directions_run

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายใบอะดุลย์ สวยงาม

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 15 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 15 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการทำงาน คณะทำงานที่มีความรู้ในการลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน
  2. เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และความตระหนักเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน
  3. เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานลดลง
  5. เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน 5 ครั้ง จำนวน 15 คน
  3. กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  4. กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ แก่ผู้ประกอบการร้านขายอาหาร และร้านขายเครื่องดื่มในชุมชน พร้อมจัดทำกติการ่วมกันระหว่างร้านค้าและชุมชน
  5. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้คณะทำงานในการจัดทำข้อมูลและการบันทึกบอร์ดสุขภาพ จำนวน 15 คน
  6. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย และคณะทำงานเรื่องโรคเรื้อรัง การดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง และการรับประทานอาหารให้เหมาะสม และ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คำนวณค่า BMI และการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลื
  7. กิจกรรมที่ 4 ประชุม ติดตามผลของโครงการ (ARE ครั้งที่ 1)
  8. ชื่อกิจกรรมที่ 7 ถอดบทเรียนคืนข้อมูลสู่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ และการเงินของโครงการ เดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ เข้าร่วมพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการย่อย ระหว่างนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ซึ่งเป็นผู้ให้ทุนร่วมกับผู้รับทุน เรียนรู้แนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน/หลักฐานการเงิน เรียนรู้การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network และฝึกฝนการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ รวมทั้งการรายงานผลความก้าวหน้าของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • พี่เลี้ยงโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ และการเงินของโครงการ เข้าร่วมการประชุมครบทั้ง 3 คน
  • ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการย่อย ระหว่างนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ซึ่งเป็นผู้ให้ทุนร่วมกับผู้รับทุน
  • ได้รู้เรื่องแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน/หลักฐานการเงิน เรียนรู้การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network และฝึกฝนการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ รวมทั้งการรายงานผลความก้าวหน้าของโครงการในเว็บไซด์
  • รู้วิธีการจัดเตรียมเอกสารการเงินก่อนการดำเนินโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการทำงาน คณะทำงานที่มีความรู้ในการลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงาน 15 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่รพ.สต.เกาะนางคำ จำนวน 3 คน กำนัน สมาชิกสภาเทศบาล 1 คน กลุ่มเป้าหมาย 2 คน และ อสม. 8 คน 2. เกิดแผนการดำเนินงานและกลไกติดตามผลการดำเนินงาน 3. เกิดชุดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลและการใช้เครื่องมือในการบันทึกข้อมูล

 

2 เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และความตระหนักเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงาน และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยวัดจากคะแนนผลการทำสอบก่อนและหลังการอบรม 2. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรม 3. กลุ่มเป้าหมายมีข้อตกลงร่วมกันในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4. กลุ่มเป้าหมายสามารถวางแผนการปรับพฤติกรรมของตนเองได้ ร้อยละ 80 5. เกิดต้นแบบการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 5 คน

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้ประกอบการร้านขายอาหารและเครื่องดื่มเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 2. เกิดกติกาชุมชน 3. เกิดร้านค้าอาหารปลอดภัยในชุมชน อย่างน้อย 1 ร้าน 4. เกิดตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าในชุมชน

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานลดลง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรม 2. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีสุขภาพดีขึ้น โดยวัดจากข้อมูลสุขภาพ (ผลระดับน้ำตาลในเลือด DTX BMI) 3. กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 10

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด ร้อยละ 100 2.สามารถจัดส่งรายงานต่าง ๆ ได้ตามกำหนด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการทำงาน คณะทำงานที่มีความรู้ในการลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และความตระหนักเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานลดลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน 5 ครั้ง จำนวน 15 คน (3) กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ แก่ผู้ประกอบการร้านขายอาหาร และร้านขายเครื่องดื่มในชุมชน พร้อมจัดทำกติการ่วมกันระหว่างร้านค้าและชุมชน (5) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้คณะทำงานในการจัดทำข้อมูลและการบันทึกบอร์ดสุขภาพ จำนวน 15 คน (6) กิจกรรมที่ 3  อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย และคณะทำงานเรื่องโรคเรื้อรัง การดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง และการรับประทานอาหารให้เหมาะสม และ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คำนวณค่า BMI และการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลื (7) กิจกรรมที่ 4  ประชุม ติดตามผลของโครงการ (ARE ครั้งที่ 1) (8) ชื่อกิจกรรมที่ 7  ถอดบทเรียนคืนข้อมูลสู่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายใบอะดุลย์ สวยงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด