องจากไม่มีฐานะทางสังคม และเศรษฐกิจ ทั้งนี้จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ทางชมรม ผู้สูงอายุร่มโพธิ์พัฒน์(รพ.สต.บ้านฝาละมี) ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม โดยชมรม ผู้สูงอายุร่มโพธิ์พัฒน์(รพ.สต.บ้านฝาละมี) จะเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินงาน ด้วยเหตุนี้ จึงสมัครเข้าร่วมโครงการ“สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน”กับ สสส. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ดังนั้นผู้จัดทำโครงการมีความตระหนักถึงความสำคัญของภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ เพราะหากผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมจะช่วยชะลอความเสื่อมของร่างกายและป้องกันภาวะ แทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นจากความสูงวัยที่สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูประบบสุขภาพ ซึ่งเน้นให้ประชาชนดูแลตนเองสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพด้านต่างๆ เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการ คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง การส่งเสริมอาชีพ และส่งเสริมสุขภาพจิต เป็นต้น ชมรม ผู้สูงอายุร่มโพธิ์พัฒน์ (รพ.สต. บ้านฝาละมี)  เล็งเห็นถึงความสำคัญว่าผู้นำทุกคนควรมีสุขภาพที่ดี และเป็นแบบอย่างต่อประชาชน ซึ่งจะได้นำไปปฏิบัติตามและนำไปสู่สุขภาพที่ดีของชุมชนและประชาชนบ้านฝาละมี ต่อไป จึงได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี ได้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาวะที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ที่เปลี่ยนแปลงไป
  4. 4. เพื่อให้ความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในผู้อายุลดลง
  5. เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การบริหารจัดการโครงการบรรลุ
  2. การประชุม คณะทำงาน
  3. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  4. รณรงค์สื่อสารการรับรู้โรคเรื้อรัง อย่างมีส่วนร่วม
  5. กิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมสุขภาพจิตใจให้กับผู้สูงอายุ อย่างรอบด้าน
  6. การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ
  7. ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง
  8. ประชุมติดตามผล ARE ครั้งที่ 1
  9. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน
  10. การประชุม ติดตามประเมินผล(ARE) 2 ครั้ง
  11. ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ
  12. การบริหารจัดการโครงการบรรลุ
  13. ประชุมคณะทำงาน
  14. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  15. รณรงค์สื่อสารการรับรู้โรคเรื้อรัง อย่างมีส่วนร่วม
  16. 9 กิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมสุขภาพจิตใจให้กับผู้สูงอายุ อย่างรอบด้าน
  17. การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ
  18. ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง
  19. ประชุมติดตามผล ARE ครั้งที่ 1
  20. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน
  21. การประชุม ติดตามประเมินผล(ARE) 2 ครั้ง
  22. ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาวะที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
3. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป

  1. ผูัสูงอาุมีความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในผู้อายุลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาวะที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 15 คน ประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่ รพ.สต. จำนวน 2 คน ครู จำนวน 1 คน อสม. หมู่ที่ 1 5 คน ตัวแทนผู้สูงอายุ 5 คน ผู้นำชุมชน 1 คน ปราชญ์ชุมชน 1 คน 2.มีกลไกการทำงาน กำหนดบทบาทหน้าที่กติกาชัดเจน
1.00

 

2 2. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ โดยวัดจากแบบประเมินก่อน-หลัง รับการอบรม 2.มีข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย และผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.เกิดแกนนำเครือข่ายดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 1 กลุ่ม
80.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย โดยเครือข่ายผู้ดูแล 2.มีชุดข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองของกลุ่มเป้าหมาย
100.00

 

4 4. เพื่อให้ความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในผู้อายุลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ค่า BMI ของกลุ่มเป้าหมาย ไม่เกินค่ามาตรฐาน ร้อยละ 70 2.ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย มีค่าน้ำตาลในเลือดไม่เกินค่ามาตรฐาน 3.มีผู้สูงอายุต้นแบบอย่างน้อย 10 คน
70.00

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด : 1.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100% 2.สามารถจัดส่งรายงานต่างๆ ได้ตามกำหนด
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาวะที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ    ที่เปลี่ยนแปลงไป (4) 4. เพื่อให้ความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในผู้อายุลดลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารจัดการโครงการบรรลุ (2) การประชุม  คณะทำงาน (3) ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (4) รณรงค์สื่อสารการรับรู้โรคเรื้อรัง อย่างมีส่วนร่วม (5) กิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมสุขภาพจิตใจให้กับผู้สูงอายุ อย่างรอบด้าน (6) การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ (7) ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง (8) ประชุมติดตามผล ARE ครั้งที่ 1 (9) การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน (10) การประชุม  ติดตามประเมินผล(ARE) 2 ครั้ง (11) ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ (12) การบริหารจัดการโครงการบรรลุ (13) ประชุมคณะทำงาน (14) ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (15) รณรงค์สื่อสารการรับรู้โรคเรื้อรัง อย่างมีส่วนร่วม (16) 9  กิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมสุขภาพจิตใจให้กับผู้สูงอายุ อย่างรอบด้าน (17) การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ (18) ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง (19) ประชุมติดตามผล ARE ครั้งที่ 1 (20) การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน (21) การประชุม  ติดตามประเมินผล(ARE) 2 ครั้ง (22) ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านฝาละมี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.นิยม ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด