directions_run

สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยทัต สามารถ

ชื่อโครงการ สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-013 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 15 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 15 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลหารเทามีประชากรทั้งสิ้น 10,038 คน จำนวน 11 หมู่บ้าน มีเด็กและเยาวชนทั้งหมด 721 คน
เยาวชนอายุ10-19 ปี466 คน เยาวชนที่มีสภาวะความเครียด 140 คน คิดเป็น 30% ของเยาวชน 10-19 ปี ประกอบไปด้วย จากการสำรวจมีภาวะเครียดจากความคาดหวังของครอบครัว 12 คน อาศัยอยู่ในครอบครัวที่ไม่ สมบูรณ์ 28 คน อาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย 88 คน ซึมเศร้าในกลุ่มเยาวชน 12 คน จากข้อมูลข้างต้นปัจจัยที่ส่งผล ให้เกิดความเครียดในกลุ่มเยาวชน คือ ปัญหาครอบครัวไม่สมบูรณ์ ปัญหาพ่อแม่ไปประกอบอาชีพต่างถิ่นต้องอาศัย อยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ปัญหากฏระเบียบ หลักสูตรในโรงเรียน การถูกบูลลี่ การโดนเปรียบเทียบกับคนอื่น ไม่มีพื้นที่ ในการแสดงออกใน/นอกห้องเรียน ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม และปัญหาที่สำคัญอันก่อให้เกิดความเครียดมากที่สุด คือความคาดหวังจากครอบครัว โรงเรียน สังคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดภาวะเครียดแฝงสะสมจนส่งผลต่อ การเกิดโรคซึมเศร้าแบบไม่รู้ตัวทำให้เกิดการสูญเสียทั้งด้านงบประมาณค่าใช้จ่าย และบุคลากรในการดูแล และ ส่งผลต่อการพัฒนาในอนาคต จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น “สภาองค์กรชุมชนตำบลหารเทา” ซึ่งเป็นการทำงานรวมกันของผู้นำภาค ประชาชนในท้องที่จากหลายกลุ่มเพื่อทำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาที่ที่ยังไม่ได้รับการจัดการในชุมชน ได้แก่ (กองเลขา สภาองค์กรชุมชนตำบลหารเทา, ตัวแทนผู้ใหญ่บ้าน, ตัวแทนสภาสตรี, ตัวแทน อสม.,ตัวแทนปราชญ์,ตัวแทนโรงเรียน , ตัวแทนจิตอาสาคนรุ่นใหม่และตัวแทนองค์กรอิสระ) จึงเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลสุขภาพของ เยาวชนในชุมชนเพื่อป้องกันปัญหาการพัฒนาจากภาวะความเครียดเป็นการเจ็บป่วยโรคซึมเศร้าเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่ มีกิจกรรมทางสังคมรองรับ ไม่มีพื้นที่กลางนอกโรงเรียนจึงใช้เวลาว่างไปกับสังคมออนไลน์ สื่อโซเชียล โดยกำหนด กลุ่มเป้าหมายนำร่องในการเสริมสร้างพลังใจกลุ่มเยาวชนอายุ 10-19 ปี จำนวน 40 คน ให้ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน โดยมี“สภาองค์กรชุมชนตำบลหารเทา”และภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน เป็นแนวร่วมในการกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพจิตอันจะส่งผลให้เยาวชนได้รับการดูแลที่ตรงตามปัญหาและสอดคล้องกับบริบทของชุมชน การดูแล สุขภาพจิตอย่างต่อเนื่องจะส่งผลให้เยาวชนมีสุขภาพกาย ใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง
  2. เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสามารถนำไปปฏิบัต
  3. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายใจ
  4. เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตดีที่เข้าถึงได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน (5 ครั้งตลอดโครงการ)
  2. ค่ายอบรมให้ความรู้คณะทำงาน 20 คน และกลุ่มเป้าหมาย 40 คน
  3. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ
  4. จัดการประชุมติดตามผล AREครั้งที่1
  5. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรม(จัดกิจกรรม 4 ครั้ง)
  6. เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการ(ARE2)
  7. ค่ายอบรม
  8. เงินสมทบ
  9. สร้างความเข้าใจบทบาทหน้าที่และคณะทำงาน
  10. ประชุมติดตามผล
  11. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์
  12. 4.1.กิจกรรมนอกห้องเรียน
  13. 4.2.กิจกรรม “เพื่อนเยี่ยมเพื่อน”
  14. 4.3.ส่งเสริมลานกิจกรรม
  15. เวทีถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ชุมชน
ผู้ปกครอง
เยาวชน อายุ 10-19 ปี 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง 2.คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เรื่องการปรับตัวให้เข้ากับสังคมและ สามารถนำไปปฏิบัติ 3.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องเอื้อต่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาวะ ซึมเศร้า 4.กลุ่มเป้าหมายมีภาวะเครียดลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ชี้แจ้งแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ -หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน -การจัดทำรายงานการเงิน/หลักฐานการเงิน -การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network -ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Network และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network
-แนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับการเข้าสู่ระบบ การจัดทำรายงานลงในระบบ Happy Network พร้อมการรายงานความก้าวหน้า และการจัดหลักฐานการเบิกจ่าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะทำงานเครือข่ายด้านกิจกรรมเยาวชน 20 คน ประกอบด้วย ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน 1 คน,ผู้นำ ชุมชน 2 คน, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน,ตัวแทน สภาสตรี 1 คน,ตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ 10 คน ผู้ปกครอง3คน และ ผอ.โรงเรียน2 คน 2.มีเครื่องมือประเมินแบบคัดกรอง แบบทดสอบ EQ,ประเมินชุดประเมินผล(นอนหลับดี,-กินได้ ความสัมพันธ์ในครอบครัว) 3.มีการกำหนดโครงสร้าง บทบาทหน้าที่และกติกา การทำงานแผนการดำเนินงาน

 

2 เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสามารถนำไปปฏิบัต
ตัวชี้วัด : 1.เกิดชุดข้อมูลด้านสุขภาพใจของกลุ่มเป้าหมาย 100 เปอร์เซ็น 2.กลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย ร้อยละ80 มีความรู้และผ่าน การทดสอบการเข้าสังคม โดยการประเมินก่อน-หลัง

 

3 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายใจ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพจิต สุขภาพทางกายร้อยละ60 2. กลุ่มเป้าหมาย 40 คน คือ เยาวชนในชุมชนช่วงอายุ 10 - 17 ปี เข้าร่วมกิจกรรม”ห้องสมุดมีชีวิต”

 

4 เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตดีที่เข้าถึงได้
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 40 คน คือ 2. กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตดีขึ้นร้อยละ 60 ประเมินชุดประเมินผล -นอนหลับดี -กินได้ -ความสัมพันธ์ในครอบครัว 3.มีกลุ่มจิตอาสาให้คำปรึกษาแก่เยาวชนผ่านทางกลุ่ม “เพื่อนเคียงข้างใจ”

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชุมชน 0
ผู้ปกครอง 0
เยาวชน อายุ 10-19 ปี 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง (2) เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสามารถนำไปปฏิบัต (3) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายใจ (4) เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตดีที่เข้าถึงได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (5 ครั้งตลอดโครงการ) (2) ค่ายอบรมให้ความรู้คณะทำงาน 20 คน และกลุ่มเป้าหมาย 40 คน (3) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (4) จัดการประชุมติดตามผล AREครั้งที่1 (5) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรม(จัดกิจกรรม 4 ครั้ง) (6) เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการ(ARE2) (7) ค่ายอบรม (8) เงินสมทบ (9) สร้างความเข้าใจบทบาทหน้าที่และคณะทำงาน (10) ประชุมติดตามผล (11) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ (12) 4.1.กิจกรรมนอกห้องเรียน (13) 4.2.กิจกรรม “เพื่อนเยี่ยมเพื่อน” (14) 4.3.ส่งเสริมลานกิจกรรม (15) เวทีถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-013

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยทัต สามารถ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด