directions_run

โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตนเองเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ตำบลชะรัด

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตนเองเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ตำบลชะรัด
ภายใต้โครงการ ร่วมทุน อบจ.พัทลุง ปี 2567
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 67-00199-031
วันที่อนุมัติ 15 มิถุนายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2567 - 14 เมษายน 2568
งบประมาณ 75,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านชะรัด
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดำรงค์ หมาดลาย
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0861625267
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Damrong Meef55834@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางนันธิญา เดชอรัญ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.470066,99.979764place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มิ.ย. 2567 15 พ.ย. 2567 37,500.00
2 16 พ.ย. 2567 15 มี.ค. 2568 30,000.00
3 16 มี.ค. 2568 16 เม.ย. 2568 7,500.00
รวมงบประมาณ 75,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานสารเสพติด
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 รพ.สต.บ้านชะรัด ดูแลอยู่ 6 หมู่บ้าน จำนวน 1,167 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 3,723 คน มีโรงเรียนประถมศกษา จำนวน 2 โรง มีเด็กนักเรียน ป .4 – ป.6 ทั้ง 2 โรงเรียน จำนวน 147คน ซึ่งพบว่าภาวะซึมเศร้าจำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 23.13 ซึ่งสาเหตุมาจากพฤติกรรม ดังนี้
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก
  1. ปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สภาพแวดล้อม
  2. ปัจจัยด้านสุขภาพและพฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพ โรคและการเจ็บป่วย การนอนหลับ
stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเกิดกลไกการขับเคลื่อนงานชมรม To Be Number One ที่เข้มแข็ง
  1. มีคณะทำงาน 15คน  มีแผนการทำงาน  มีข้อมูลการคัดกรองภาวะซึมเศร้า
1.00
2 2. พ่อแม่เกิดความรู้ ความเข้าใจ
  1. มีความรู้ ความเข้าใจ ร้อยละ80  เกิดข้อตกลงร่วมกัน ข้อตกลงอย่างน้อย 3 เรื่อง
3 3. เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
  1. มีพื้นที่สาธารณะให้เด็กทำกิจกรรม
4 4. เด็กมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า
  1. ไม่พบภาวะซึมเศร้ารายใหม่ในเด็ก
5 5. เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย
  1. เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100%  สามารถจัดส่งรายงานต่างๆได้ตามกำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1530 70,900.00 1 900.00
20 มิ.ย. 67 ปฐมนิเทศน์โครงการ 3 900.00 900.00
5 ก.ค. 67 ประชุมคณะทำงาน 15 1,975.00 -
10 ก.ค. 67 การคัดกรองภาวะซึมเศร้า 147 300.00 -
15 ส.ค. 67 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง ครู และคืนข้อมูลจากการคัดกรองภาวะซมเศร้า 50 14,300.00 -
20 ส.ค. 67 ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 150 2,000.00 -
14 ก.ย. 67 ค่ายอุ่นใจไกลซึมเศร้า 300 23,050.00 -
5 - 6 ต.ค. 67 คณะทำงานออกเยี่ยมบ้านเด็ก 250 2,250.00 -
12 ต.ค. 67 กิจกรรมครอบครัวอบอุ่น พ่อแม่ลูก 250 7,300.00 -
15 ต.ค. 67 กิจกรรม ARE ครั้งที่ 1 50 2,300.00 -
5 ก.พ. 68 กิจกรรม ARE ครั้งที่ 2 50 2,300.00 -
10 มี.ค. 68 คืนข้อมูลให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ครู 250 13,850.00 -
31 มี.ค. 68 ชื่อกิจกรรมที่ 3 สรุปโครงการ 15 375.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
  2. มีทักษะด้านการสื่อสารกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพ
  3. ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการรสามารถส่งเสริมสุขภาวะและคัดกรองโรคซึมเศร้าเบื้องต้นได้
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2567 19:40 น.