directions_run

โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอทัย เกิดเทพ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-037 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 15 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 15 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหา ผู้สูงอายุ ในหมู่ที่ 7 ต.ชัยบุรี จำนวน 183 คน พบว่า มีผู้สูงอายุติดเตียง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.46  มีภาวะเครียด 24 คน คิดเป็นร้อยละ 13.11  มีภาวะปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม นิ้วล็อค จากการนั่งทำเครื่องจักรสานเป็นเวลานาน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 27.32  และปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพนี้มีสาเหตุมาจากพฤติกรรม ในการนั่งนานๆ ในท่าเดิมๆ , ดื่มน้ำน้อย , กลั้นปัสสาวะ , กินไม่เป็นเวลา , นอนไม่เพียงพอ , ดื่มน้ำหวานบ่อยๆ ลักษณะอาชีพดังกล่าวจำเป็นในการดำรงชีพที่มีรายได้ดี ก่อให้เกิด การแข่งขันกันสูง เพื่อเป็นการสร้างจุดเด่นให้กับตัวเอง ทำเร็ว ทำสวย มีความคิดสร้างสรรค์ ทำให้มีคนสั่งทำกับตัวเองให้มากขึ้น จากปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพ  ยังส่งผลให้เกิด ผลกระทบด้านต่างๆด้านสุขภาพที่ตามมา เช่น ทำให้เกิดความเครียด นอนไม่หลับ ปวดเมื่อย ปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม นิ้วล็อก , โรคกระเพาะอาหาร , โรคไต สายตาเสื่อม , ภูมิแพ้จากฝุ่น ผลกระทบทางเศรษฐกิจ  มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม ในเรื่องการรักษา  เสียเวลาไม่สามารถทำงานได้ทำให้ขาดรายได้  รายได้ลดลง ผลกระทบทางสังคม  เสียเครดิตเนื่องจากการรับงานมาแล้วทำไม่เสร็จตามเวลา และเมื่อมีผลมาจากอาการเจ็บก็ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น เกิดมลภาวะทางอากาศ จากการเผาวัสดุเหลือใช้ , มีขยะ , มลภาวะจากน้ำสีที่ใช้ทำกระจูด จากการดำเนินงานที่ผ่านมา อบต.ชัยบุรี สนับสนุนในการออกกำลังกาย ให้งบประมาณ แต่ยังไม่ต่อเนื่อง และ บุคลากรในการให้ความรู้ปรับพฤติกรรม ยังไม่เพียง แกนนำในการขับเคลื่อนยังไม่มี มีแกนนำในการออกกำลังกายแต่ยังขาดทักษะในการออกกำลังกายเฉพาะด้าน จากปัญหาดังกล่าวมา ทาง อสม.บ้านท่าสำเภาเหนือ จึงเห็นเป็นเรื่องที่สำคัญ ที่ต้องได้รับการแก้ไข เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถปรับตัวรับกับพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ การเตรียมตัวก่อนแก่ ภาวะการเนือยนิ่งลดลง และสามารถสร้างบุคคลต้นแบบขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 60 จึงคิดจัดทำโครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสำเภา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการขยับกาย
  2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายเป็นกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีการขยับกาย และมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีภาวะเนือยนิ่งลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ
  2. เวทีสร้างความรู้
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  4. ประชุมแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ
  5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมาย
  6. ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  7. ประชุมติดตาม
  8. ประชุมสรุปถอดบทเรียน
  9. เวทีสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ ผู้สูงอายุ และแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
  10. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การขยับกาย การใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย
  11. ประชุมแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
  12. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมายและเครือข่ายผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพตนเอง
  13. ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง
  14. การประชุมติดตามประเมินผล (ARE)
  15. ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้สูงอายุและแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุในชุมชน แกนนำผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการขยับกาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการขยับกาย
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง 2.มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน
80.00

 

2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายเป็นกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานผู้สูงอายุ 25 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากตัวแทนทุกภาคส่วน เช่น ชมรม อสม. กรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน อบต. รพ.สต. เป็นต้น 2.เครือข่ายผู้สูงอายุสามารถจัดทำแผนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และผลักดันให้เกิดการดำเนินงานตามแผน พร้อมทั้งสามารถประเมินโครงการได้
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีการขยับกาย และมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.มีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุ 3.มีบุคคลต้นแบบในการปรับพฤติกรรมอย่างน้อย ร้อยละ 60
80.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีภาวะเนือยนิ่งลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุขยับกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2.มีชุดความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขยับกายของกลุ่มเป้าหมาย
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้สูงอายุและแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการขยับกาย (2) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายเป็นกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีการขยับกาย และมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีภาวะเนือยนิ่งลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (2) เวทีสร้างความรู้ (3) อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) ประชุมแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุ (5) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมาย (6) ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (7) ประชุมติดตาม (8) ประชุมสรุปถอดบทเรียน (9) เวทีสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ ผู้สูงอายุ และแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (10) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การขยับกาย การใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย (11) ประชุมแกนนำเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (12) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมายและเครือข่ายผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพตนเอง (13) ศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเอง (14) การประชุมติดตามประเมินผล (ARE) (15) ประชุมสรุปถอดบทเรียน /ค้นหาผู้สูงอายุต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุขยับกาย สบายชีวี ที่นี่ท่าสําเภา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-037

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอทัย เกิดเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด