directions_run

เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node โควิค ภาคใต้


“ เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้ ”

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอริฟ หะนิแร

ชื่อโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้

ที่อยู่ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64002140015 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2564 ถึง 31 มกราคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node โควิค ภาคใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้



บทคัดย่อ

โครงการ " เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64002140015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2564 - 31 มกราคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก Node โควิค ภาคใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้ได้รับผลกระทบกับประชากรทุกระดับชั้น ไม่ว่าจะเป็นแรงงานที่ถูกเลิกจ้างงานเพราะลดจำนวนแรงงานหรือบางธุรกิจเลือกใช้เทคโนโลยีมาทดแทนแรงงาน แรงงานที่เคยไปทำงานต่างประเทศกลับไปทำงานไม่ได้เพราะลดการเดินทางข้ามเขต อันส่งผลกระทบต่อสุขภาวะชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ที่ต้องเดินทางกลับจากการประกอบอาชีพเดิมที่ประเทศมาเลเซียและพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้ครอบครัวต้องขาดรายได้ในการประกอบอาชีพหลักที่เคยทำมาและในขณะเดียวกันสินค้าบางชนิดเพิ่มราคา ทำให้กลุ่มอาสาทำดีบ้านกรือซอ ที่มีการรวมกลุ่มโดยผู้นำศาสนาในชุมชนทำกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์อยู่แล้ว มีความคิดที่อยากจะพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เพราะสภาพแวดล้อมบังคับ จึงมีความคิดที่อยากแปรรูปผลิตภัณฑ์ในชุมชน ที่สามารถสร้างรายได้เสริมในช่วงวิกฤตินี้ ปลาส้ม เป็นการแปรรูปอาหารจากปลาชนิดหนึ่งที่นิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลาย ในทุกภูมิภาคเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถนอมอาหาร ซึ่งการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นการผลิตแบบอุตสาหกรรมในครอบครัว โดยอาศัยเทคนิควิธีทีถ่ายทอดสืบต่อกันมา ดังนั้นรสชาติ หรือคุณภาพของปลาส้มแต่ละแห่ง จึงมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสูตรการผลิต อย่างไรก็ตาม แม้สูตรการผลิตเดียวกัน ในแต่ละครั้งก็อาจไม่ได้คุณภาพเท่ากัน ทั้งนี้เพราะการผลิตปลาส้มจะเป็นการหมักเพื่อให้เกิดเชื้อตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุมได้คุณภาพและรสชาติ จึงมีโอกาสเปลี่ยนแปลงเนื่องจากองค์ประกอบหลายๆ ด้าน กลุ่มอาสาทำดีบ้านกรือซอ มีการเลี้ยงปลาทำให้มีวัตถุดิบปลาเป็นจำนวนมากถึงแม้จะจำหน่ายในชุมชนและในตลาดแล้ว แต่ก็ยังมีปลาเหลือจากการจำหน่าย กลุ่มอาสาทำดีบ้านกรือซอ มีความต้องการพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีอยู่ในชุมชน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน จึงได้มีการรวมตัวของสมาชิกในชุมชนเพื่อดำเนินการจัดหางบประมาณในการจัดทำโครงการ เพื่อเสริมสร้างและเกิดกระบวนการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมให้สามารถปรับตัวได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างทัศนคติที่เอื้อต่องานบริการ ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นฐานพลังในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนให้ประสบความสำเร็จ เป็นแบบอย่างที่ดีในการแก้ไขปัญหาสังคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาประเทศ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในระดับท้องถิ่นอันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19
  2. 2. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
  2. ป้ายโครงการและป้ายรณรงค์
  3. เวทีชี้แจงโครงการ
  4. จัดประชุมคณะทำงาน 3 ครั้ง
  5. การเก็บข้อมูล
  6. อบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพและสุขภาพที่ดี
  7. อบรมการประกอบอาชีพและการตลาด
  8. การประกอบอาชีพ
  9. เวทีถอดบทเรียน
  10. จัดทำเล่มรายงาน
  11. เข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศ โครงการ ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
  12. ป้ายโครงการฯและป้ายรณรงค์เลิกบุหรี่
  13. เวทีชี้แจงโครงการ
  14. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  15. เก็บข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ
  16. อบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพและสุขภาพที่ดี
  17. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
  18. อบรมการประกอบอาชีพและการตลาด
  19. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
  20. แปรรูปปลาส้ม
  21. เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ
  22. เวทีถอดบทเรียน
  23. เล่มรายงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงาน 15
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ครอบครัวต้องมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้
  • ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม (DMHTT )
  • ผู้เข้าร่วมโครงการมีการป้องกันตนเองทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้านและเข้าสังคม
  • มีการสรุปและวิเคราะห์สถานะทางการเงินมีบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองได้ -ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนมีอาชีพที่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในช่วงการระบาด โควิด 19 -ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการออม -ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนอยู่อย่างพอเพียงหนี้สินลดลงหรือไม่มีหนี้สิน -คนที่ตกงานหรือถูกเลิกจ้างสามารถอยู่ได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้การระบาด โควิด 19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศ โครงการ ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้

