directions_run

ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง ”

บ้านศาลาคงจันทร์ ม.2 ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายธีรวิชญ์ จันทกูล

ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง

ที่อยู่ บ้านศาลาคงจันทร์ ม.2 ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 57-02591 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0073

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านศาลาคงจันทร์ ม.2 ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านศาลาคงจันทร์ ม.2 ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา รหัสโครงการ 57-02591 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 330 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม
  2. เพื่อเสริมสร้างทักษะและการปรับเปลี่ยนชีวิต โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนมาใช้ในการดำเนินชีวิต
  3. คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
  4. ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมปฐมนิเทศทำความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน  การรายงานผลการปฏิบัติงานผ่านเว็บไซด์  รายงานการเงิน  เงื่อนไขและระเบียบการทำงาน ใช้ระยะเวลาในการอบรม เป็นเวลา  2  วัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ● รู้จักพี่เลี้ยงสองประเภท และทีมงาน สจรส.

    ● ทบทวนโครงงาน ทำแผนกิจกรรมที่ชัดเจน กำหนดวันที่แน่นอน

    ● การอบรมเลี้ยงดูและลงข้อมูลในระบบติดตามประเมินผล และระบบรายงานผ่าน www.happynetwork.org.
    ● ทำความเข้าใจเรื่องรายงานและการเงิน

    การสนับสนุนของพี่เลี้ยง การลงพื้นที่อย่างน้อย 3  ครั้ง ครั้งที่ 1 การประชุมกับชุนชนทั้งชุมชน  เพื่อทำความเข้าใจกับชุมชน เรื่องความร่วมมือการดำเนินโครงการ การปรับและเพิ่มรายละเอียดของโครงการ

    ครั้งที่ 2 การติดตามเพื่อการหนุนเสริม  ปรับปรุง  การดำเนินงานของโครงการ

    ครั้งที่ 3 การสรุปผลการดำเนินงาน ช่วยสังเคราะห์ และแนะนำการเขียนรายงาน

    การลงติดตามสนับสนุนของ  สจรส.และพี่เลี้ยง - ทุก  2  เดือน  เพื่อช่วยทบทวนโครงการและให้การหนุนเสริมการมีปัญหา - ทุกโครงการนำเอกสารรายงานกิจกรรม รูปถ่าย เอกสารการเงิน  เพื่อให้ทาง สจรส.และพี่เลี้ยง  ช่วยตรวจสอบความถูกต้อง

    ข้อตกลงระหว่างกัน
    - ทุกโครงการต้องมีการลงบันทึกทุกกิจกรรม  และรายงานการเงินทุกครั้ง - โครงการต้องจัดกิจกรรมให้เสร็จสิ้นก่อนสัญญา  1-2  เดือน - หากโครงการไม่มีการดำเนินกิจกรรมภายใน  2  เดือน  โดยไม่มีเหตุผลเพียงพอ  จะต้องยุติโครงการและเรียกเงินคืน

     

    2 2

    2. ประชุมจัดตั้งสภาผู้นำชุมชน ที่มาจากกลุ่มองค์กร และกลุ่มต่างๆในชุมชน

    วันที่ 3 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ที่ประชุมเสนอตัวแทนกลุ่มมาทำหน้าที่สมาชิกสภาผู้นำ -ได้สภาชิกสภาผู้นำตัวแทนกลุ่มองค์กรของชุมชน 20คน -ที่ประชุมคัดเลือกคณะทำงานโครงการขึ้น 15คน -ที่ประชุมมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบของตัวแทนกลุ่มองค์กรที่เป็นสมาชิกสภาผู้นำบ้านศาลาคงจันทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ที่ประชุมได้นัดหมายประชุมสภาผู้นำทุกวันที่13ของทุกเดิอน -กำหนดแผนงานการทำงานโครงการและงานอื่นๆที่ประชุมได้มอบหมาย -และให้ผู้รับผิดชอบแต่ละแผนงานรายงานผลการทำงานในการประชุมครั้งต่อไป -ให้นำเสนอครัวเรือนขยายที่มาร่วมกิจกรรมกับโครงการที่ได้รับมอบหมายไปแต่ละเขตความรับผิดชอบ

     

    45 45

    3. สภาผู้นำชุมชนจัดประชุมชี้แจงโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้าน

    วันที่ 21 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงโครงการ และการดำเนินการกิจกรรมของโครงการ ในแต่ละกิจกรรมของโครงการ เพื่อการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการทำงานของผู้รับผิดชอบเป็นไปได้โดยสะดวก และเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมแต่ละกิจกรรม และให้ทั้งอง๕ืกรเครื่อข่ายที่เกียวข้องได้เข้าใจถึงวัตุประสงค์ เป้าหมาย ของโครงการเช่น ที่พักสงฆ์เกาะบก สถานีวิทยุ 101.00mkz. โรงเรียน อสม รพสต.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      มอบหมายผู้รับผิดชอบตามภาระหน้าที่ของแต่ละกิจกรรม คณะทำงานโครงการทำตามแผนงานที่วางไว้เพื่อประสานงานกลุ่มเป้าหมายและสมาชิก คณะทำงานและผู้มีส่วนเกียวข้องต้องมาสุปการทำงานกิจกรรมโครงการทุกวันที่๑๓ของทุกเดือน

     

    300 120

    4. สภาผู้นำชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน การประชุมติดตาม ประเมินผล(ครั้งที่ 1)

    วันที่ 28 ธันวาคม 2557 เวลา 13:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประจำเดือนของคณะทำงานโครงการ และสมาชิกสภาผู้นำที่ได้รับมอบหมายงานมาสรุป และประเมินกิจกรรมต่า่งๆของโครงการและกิกรรมต่างๆของหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สรุปงาน และขอบเขตของการทำงานในแต่ละกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย -ได้ปลูกจิตรสำนึกของสมาชิกที่ได้ร่วมโครงการเพื่อขยายกิจกรรมไปในครัวเรือนอื่นๆ -ได้แบ่งงานกันทำตามความถนัดของแต่ลัด้าน

     

    23 23

    5. ประชาสัมพันธ้ผ่นรายการวิทยุชุมชนและเสียงตามสาย

    วันที่ 14 มกราคม 2558 เวลา 10:00-11.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดรายการทางวิทยุชุมชน ของเยาวชนอาสาในเวลา10.00-11.00 (ทุกวันพุธ)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เป็นการประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้คนในชุมชนใด้รับข่าวสาร ความรู้จากโครงการอย่างต่อเนื่องและทันต่อข่าวสารที่ทันสมัยของทุกๆอาทิตย์

     

    200 200

    6. นิทรรศการตลาดนัดกองทุนกลุ่มอาชีพทางเลือกใหม่ของชุมชน โดยการจัดเป็นบู๊ธแสดงให้ความรู้และสิทธิประโยชน์ของการเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มกองทุนชุมชน ฯ

    วันที่ 18 มกราคม 2558 เวลา 09:00-17.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดนิทรรศการสุ่มต่างๆ เช่นอาหารปลอดภัย มีผู้มาสมัครเป็นสมาชิก ประมาณ 30คน สมาชิกธนาคารต้นไม้ 40คน สมาชิกปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ 30คน ุ่มพลังงานชุมชน 30คน รายชื่อสมชิกกลุ่มอาหารปลอดภัย นายธีรวิชญ์ จันทกูล นางยุพิน กิตติลีลา นางจำเนียร สะมะบุบ นายพชรฌน จันทกูล นางอมิตา ประกอบชัยชนะ นายเสรี จันทกูล นางวิลัยลักษณ์ จันทกูล นางสาววิไล ยอดเกลี้ยง นางประภา สุวรรณชาตรี นายธนชัย จันทกูล นายนิกร จันทกูล นายเจริญ ศรีสุวรรณ นายนิตย์ จันทกูล นางละออ สะมะบุบ นายจำนงค์ วรรณศรียพงษ์ นายนิพนธ์ สะมะบุบ นางเฟือง ขุนทองเพ็ชร นายสมปอง ทองเอื้อย นายสมบัติ บัวสม นางสุภาพร สะมะบุบ นายวัฒนา วรรณศรียพงษ์ นางฐิติมนฑ์ กิเจริญ นายโชติ ฉิมสี น.ส.จุฑารัตน์ ทองเอื้อย รายชื่อกลุ่มธนาคารต้นไม้(พืชร่วมยาง) นายศักดิ์ชัย พูลผล นายสมนึก หนูเงิน นางแพรว ขันทอง นายแพรว จันทกูล นางรัตติยา ขุนทองเพ็ชร นางเฟือง ขุนทองเพ็ชร

    นายแอบ ขำจิตร น.ส.สุภาวิดาวรรณ  บุญรัตน์ นางธนัชพร ทองรักษ์ นางอุไร เกตุมาก นายสมพงศ์ ยอดเกลี้ยง นายวีระ แสงพรหม นางรัชนี เจ๊กแช่ม นางจำเนียร สะมะบุบ น.ส.อ่อนอรุณ       บุญรัตน์ รายชื่อกลุ่มพลังานชุมชน นายอำนวย สะมะบุบ นางละออ สะมะบุบ นางอำนวย ริกชู นางละเอียง นมรักษ์ นายบรรจง ทองเอื้อย นางประภา สุวรรณชาตรี นางเสริม จันทกูล นางพัชรี ทองอำพล นางผอบ พรหมศรี นางดอกแก้ว บุบผา นางวรรณี แก้วเรือง น.ส.นงลักษณ์ ประกอบชัยชนะ นายคะนอง แก้วอัมพร นางนภาพร บุญรัตน์ นางอบ ขำจิตร นายคำนึง ศรีสุวรรณ นายภาพ (เนย) แก้วเรือง นายนิกร จันทกูลนางฟอง วรรณศรียพงษ์ นายวันดี ธรรมสะระ นางสำรวย จันทกูล นายมานพ ชูจิตร นายปรีชา ชูวิจิตร นางลัดดา ชูใจ นายจรูญ บุญรัตน์ นางอมิตา ประกอบชัยชนะ นายประพันธ์ แก้วเรือง นายเฉลิม บุญรัตน์ นายเจริญ ศรีสุวรรณ นายประพาส อินทมุณี นางละมัยพร แก้วเรือง นางนอง ทองมาก นางจิตร์ ยอดเกลี้ยง นางหิ้ม ชุมน้อย นายเสรี จันทกูล นายนิตย์ ทองมาก น.ส.ฐิติเนย์ ก่อประเสริฐ

    รายชื่อกลุ่มปุ๋ยน้ำชีวภาพนางประโลม สุวรรณศรี นางนิตย์ เรืองดำ นางจิตร อินทมุณี นางสุปราณี เกษมสุข นางเหียน ทองมีขวัญ นางจุไร ธุลี นางเขียว อินทมุณี นางวิมลวรรณ จันทกูล นางนันทนภัส ทองมาก นายประสิทธิ์ ชูสงค์ นายวิชาญ  ประกอบชัยชนะ
    นายสมพร แสงมณี นางสุดา พลภากิจ นางละออง ทิพแก้ว นางปนัดดา จันทกูล นายสมมิตร ทองมาก นางสมนึก ศรีสุวรรณ นายสมปอง ทองเอื้อย นายชอบ จิตรณรงค์ ชึ่งแต่ละกลุ่มได้กำหนดการจัดทำแผนการทำงานของกลุ่มเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มองกรต่างๆได้จัดแผนงานของกลุ่มในการทำงานแต่ละปี เช่นกลุ่มปลูกไม้ร่วมยาง กำหนดให้ปี2558มีการขยายพื้นที่ปลูกไม้ร่วมยางให้ได้200ไรต่อปีและมีต้นไม้อย่าง20,000ต้นเป็นต้นและกลุ่มปลูกผักอินทรีย์ได้มีการจัดทำแผนในการร่วมกลุ่มกันจำหน่ายผักปลอดสารพิษในตลาดนัดชุมชนทุกวันเสาร์

     

    200 150

    7. ประชุมสภาผู้นำและคณะทำงานโครงการ(ครั้งที่2)

    วันที่ 25 มกราคม 2558 เวลา 13:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ร่วมประชุมปรึกษาหารือ และร่วมกันประเมินการทำงานของคณะทำงานโครงการ เพื่อติดตามโครงการและร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เกิดการเรียนรู้กันระหว่างคณะทำงานร่วมกัน มีคณะทำงานโครงการแ่งหน้ากันทำงานตามภารหน้าของคณะทำงานกันเอง เกิดการบูรณาการในโครงการของแต่ละแผนงาน

     

    23 23

    8. ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ผ่าวิทยุชุมชน และเสียงตามสาย

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชาสัมพันธ์ทางวิทยุชุมชน และเสียงตามสายในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ให้ประชาชนในพื้นที่และพื้นที่ไกล้เคียงได้รับทราบความเคลื่อนไหวของโครงการและกิจกรรมต่างของหมู่บ้าน ชุมชน

     

    200 200

    9. กิจกรรม”ซอแรงบ้านเธอ บ้านฉัน สานสัมพันธ์คน 2 วัย

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซอแรงพัฒนาบริเวณพื้นที่สาธารณะ เพื่อความสามัคีในชุมชนและความเป้นระเบียบเรียบร้อยในชุมชนพร้อมที่จะอญุ่ร่วมกันอย่างเข้าใจและมีความสุขโดยร่วมกันพัฒนาบริเวณการสัญจรไปมาภายในชุมชนให้สะดวก สะอาด ปลอดภัยและพร้อมที่ช่วยกันพัฒนาเมื่อชุมชนต้องการซอแรง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้เห็นความเอื้ออาทรต่อกันและกันในชุมชน ร่วมพัฒนาในพื้นที่เป็นสาธารณะของสว่นร่วม ความเอื้ออารีย์ต่อกัน การเห็นอกเห็นกันเมื่อเข้ามาร่วมกิจกรรมร่วมกับคนในชุมชนอย่างเต็มใจและพร้อมที่ให้ความร่วมมือกับชุมชนตลอดเวลา

     

    100 50

    10. ประชุมสภาผู้นำและคณะทำงานโครงการ(ครั้งที่3)

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน โครงการ สมาชิกสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ปรึกษาหารือกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปในแต่ละกิจกรรม เพื่อประเมินการทำงานของแต่ละฝ่ายและได้ดำเนินการเคลื่อนต่อไป

     

    23 30

    11. ทำป้ายเขตปลอดบุหรี

    วันที่ 7 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายปลอดเขตบุหรี และติดตั้งป้ายเขตปลอดบุหรี3จุด ที่ประชุมคณะทำงานโครงการ ที่ศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชนและที่หอประชุมพุธบารมี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อให้เห็นถึงกฎกติกาของการให้เคารพสถานที่ในการเข้ามาทำกิจกรรมแต่ละสถานที่ในการเข้าร่วม

     

    2 330

    12. กิจกรรมซอแรง: กลุ่มกองทุนปุ๋ย สมาชิกร่วมกันทำปุ๋ยหมัก, น้ำหมัก(, ครั้งที่1) แบ่งปันผลผลิตให้กับสมาชิกไปใช้แปลงสมาชิ

    วันที่ 8 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-16 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้การทำน้ำหมักในสูตรต่างๆ เพื่อแบ่งกันใช้ในแต่ละครัวเรือนและช่วยกันทำปู๋ยอินทรีย์เพื่อแบ่งปันให้กับสมาชิกในกลุ่มโดยการช่วยกันเอาส่วนผสมมารวมกันทำเป็นปุ๋ยหมักเพื่อใช้กับพืชผักในครัวเรือน แต่ละครัวเรือยช่วยกันเอาส่วนผสมตามสูตรมาผสมร่วมกันโดยผสมเสร็จแล้วหมักไว้20วันมาดูว่ากองปู๋ยเย็นแล้วยัง ถ้าเย็นแล้วก็นำไปใช้ได้เลย โดยการให้สมาชิกมาเอาเฉลียคนละเท่ากันเพราะปุ๋ยหมักที่ทำมีมากพอต่อการตองการให้กับสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน รู้วิธีการทำน้ำหมักในสูตรต่างๆ แนะนำและสูตรเพื่อนได้ นำไปปรับใช้ให้ประโยชน์ต่อต้นไม้ได้ และได้ปริมาณปุ๋ยอินทาีย์ที่ได้จากการชอแรงและแบ่งปันกันใช้แต่ละครัวเรือนได้ครบทั้ง30ครัวเรือนได้ปริมาณปุ๋ยประมาณ5ตันโดยผลัดกันทำและช่วยกัยดูแลกองปุ๋ยชึ่งมีค่ามากสำหรับสมาชิกที่ได้ร่วมกันทำ และจากการทำกิจกรรมสมาชิกในกลุ่มได้รู้จักแบ่งปันกันร่วมกันทำ ร่วมกันหาวัสดุ ร่วมกันรับผิดชอบ ร่วมกันแก้ปัญหา สุดท้ายร่วมกันรับปุ๋ยที่ช่วยกันทำไปใชี่บ้านอย่างภาคภูมิใจ

     

    20 250

    13. เยาวชนฝึกร้องเพลงลิเกป่า จำนวน 10 ชั่วโมง โดยการนำเรื่องราวจากการสำรวจชุมชนทั้งด้านขยะ,วิถีชีวิต

    วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมเรียนรู้และการเขียนบทของการเล่นลิเกป่า และแสดงออกถึงการหวงแหนประเพณีบ้านเรา โดยการสาธิตจากปราชญ์และแสดงให้เห็นถึงการแสดงของดนครีสวรรค์ ลิเกป่า มโนราห์เป็นต้น โดยการเรียนรู้จากการแสดงในงานจริงหลังจากนันก็มาทบทวนและปฏิบัติตามขันตอนที่วิทยากรได้มาให้ความรู้กับเด็ดแลเยาวชนในชุมชน โดยการฝึกหัดการแต่งบทกลอนต่างๆและเรียนรู้สาระของลิเกป้่าเช่นประว้ตืลิกาป่าลิเกป่าหรือลิเกรำมะนาเป็นการเล่นพื้นเมืองที่น่าสนใจอย่างหนึ่งของชาวเมืองนครศรีธรรมราชและชาวภาคใต้ทั่วไป ไม่ทราบแน่ชัดว่าการละเล่นชนิดนี้มีมาตั้งแต่เมื่อใดคนเก่าคนแก่ของชาวภาคใต้ซึ่งมีอายุมากกว่า 70 ปีแล้วเล่าให้ฟังว่ามีคณะลิเกป่าเล่นกันมานานและเกือบจะพูดได้ว่ามีอยู่เกือบจะทุกหมู่บ้าน โดยเฉพาะที่อำเภอเมืองมีลิเกป่ามากกว่าที่อื่นใดทั้งสิ้น แต่ในปัจจุบันนี้จะหาดูลิเกป่าจากที่ใดในเมืองนครศรีธรรมราชไม่ได้อีกแล้ว

              มีผู้กล่าวว่าลิเกป่าได้แบบอย่างมาจากพวกแขก กล่าวคือ คำว่า "ลิเก" มาจากการร้องเพลงสรรเสริญพระเป็นเจ้าของแขกเจ้าเซ็นที่เรียกว่า "ดิเกร์" ซี่งเป็นภาษาเปอร์เซีย เพราะนิกายเจ้าเซ็นนี้มาจากเปอร์เซีย พวกเจ้าเซ็นที่เข้ามาอยู่ในเมืองไทยเคยได้รับพระราชูปภัมถ์มากมายตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมา เพราะพวกเจ้าเซ็นมีเสียงไพเราะ ร้องเพลงเป็นที่นิยมฟังกันทั่วไป ต่อมาไม่นานนอกจากพวกเจ้าเซ็นแท้ๆ แล้วก็มีคนไทยหัดร้องเพลงดิเกร์ขึ้น ขั้นแรกก็มีทำนองการใช้ถ้อยคำเหมือนกับเพลงสวด ต่อมาเมื่อคนไทยนำมาร้องก็กลายเป็นแบบไทย และคำว่าดิเกร์ก็เพี้ยนมาเป็นลิเกหรือยี่เก แต่อย่างไรก็ตามถ้าหากพิจารณาถึงเครื่องดนตรี รำมะนาที่ลิเกป่าใช้ประโคมประกอบการเล่นนั้น ชวนให้เข้าใจว่าการเล่นลิเกป่าน่าจะได้แบบอย่างมาจากมลายู เพราะมลายูมีกลองชนิดหนึ่งเรียกว่า "ระบานา" (Rebana) ซึ่งมีสำเนียงคล้ายกับรำมะนาของไทยเราดังกล่าวแล้ว

              ลิเกป่าหรือลิเกรำมะนาซึ่งเคยมีเล่นกันแพร่หลายในนครศรีธรรมราช เล่นได้เกือบทุกงานเช่นงานแต่งงาน บวชนาค งานวัด งานศพ โรงสำหรับแสดงคล้ายกับโรงมโนห์ราคือปลูกเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดกว้างและยาวเท่าๆ กับโรงมโนห์รา มีหลังคา ยกพื้นหรือไม่ยกพื้นก็ได้ ใช้เสื่อปู หน้าโรงโปร่งทั้งสามด้าน ตรงกลางมีฉากหรือม่านกั้น ส่วนหลังโรงใช้เป็นที่แต่งตัวและเก็บเครื่องใช้ไม้สอย ตะเกียงที่ใช้ใช้เป็นตะเกียงเจ้าพายุ หรือไม่ก็ใช้ไต้จุดช่วย

              การแต่งกายของตัวแสดงส่วนใหญ่มีชุดอย่างไรก็แต่งกันอย่างนั้น คือตามมีตามเกิด มีมากแต่งมากมีน้อยแต่งน้อย แต่พระเอกจะแต่งกายงามเป็นพิเศษ คือนุ่งผ้าโจรงกระเบน ใส่เสื้อแขนยาว ใส่ทองกร สวมสายสร้อย สังวาล ทับทรวง ถ้ามีชฎา ซึ่งอาจจะทำด้วยกระดาษหรือหนัง ประดับประดาด้วยพลอยหรือกระจกให้แวววาว ส่วนนางเอกก็นุ่งผ้าถุงจีบใส่เสื้อแขนสั้น กำไลเท้า มีผ้าห่มคลุมห้อยพาดหลัง อาจจะสวมใสชฎา หรือใส่กระบังหน้าหรือไม่ใส่ก็ได้ เครื่องประดับอื่นๆ ก็มีสร้อยร้อยลูกปัด ถ้าเป็นตัวตลก หรือเสนาอำมาตย์ก็แต่งกายอย่างง่ายๆ คือไม่สวมเสื้อ นุ่งผ้าถุง แต้มหน้าทาคิ้วให้ดูแล้วน่าขัน

              ผู้แสดงลิเกป่าคณะหนึ่งๆ มีไม่เกิน 8 คน แต่ถ้ารวมลูกคู่เข้าไปด้วยก็มีจำนวนคนเท่าๆ กัน กับมโนห์ราคณะหนึ่งทีเดียว
              การแสดงลิเกป่าจัดแสดงได้ในเกือบทุกงานดังกล่าวแล้ว ก่อนลงมือแสดงจะต้องโหมโรงก่อนประมาณ 15-20 นาที การโหมโรงจะใช้กลองรำมะนาตีประโคมเพื่อให้จังหวะ กับมีบทเพลงคล้ายๆ กับลำตัดร้องไปด้วย โดยผลัดกันร้องทีละคน เวียนเป็นรูปวงกลม ขณะที่ร้องเพลงจะต้องขยับท่าให้เข้ากับคำร้องและจังหวะของกลอง บางทีอาจจะมีลูกคู่ออกมารำสมทบด้วย ผลัดเปลี่ยนกันไปทีละคู่ ๆ การร้องเพลงและประโคมดนตรีเช่นนี้เรียกว่า "เกริ่นวง" ตัวอย่างเพลงเกริ่นของลิเกป่ามีดังนี้

    "น้ำขึ้นเต็มคลอง
    แม่ไม่ใส่เสื้อ
    "น้ำเอยเจ้าไหลรี่
    ลอยมาข้างนี้
    "โอ้เจ้าช่อมะม่วง
    ถ้าน้องลวงพี่
    เรือล่องไปติดซัง
    ถ่อเรือไปแลหนัง
    ไอ้ปลากระดี่ลอยวน
    มารับเอาพี่ไปด้วยคน"
    โอ้เจ้าพวงมะไฟ
    พี่จะหนีไปแห่งใด"
    หลังจากร้องเพลงเกริ่นแล้วก็เป็นการออกแขก แขกที่ออกมาจะแต่งกายและแสดงท่าทางตลอดจนสำเนียงพูดเลียนแขกอินเดียทุกอย่าง อาจจะมีเพียงตัวเดียวหรือ 2 ตัวก็ได้โดยผลัดกันออกมาคือแขกขาวกับแขกแดง ออกมาเต้นหน้าเวทีพร้อมกับแสดงท่าทางและร้องประกอบโดยมีลูกคู่รับไปด้วย หลังจากแขกเข้าโรงแล้ว จะมีผู้ออกมาบอกกับผู้ดูว่าจะแสดงเรื่องอะไร และหลังจากนั้นก็เป็นการแสดงเรื่องราว
              เรื่องที่ลิเกป่านิยมเล่นกันมากได้แก่วรรณคดีเก่าๆ เช่น อิเหนา โคบุตร สุวรรณหงส์ ลักษณวงศ์ เป็นต้น หรือไม่ก็เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นเองตามยุคสมัยที่นิยมกันก็มี
              ภาษาที่พวกลิเกป่าใช้ ไม่ว่าจะเป็นบทร้องหรือบทเจรจาพวกลิเกป่าจะใช้ภาษาของชาวพื้นเมืองที่ตถนัดกันเป็นส่วนใหญ่ แต่ถ้าเป็นตัวเอกทั้งฝ่ายหญิงฝ่ายชายจะใช้ภาษาที่ชาวพื้นเมืองเรียกว่าภาษาข้าหลวง คือเป็นภาษากลาง แต่สำเนียงพูดแปร่งๆ ผิดๆ ถูกๆ หรือที่เรียกกันว่า "พูดทองแดง"
              จากที่กล่าวมาแล้วน่าจะสรุปได้ว่า ที่เรียกการละเล่นชนิดนี้ว่าลิเกป่านั้นคงจะเนื่องมาจากเล่นไม่ยึดถือแบบฉบับ ขาดความสมบูรณ์ในทุกๆ ด้านและเล่นกันเป็นงานบันเทิงสมัครเล่นเพื่อความสนุกสนานตามประสาชาวบ้านป่า ไม่ได้ยึดถือเป็นอาชีพแน่นอนนั่นเอง
              ในปัจจุบันการเล่นลิเกป่าที่จังหวัดนครศรีธรรมราชหาดูไม่ได้อีกแล้ว ทั้งนี้เพราะมีเหตุหลายประการที่ทำให้การละเล่นชนิดนี้เสื่อมสูญไป เช่น เนื่องจากการเล่นลิเกของภาคกลาง ซึ่งเผยแพร่เข้ามาดูน่าชมกว่า เล่าเรื่องที่น่าสนใจกว่า การขับร้องและท่ารำก็แปลกและพิสดารกว่า และสาเหตุอีกประการหนึ่งก็คือลิเกป่าเป็นลิเกสมัครเล่น ไม่ได้ยึดเป็นอาชีพจริงจังดังกล่าว พร้อมกันนั้นอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตกได้เผยแพร่เข้ามามากลิเกป่าจึงเสื่อมหายไปในที่สุดจนเกือบจะหาชมไม่ได้อีกเลย

              ลิเกป่านิยมเล่นกันแถบชนบท บ้านนาบ้านป่า เป็นการหาความสนุกสนานในยามว่างงาน เป็นลิเกสมัครเล่นไม่ได้ยึดถือเป็นอาชีพหลัก นิยมเล่นกันแถบชนบท บ้านนาบ้านป่า เป็นการหาความสนุกสนานในยามว่างงาน เป็นลิเกสมัครเล่นไม่ได้ยึดถือเป็นอาชีพหลัก แต่ถ้าใครรับไปแสดงในงานต่างๆ ก็จะรวมสมัครพรรคพวกไปเล่นได้ อัตราค่าแสดงก็ไม่แน่นอนแล้วแต่ข้อตกลงกับเจ้าภาพ เช่น ระยะเวลาที่แสดง ระยะทางและค่าพาหนะในการเดินทาง เป็นต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนได้รู้จักประเพณีวัฒนธรรม และการละเล่นพื้นบ้านของชุมชน ประยุกต์มาเป็นบทกลอนในการแสดงออกให้เห็นประโยชน์กับชุมชนสือถึงการเป็นการรักและหวงแหนวัฒนธรรมพื้นบ้านที่เกิดจากการอนุรักษ์จากรุ่นสู่รุ่น

     

    30 30

    14. คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 16 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินค่า้เปิดบัญชีธนาคาร

     

    2 2

    15. จัดทำรายงานงวดที่1

    วันที่ 16 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      จัดทำรายงาน ส1 ส2 ง1 ตรวจสอบเอกสารการเงิน การดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จัดทำรายงานเพื่อรายงานการทำกิจกรรมงวดที่1ตามแผนงาน ปฏิทิน ที่ได้กำหนดไว้และดำเนินการครั้งต่อไป

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 23 คน ที่มาจากกลุ่มองค์กร และกลุ่มต่างๆในชุมชน 1.2 สภาผู้นำชุมชน มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง

     

    2 เพื่อเสริมสร้างทักษะและการปรับเปลี่ยนชีวิต โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนมาใช้ในการดำเนินชีวิต
    ตัวชี้วัด : 2.1.เกิดกลุ่มกองทุนอาชีพ ไม่น้อยกว่า 4 กลุ่ม ในชุมชน เช่น กลุ่มกองทุนปุ๋ยหมักชีวภาพ,,กลุ่มกองทุนขยะรีไซร์เคิล,กลุ่มกองทุนพลังงานทางเลือก,กลุ่มกองทุนต้นกล้าเมล็ดพันธุ์/พันธุ์กล้าไม้ /ผักอินทรีย์ 2.2.ประชาชนบ้านศาลาคงจันทร์มีความตระหนักลดการใช้ขยะ เช่น ใช้ถุงผ้าซื้อของในตลาด ,ใช้ปิ่นโตในการบรรจุอาหาร ตลอดจนนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย หลังเสร็จสิ้นโครงการ มีพื้นที่เครือข่ายเพิ่มใน 5 ชุมชน 2.3.มีชุดข้อมูลสถานการณ์ขยะในชุมชนบ้านศาลาคงจันทร์ และชุมชนเครือข่ายใกล้เคียง จำนวน 1 ชุด 2.4.เกิดกลุ่มเยาวชน”เยาวชนรักษ์ถิ่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” ในโรงเรียนบ้านโคกค่าย จำนวน 50 คน ทำหน้าที่เป็นหู ตา รณรงค์ให้ความรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านตลอดจนติดตามสถานการณ์ขยะทั้งของชุมชนและโรงเรียน 2.5.ในการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนบ้านโคกค่ายและโรงเรียนใกล้เคียงจำนวน 2 โรงเรียน มีการบรรจุเนื้อหาการบริหารและการจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยเฉพาะเรื่องการจัดการขยะ เช่น ด้านพลังงานทางเลือก,ด้านเกษตรอินทรีย์, และเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มสาระวิชา 1 กลุ่มสาระ 2.6.มีข้อตกลงที่ประกาศเป็นเขตพื้นที่ลดการใช้ขยะพลาสติก จำนวน 4 เขตพื้นที่ในชุมชน คือ ตลาดนัดชุมชน,สำนักสงฆ์,โรงเรียน,ครัวเรือนในชุมชนบ้านศาลาคงจันทร์ หมู่ 2 2.7.เกิดต้นแบบครัวเรือน จำนวน 30 หลังในการทำงานร่วมกันของคนในชุมชน ในรูปแบบทำงานแบบกลุ่มซอแรงทุกเดือน

     

    3 คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 3.1. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำบัญชีครัวเรือน และการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมออย่างน้อย ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 10 ครั้ง 3.2. เกิดครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 ครัวเรือน ในการทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง 3.3. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 100 คน มีรายได้เพิ่มขึ้น จากผลผลิตในชุมชน (ดูจากบัญชีครัวเรือน )

     

    4 ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.
    ตัวชี้วัด : 4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม (2) เพื่อเสริมสร้างทักษะและการปรับเปลี่ยนชีวิต โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนมาใช้ในการดำเนินชีวิต (3) คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน (4) ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง

    รหัสโครงการ 57-02591 รหัสสัญญา 58-00-0073 ระยะเวลาโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    โครงการเกิดความรู้ใหม่ในองค์ความรู้ -ของการจัดระบบการทำงานแบบบูรณาการ(กิจกรรมประสานงานในการทำงาน) -ในเรื่องการทำงานตามความสามารถของของคณะทำงาน -เยาวชนได้แสดงกิจกรรมตรงของโครงการเช่นการดำเนินรายการสดทางวิทยุชุมชน การปฏิบัติการทำปุ๋ยน้ำแต่ละสุตร -สมาชิกกลุ่ม สมาชิกของโครงการเกิดการมีส่วนร่วมในโครงบอ่ยครั้งทำให้เกิดการทำกิจแบบต่อเนื่อง -ได้เกิดสูตรปู่ย ความรู้การปลูกสมุนไพร การปลูกต้นไม้ คุณประโยชน์ของต้นไม้แต่ละชนิด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    -เกิดเตาเผาขยะในครัวเรือน เตาเผาขยะแบบถัง200ลิตร

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การขับเคลื่อนงานตาม แผนงาน ๘ แผนงาน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    -รับผิดชอบงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    -เกิดกลุ่มใหม่ในชุมชน ๑.กลุ่มปลูกไม้ร่วมยาง ๒.กลุ่มน้ำยางสดบ้านควน ๓.กลุ่มเยาวชนรักษ์ถิ่น ๔.กลุ่มจัดการขยะ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    -แหล่งเรียนรู้พลังงานชุมชน -แหล่งรู้สื่อชุมชน -แหล่งเรียนรู้สำนักปฎิบัติธรรม -แหล่งเรียนรูการจัดการขยะชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    -ชาวบ้านปลูกผักกินเองในครัวเรือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    -ลานออกกำลังกายชุมชน -ทีมจักรยานชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    -เข้ววัดร่วมทำบุญทุกวันพระ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    มีชุดเฝ้าระวังทางสังคมช่วยดูแล

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    -มีการประชุมกันบ่อยๆ -กิจกรรมเข้าวัดฟังธรรม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    -มีภูมิปัญญาเรื่องสมุนไพรในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    -การมีส่วนร่วมต่อชุมชนสังคม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    -มีกลุ่มปลูกไม้ร่วมสร้าง -ธนาคารต้นไม้ -ธนาคารขยะ -แหล่งเรียนรู้พลังงานชุมชน -แหล่งเรียนรู้จัดการขยะในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    -มีชุดเฝ้าระวังทางสังคม -แหล่งเรียนรู้สำนักปฎิบัติธรรม -มีสถานีวิทยุชุมชนช่วยเป็นกระบอกข่าว

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    -มีอสม.บริการ สุขภาพแก่คนในชุมชน -มีรพสต.ให้บริการคนในชุมชน -มี่กองทุนสปสช.ให้ใช้บริการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ปี 3 : ชุมชนจัดการตนเองตามวิถีพอเพียง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 57-02591

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายธีรวิชญ์ จันทกูล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด