directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้สูงอายุรพ.สต.บ้านศาลามะปราง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้สูงอายุรพ.สต.บ้านศาลามะปราง
ภายใต้โครงการ ร่วมทุน อบจ.พัทลุง ปี 2567
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ ึุ67-00199-041
วันที่อนุมัติ 15 มิถุนายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2567 - 15 เมษายน 2568
งบประมาณ 75,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านศาลามะปราง
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัลญา แสงน่วม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0944815741
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Kanlaya.sang2515@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางอมรรัตนื ทุ่มพุ่ม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มิ.ย. 2567 15 พ.ย. 2567 37,500.00
2 16 พ.ย. 2567 15 มี.ค. 2568 30,000.00
3 16 มี.ค. 2568 15 เม.ย. 2568 7,500.00
รวมงบประมาณ 75,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พื้นที่เขตความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลามะปราง ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ดูแลหมู่บ้านทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านสำนักปราง หมู่ที่ 2 บ้านสะพานยาง หมู่ที่4 บ้านเขาย่า และ หมู่ที่ 10 บ้านหูหนาน ครัวเรือนทั้งหมด 820 ครัวเรือนและ มีครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วย จำนวน 476 ครัวเรือน พื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลามะปราง  มีผู้สูงอายุ ทั้งสิ้นจำนวน  476 คน คิดเป็นร้อยละ 21.29 ซึ่งเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ทำให้ต้องมีการจัดการระบบในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจากการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่า ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 141 ราย และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 52 ราย ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่         กลุ่มดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นองค์หนึ่งในชุมชนที่มีการดูแล เสริมสร้าง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุภายในชุมชน ให้สามารถพึ่งพาและดูแลสุขภาพตนเองได้ จึงได้ทำการศึกษาสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้สูงอายุพบว่า เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม ได้แก่ ชอบอาหารรสจัด ชอบซื้อน้ำหวานถุง จำนวน 224 ราย  ซื้ออาหารสำเร็จรูป (ซื้อ 4-5วัน/สัปดาห์)  จำนวน 212  ราย รับประทานผักไม่เพียงพอ (น้อยกว่า 5 วัน/สัปดาห์) จำนวน 276 ราย อีกทั้งยังขาดระบบการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่มีคณะทำงานที่จริงจัง อีกทั้งในพื้นที่เป็นลักษณะชุมชนชนบทกึ่งเมืองและด้วยภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันข้าวยากหมากแพง จึงทำให้คนวัยทำงานต้องออกไปทำงานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัว ผู้สูงอายุจึงขาดผู้ดูแล         จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ โดยเฉพาะ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีภาวะขาดสารอาหาร มีปัญหาระบบการขับถ่าย เมื่อร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือเมื่อเกิดป่วยก็เสี่ยงต่อภาวะการพลักตกหกล้ม ทำให้เป็นภาระแก่คนรอบข้าง ต้องใช้เงินจำนวนมากในการดูแลรักษา อีกทั้งเวลาที่ต้องดูแลส่งผลกระทบต่อการหารายได้ในครัวเรือนเกิดภาวะยากจน ภาวะเครียดปัญหาด้านสุขภาพจิตก็ตามมาได้         กลุ่มดูแลผู้สูงอายุจึงเล็งเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่สมกับวัยผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการเลือกในการบริโภคอาหารแต่ละประเภท โดยเฉพาะในกลุ่มผักและกลุ่มโปรตีน เพื่อช่วยในการชะลอการเจ็บป่วย สามารถดูแลตนเองได้ดี ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานและลดการเกิดภาวะพึ่งพิงต่อไป

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย

-ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ80

80.00
2 เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนและติดตาม

-มีคณะทำงานและมีการประชุมติดตามงานทุก 2 เดือน

15.00
3 เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

มีแปลงผักรวมอย่างน้อย1แปลงในหมู่บ้านทุกหมู่และมีผักย่างน้อย 5 ชนิด/แปลง และมีแปลงผักในครัวเรือนร้อยละ 80

80.00
4 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง

80.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 60 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67พ.ย. 67ธ.ค. 67ม.ค. 68ก.พ. 68มี.ค. 68เม.ย. 68
1 ประชุม ARE(20 มิ.ย. 2567-20 มิ.ย. 2567) 0.00                      
2 ประชุมเปิดโครงการ(9 ก.ค. 2567-9 ก.ค. 2567) 3,800.00                      
3 จัดเก็บข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมาย(10 ก.ค. 2567-31 ก.ค. 2567) 3,800.00                      
4 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารและหลักในการเลือกบริโภคอาหารและความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัย(15 ส.ค. 2567-15 ส.ค. 2567) 19,000.00                      
5 ศึกษาดูงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพ(30 ส.ค. 2567-30 ส.ค. 2567) 24,400.00                      
6 ประชุมคณะทำงาน(9 ก.ย. 2567-9 ก.ย. 2567) 4,000.00                      
7 คัดเลือกแกนนำผู้สูงอายุในชุมชน(20 ก.ย. 2567-20 ก.ย. 2567) 1,500.00                      
8 การประกวดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(25 ต.ค. 2567-25 ต.ค. 2567) 1,500.00                      
9 กิจกรรมปิ่นโตสุขภาพ(20 พ.ย. 2567-20 พ.ย. 2567) 4,500.00                      
10 กิจกรรมประกวดบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง(10 ธ.ค. 2567-20 ธ.ค. 2567) 1,500.00                      
11 การประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร(10 ม.ค. 2568-20 ม.ค. 2568) 3,200.00                      
12 เวทีสรุปบทเรียนเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและผลลัพธ์ได้(10 ก.พ. 2568-10 ก.พ. 2568) 2,800.00                      
รวม 70,000.00
1 ประชุม ARE กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 3 0.00 0 0.00
26 มิ.ย. 67 ร่วมประชุมARE และร่วมพิธีลงนาม MOU 3 0.00 -
2 ประชุมเปิดโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 3,800.00 0 0.00
26 มิ.ย. 67 ประชุมเปิดโครงการ 80 3,800.00 -
3 จัดเก็บข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 3,800.00 0 0.00
10 - 31 ก.ค. 67 จัดเก็บข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 10 3,800.00 -
4 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารและหลักในการเลือกบริโภคอาหารและความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 19,000.00 0 0.00
15 ส.ค. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 60 19,000.00 -
5 ศึกษาดูงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 24,400.00 0 0.00
30 ส.ค. 67 ศึกษาดูงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพ 60 24,400.00 -
6 ประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 4,000.00 0 0.00
9 ก.ย. 67 ประชุมคณะทำงาน 20 4,000.00 -
7 คัดเลือกแกนนำผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 1,500.00 0 0.00
10 ต.ค. 67 คัดเลือกแกนนำผู้สูงอายุในชุมชน 60 1,500.00 -
8 การประกวดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,500.00 0 0.00
25 ต.ค. 67 การประกวดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 1,500.00 -
9 กิจกรรมปิ่นโตสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 4,500.00 0 0.00
20 พ.ย. 67 กิจกรรมปิ่นโตสุขภาพ 0 4,500.00 -
10 กิจกรรมประกวดบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 1,500.00 0 0.00
10 - 20 ธ.ค. 67 กิจกรรมประกวดบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง 60 1,500.00 -
11 การประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 3,200.00 0 0.00
10 - 20 ม.ค. 68 การประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร 10 3,200.00 -
12 เวทีสรุปบทเรียนเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและผลลัพธ์ได้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,800.00 0 0.00
10 ก.พ. 68 เวทีสรุปบทเรียนเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและผลลัพธ์ได้ 0 2,800.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 -มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง และผู้สูงอายุมีสุขภาพดี -ครัวเรือนปลูกผักอย่างน้อย 5 ชนิด/ครัวเรือน -มีแปลงผักในครัวเรือนร้อยละ 80 -มีกติการ่วมกันในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2567 19:50 น.