วันที่ 11 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการชีเแจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทางการดำเนินงานโครงการและธามไลน์โครงการ บรรยายเรื่องบันไดผลลัพธ์ บรรยายเรื่องการออกแบบเก็บข้อมูลตัวชี้วัด บรรยายเรื่องระบบบัญชี การเงิน บรรยายเรื่องการรายงานกิจกรรมโครงการทางระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการมากขึ้นและสามารถกลับไปชี้แจงให้กับคณะทำงานในพื้นที่ได้ มีความรู้ในการจัดทำแบบเก็บข้อมูลตัวชี้วัด มีความรู้ในการจัดทำระบบบัญชี การเงิน ที่ถูกต้องได้เรียนรู้การรายงานกิจกรรมโครงการทางระบบออนไลน์

 

2 0

2. ป้ายโครงการฯและป้ายรณรงค์เลิกบุหรี่

วันที่ 18 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลโครงการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ดพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้ จัดทำป้ายรณรงค์เกี่ยวกับการเลิกบุหรี่ เพื่อเป็นสื่อให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและประชาชนทั่วไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ใช้สำหรับจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ดพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้ ในแต่ละกิจกรรม ผู้เข้าร่วมโครงการและประชาชนที่ได้เห็นสื่อนี้ มีความตระหนักในการที่จะสูหรือเลิกสูบบุหรี่ได้

 

45 0

3. เวทีชี้แจงโครงการ

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ให้กับคณะทำงานและผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 45 คน โดย นายมะยูนัน มามะ พี่เลี้ยงโครงการประจำจังหวัดนราธิวาส 1.พี่เลี้ยงจังหวัดชี้แจงความเป็นมาของโครงการ 2.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน 3.คัดเลือกคณะทำงาน จำนวน 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในโครงการฯ และยินดีที่จะเข้าร่วมทุกๆกิจกรรมที่จัดขึ้น ภายใต้โครงการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้

 

45 0

4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 26 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ทำความเข้าใจให้กับคณะทำงานมากขึ้น จัดทำแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ แบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบของคณะทำงานกับสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความมุ่งมั่นที่จะขับเคลื่อนโครงการ มีแผนงานที่ชัดเจน มีเขตรับผิดชอบที่ชัดเจน เพื่อง่ายต่อการติดตามงาน

 

15 0

5. เก็บข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ได้จ้างนายเปาซัม อาแว ลงพื้นที่เก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกคนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและยินยอมในการให้ข้อมูล

 

30 0

6. อบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพและสุขภาพที่ดี

วันที่ 15 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดอบรม ให้ความรู้ ด้านการทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพ โดยการเชิญครูบัญชีอาสาในพื้นที่มาให้ความรู้ โดย ครูบัญชีอาสา
  • จัดอบรม ให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพที่ดี ด้วยการบริโภคอาหารที่ถูกตามหลักโภชนาการ โดย นักโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการบันทึกรายรับ-รายจ่าย ทำให้มีการวิเคราะห์ว่าในแต่ละวันเราใช้จ่ายกับสิ่งที่จำเป็นหรือสิ่งที่ไม่จำเป็นมากกว่ากัน และรายรับส่วนใหญ่มาจากช่องทางไหนบ้าง

 

45 0

7. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 19 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประเมินความเสี่ยงที่เกิดจากการระบาดของโควิด 19 ระยะที่ 3 ว่าสามารถจัดกิจกรรมตามแผนงานโครงการได้หรือไม่ และติดตามผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 30 คน ว่ามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมในครั้งนี้ผ่านไปด้วยดี โดยมีการรายงานถึงกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนในกิจกรรมต่อไป เพื่อให้กิจกรรมสามารถดำเนินการต่อไปได้หรืออาจจะต้องพักให้สถานการณ์ดีขึ้นก่อน

 

15 0

8. อบรมการประกอบอาชีพและการตลาด

วันที่ 28 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • เรียนรู้วิธีการแปรรูปปลาส้ม จากปลาตะเพียนขาว ปลาทับทิม และปลานิล
  • เรียนรู้การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา
  • เรียนรู้วิธีการตลาดตลาดออนไลน์และตลาดออฟไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้มีทักษะเกี่ยวกับการคัดเลือกปลาที่จะนำมาใช้ในการแปรรูปเป็นปลาส้ม มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์แบบสุญญากาศ และการขายออนไลน์ด้วยการเปืดรับออเดอร์ก่อนที่จะทำสินค้า

 

45 0

9. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 13 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อดำเนินการต่อกิจกรรมที่เหลืออยู่ คือ การแปรรูปปลาส้มและเวทีถอดบทเรียน พร้อมได้มีการชี้แจงเรื่องที่ต้องให้คณะทำงานเข้าร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและการเขียนรายงานปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมในครั้งนี้ผ่านไปด้วยดี โดยมีการรายงานถึงกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนในการจัดกิจกรรมที่เหลืออยู่และรายงานผลการทำกิจกรรมตลอดโครงการ ภายใต้มาตราการของกรมควบคุมโรคอย่างเคร่งครัด

 

15 0

10. แปรรูปปลาส้ม

วันที่ 15 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงมือปฏิบัติการแปรรูปปลาส้มจากปลาตะเพียนขาว ปลาทับทิมและปลานิล ด้วยขั้นตอนและวิธีการแต่ละขั้นตอน ที่ได้เข้าร่วมอบรมเรียนรู้จากวิทยากรก่อนหน้านี้
  • มีการพัฒนาการบรรจุภัณฑ์ โดยใช้วิธีการแพ็คใส่ถุงสุญญากาศในการบรรจุผลิตภัณฑ์ปลาส้ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถแปรรูปปลาส้มจากปลาตะเพียนขาว ปลาทับทิมและปลานิลได้
  2. สามารถพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ดีขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าทางสินค้า

 

30 0

11. เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ

วันที่ 26 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เปิดกิจกรรมกล่าวต้อนรับ โดย อาจารย์สุวิทย์ หมาดอะดำ ผู้จัดการโครงการ โครงการย่อยนำเสนอผลลัพธ์โครงการของแต่ละพื้นที่ จัดกระบวนการสังเคราะห์กลุ่มย่อย หัวข้อ "หากชุมชนอื่นๆจะทำโครงการเกี่ยวกับการสร้างอาชีพและรายได้ จะมีรูปแบบและขั้นตอนอย่างไร" และ "ปัจจัยความสำเร็จ/ไม่สำเร็จ และสิ่งที่ได้เรียนรู้" การใช้ระบบติดตามโครงการ เพื่อปิดโครงการย่อยในระบบออนไลน์ ด้านกิจกรรม ด้านการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ได้มีการแลกเปลี่ยนพื้นที่ๆเข้าร่วมโครงการย่อย ทำให้ได้รู้ถึงศักยภาพและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ๆเกิดขึ้น แต่ละพื้นที่มีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ต่างกัน แต่เป้าหมายเดียวคือขับเคลื่อนโครงการให้สำเร็จและผู้เข้าร่วมโครงการได้มีคุณภาพที่ดีขึ้นในเรื่องของการประกอบอาชีพและเรื่องการเงิน มีวินัยในการออม นำความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรมตลอดโครงการมาพัฒนาตัวเอง และได้พัฒนาองค์ความรู้ในการทำรายงานปิดโครงการผ่านระบบออนไลน์

 

3 0

12. เวทีถอดบทเรียน

วันที่ 28 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดเวทีคืนข้อมูลและสรุปกิจกรรมตลอดการเข้าร่วมกิจกรรม
  • จัดทำเล่มรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะอาชีพในการแปรรูปปลาส้ม
  2. มีเครือข่ายในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เพิ่มขึ้น
  3. มีรายได้เสริมจากการประกอบอาชีพหลักและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของตัวเองที่ดี

 

45 0

13. เล่มรายงาน

วันที่ 29 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ป้อนข้อมูลกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไว้ตลอดโครงการ ประมวลข้อมูลที่ได้รับจากการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำข้อมูลที่ได้รับจากระบบออนไลน์มาปริ้นท์เป็นเล่มรายงาน จัดทำเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19
ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วม (DMHTT ) 2. เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีการป้องกันตนเองทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้านและเข้าสังคม - มีการสรุปและวิเคราะห์สถานะทางการเงินของตนเองได้
80.00 30.00

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ ผู้เข้าร่วมโครงการมีการป้องกันตนเองทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้านและเข้าสังคม มีการสรุปและวิเคราะห์สถานะทางการเงินของตนเองได้

2 2. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19
ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมีอาชีพที่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในช่วงการระบาดโควิด 19 - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการออม - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการอยู่อย่างพอเพียง หนี้สินลดลงหรือไม่มีหนี้สิน 2.เชิงคุณภาพ - คนที่ตกงานหรือถูกเลิกจ้างสามารถอยู่ได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในช่วงของการระบาดโควิด 19
80.00 30.00

ผู้เข้าร่วมโครงการมีอาชีพที่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในช่วงการระบาดโควิด 19
ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการออม ผู้เข้าร่วมโครงการอยู่อย่างพอเพียง หนี้สินลดลงหรือไม่มีหนี้สิน
คนที่ตกงานหรือถูกเลิกจ้างสามารถอยู่ได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในช่วงของการระบาดโควิด 19

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงาน 15 15
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 (2) 2. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับโครงการ (2) ป้ายโครงการและป้ายรณรงค์ (3) เวทีชี้แจงโครงการ (4) จัดประชุมคณะทำงาน 3 ครั้ง (5) การเก็บข้อมูล (6) อบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพและสุขภาพที่ดี (7) อบรมการประกอบอาชีพและการตลาด (8) การประกอบอาชีพ (9) เวทีถอดบทเรียน (10) จัดทำเล่มรายงาน (11) เข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศ โครงการ ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้ (12) ป้ายโครงการฯและป้ายรณรงค์เลิกบุหรี่ (13) เวทีชี้แจงโครงการ (14) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (15) เก็บข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ (16) อบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุนอาชีพและสุขภาพที่ดี (17) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (18) อบรมการประกอบอาชีพและการตลาด (19) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (20) แปรรูปปลาส้ม (21) เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ (22) เวทีถอดบทเรียน (23) เล่มรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้

รหัสโครงการ 64002140015 ระยะเวลาโครงการ 10 เมษายน 2564 - 31 มกราคม 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปปลาส้มเพื่อการสร้างรายได้ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64002140015

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอริฟ หะนิแร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด