directions_run

โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด

ชื่อโครงการ โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ65-00232-0004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ุ65-00232-0004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลนาโหนด ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 11 ตำบลนาโหนด อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลนาโหนด มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 39.88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 24,926 ไร่  มีหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 3,010 ครัวเรือน มีประชากรรวม 8,473 คน มีโรงเรียน 4 โรงเรียน มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 ศูนย์ มีวัด 4 วัด มีสำนักสงฆ์ 3 สำนักสงฆ์ มีมัสยิด 2 มัสยิด มีตลาดนัดเอกชน จำนวน 4 แห่ง มีคลอง 1 สายหลักคือคลองวัดหัวหมอน
สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลนาโหนด ขยะที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นขยะในครัวเรือน ซึ่งมีการทิ้งโดยไม่มีการคัดแยกก่อนทิ้ง ขยะประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ เศษอาหาร หรือแม้กระทั่งชิ้นส่วนของวัสดุก่อสร้าง ก็นำมาทิ้งให้เทศบาลจัดเก็บ และอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากเทศบาลตำบลนาโหนดมีพื้นที่ เป็นทางผ่านของถนนสายหลัก มีประชาชนใช้เส้นทางสัญจรมาก และมีการนำขยะทิ้งไว้บริเวณเส้นทางที่ผ่าน ทำให้มีปริมาณขยะจากนอกพื้นที่มากขึ้น จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ประชาชนขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ เจ้าของตลาดนัดไม่ให้ความร่วมมือ จำนวน 4 แห่ง แม่ค้าขาดความรับผิดชอบในการคัดแยกขยะ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด

เทศบาลตำบลนาโหนด ได้จัดเก็บขยะในพื้นที่ตำบลนาโหนด ทุกวัน จันทร์ – เสาร์ หยุดวันอาทิตย์ ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 2-3 ตัน/วัน โดยรถบรรทุกขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย ขนาดความจุ  12 ลบ.ม. จำนวน  1 คัน สถานที่กำจัด ขอใช้บริการสถานที่เทศบาลเมืองพัทลุงนอกตำบลนาโหนด ไม่มีถังขยะบริการ พนักงานเก็บขยะ จำนวน 2  คน พนักงานขับรถ 1 คน มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะ เช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 650,000 บาทต่อปี ประชาชนในตำบลยังไม่มีการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน อย่างจริงจัง ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี (ปริมาณขยะในปีงบประมาณ 2563 จัดเก็บได้ 766.54 ตัน ปีงบประมาณ 2564 จัดเก็บได้ 775.4 ตัน ) และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วย เมื่อปี 2563 มีไข้เลือดออก จำนวน 12 คน  ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เฉลี่ย 125 บาทต่อคน และมีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรค ปีหนึ่งประมาณ 25,000 บาทต่อปี ในส่วนผลกระทบต่อสังคม มีเรื่องร้องเรียนการนำขยะจากนอกพื้นที่มาทิ้งที่ข้างทางถนน 3 ครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

เทศบาลตำบลนาโหนด ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ โดยการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง
  2. เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
  4. เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
  5. เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ
  2. รณรงค์ BIG CLEANING DAY
  3. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  4. อบรมคณะทำงาน( ครู ก.) ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง
  5. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  6. จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายโครงการ
  7. ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน
  8. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 4)
  9. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 2)
  10. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 10)
  11. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 6)
  12. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 8)
  13. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 11)
  14. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 5)
  15. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 9)
  16. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 7)
  17. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 3)
  18. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 1)
  19. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
  20. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (ครั้งที่ 2)
  21. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 1
  22. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง
  23. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  24. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  25. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  26. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  27. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2
  28. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
  29. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ไม่เกิน 1,000 บาท ภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง
  30. กิจกรรม รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ตัวแทนครัวเรือน/เจ้าของตลาดนัด/แม่ค้า 440
ประชาชนในชุมชน 1,000

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียน
ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่
Phattahlung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
แนวทางการบริหารจัดการ การเงินและการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดทำรายงานผ่านระบบHappy Network ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Network และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ
Happy Network ความสำคัญของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย/พี่เลี้ยง ออกแบบการเก็บข้อมูลตัวชี้วัด กลุ่มที่ 1 ประเด็นการจัดการขยะ
กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการน้ำเสีย กลุ่มที่ 3 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง กลุ่มที่ 4 ประเด็นการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา กลุ่มที่ 5 ประเด็นนาปลอดภัย การลงนามสัญญาข้อรับทุน สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วม 3 คน ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการการเงินโครงการ สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบันทึกโครงการ กิจกรรมในระบบได้

 

3 0

2. รณรงค์ BIG CLEANING DAY

วันที่ 25 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล พนักงานจ้าง อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกและประชาชนในชุมชนนาโหนด ทั้ง 30 คนช่วยกันทำความสะอาดบริเวณ 2 ข้างทางถนนสายหลัก บริเวณสองข้างทางหลวงชนบทสายสี่แยกนาโหนด บ้านคู โดยแบ่งเป็น 3 จุด ดังนี้ จุดที่ 1 เริ่มจาก ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ถึง สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด จุดที่ 2 เริ่มจาก ทางเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ถึง ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านที่ 2 จุดที่ 3 เริ่มจาก สี่แยกนาโหนด ถึง ทางเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล พนักงานจ้าง อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลกและประชาชนในชุมชนนาโหนด ทั้ง 30 คนช่วยกันทำความสะอาดบริเวณดังกล่าวตามวัตถุประสงค์ ผลลัพท์ บริเวณ 2 ข้างทางถนนสายหลัก บริเวณสองข้างทางหลวงชนบทสายสี่แยกนาโหนด บ้านคู โดยแบ่งเป็น 3 จุด ดังนี้ จุดที่ 1 เริ่มจาก ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ถึง สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด จุดที่ 2 เริ่มจาก ทางเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ถึง ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านที่ 2 จุดที่ 3 เริ่มจาก สี่แยกนาโหนด ถึง ทางเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ชุมชนนาโหนด บริเวรดังกล่าวมีความสะอาด ลดขยะ บ้านเมืองน่าอยู่

 

30 0

3. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คณะทำงานจำนวน 30 คน ที่คัดเลือกมาจากแกนนำในชุมชน 11 หมู่บ้าน
  2. คณะทำงานคัดเลือกครัวเรือน ร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
  3. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน
  4. คณะทำงานจัดทำแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน รับทราบรายละเอียดโครงการและบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน ผลลัพธ์ คณะทำงานจำนวน 30 คน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองและสามารถนำไปใช้ในการทำกิจกรรมในโครงการได้ตามวัตถุประสงค์

 

30 0

4. จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายโครงการ

วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1 ป้ายและป้ายโครงการ 1 ป้าย -เพื่อการใช้ในการดำเนินกิจกรรมตามแผนโครงการ

 

0 0

5. อบรมคณะทำงาน( ครู ก.) ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง

วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-คัดเลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้ -จัดหาชุดวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะแต่ละประเภท เพื่อสร้างการเรียนรู้
-สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R -ร่วมพิจาณาและกำหนดเส้นทางเดินขยะทุกประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน รับทราบรายละเอียดโครงการและบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน -การเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R
-ประเภทของขยะและการคัดแยกขยะ -การกำจัดขยะ ผลลัพธ์ -คณะทำงานจำนวน 30 คน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองและสามารถนำไปใช้ในการทำกิจกรรมในโครงการได้ตามวัตถุประสงค์
-สามารถแยกประเภทของขยะได้ถูกต้อง -การจัดการขยะในชุดมชนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและส่งผลให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง

 

30 0

6. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานพื้นที่ศึกษาดูงานที่มีความสำเร็จการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.นำคณะทำงานร่วมศึกษาดูงาน 3.สรุปผลการศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ เทศบาลตำบลชะรัดและ เทศบาลตำบลโคกม่วง

ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ เรื่องประเภทของขยะและความตระหนักในการจัดการขยะ
2.คณะทำงานรับทราบรายละเอียดการดำเนินโครงการและมีแผนการจัดการขยะรายครัวเรือน 3.คณะทำงานสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบได้

 

30 0

7. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 4)

วันที่ 12 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 4 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

8. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 2)

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 2 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

9. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 10)

วันที่ 2 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 10 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

10. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 6)

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 6 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

11. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 8)

วันที่ 10 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 8 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

12. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 11)

วันที่ 17 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 11 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน
7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

13. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 5)

วันที่ 23 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 5จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน 7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

14. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 9)

วันที่ 25 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 9 จำนวน 50 คน ผลลัพท์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน 7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

15. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 7)

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 7 จำนวน 50 คน 1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน 7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

16. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 3)

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 3 จำนวน 50 คน ผลลัพท์1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน 7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

17. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 1)

วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาและวัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องชนิดและประเภทของขยะ และวิธีการจัดการขยะแต่ละประเภท 3.ให้ความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท 4.ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะโดยลงมือฝึกปฏิบัติ 5.มอบหมายภารกิจการคัดแยกขยะในครัวเรือน 6.มอบหมายภารกิจ การจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและนักเรียนของโรงเรียนขยะในหมู่ที่ 1 จำนวน 50 คน ผลลัพท์1.ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักชนิดและประเภทของขยะและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท
4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภทของขยะ 5.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับมอบหมายภารกิจการจัดการขยะในครัวเรือน 6.ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน 7.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการสร้างเครือข่ายไม่น้อยกว่า 5 ครัวเรือน

 

50 0

18. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

19. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (ครั้งที่ 2)

วันที่ 19 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานทั้ง 30 คนลงทะเบียน ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในการทำกิจกรรม วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อปรับแผนในการทำกิจกรรมในครั้งถัดไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน รับทราบรายละเอียดผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ คณะทำงานจำนวน 30 คน เข้าใจปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น นำไปปรับแผนการปฎิบัติงานในครั้งถัดไป เพื่อให้บรรลุตามวัตถุของโครงการ

 

30 0

20. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 1

วันที่ 19 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานทั้ง 30 คน ลงทะเบียน ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ 1เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของโครงการในรอบที่ 1 2.สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว -คัดเลือกคณะทำงาน(ครู ก.) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน -อบรมคณะทำงาน(ครู ก.)ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง -พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม -อบรมให้ความรู้ การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศพด. เจ้าของตลาดนัด ร้านค้า 3ประเมินผลลัพธ์กิจกรรมร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน รับทราบกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว

คณะทำงานจำนวน 30 คน รับทราบบันไดผลลัพธ์โครงการจัดการขยะตำบลนาโหนด ดังนี้ ผลลัพธ์ที่ 1.เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง -มีตัวแทนจากท้องถิ่น ผู้นำชุมชน อสม. และโรงเรียน -มีข้อมูลขยะชุมชน -มีแกนนำในชุมชนจำนวน 473 คน ผลลัพธ์ที่2.นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ -มีการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน(คัดแยก กำจัด ใช้ประโยชน์) -นักเรียนของโรงเรียนขยะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ครัวเรือนในพื้นที่ ผลลัพธ์ที่3.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ -เกิดมาตรการของชุมชน การกำหนดวันและเวลาในการทิ้งขยะ ผลลัพธ์ที่4.ปรอมาณขยะในชุมชนลดลง -ขยะครัวเรือนลดลง

 

30 0

21. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะทำงานทั้ง 3 ท่านลงทะเบียน 2.แบ่งกลุ่มทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ -กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย -กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ -กลุุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย -กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง -กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น -การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ -การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน -การเชื่อมโยงการทำงานกับภาคี -การจัดการด้านการเงิน 4.สรุปผลการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุการ และเหรัญญิก เข้าร่วมเข้าร่วมการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการการเงินโครงการ สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบันทึกโครงการ กิจกรรมในระบบได้

 

3 0

22. ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ พิธีเปิดโครงการ กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน แบ่งบทบาทหน้าที่ ขับเคลื่อนการจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือนแก่คณะทำงาน เพื่อติดตามผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 30 คน มีความรู้เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน ผลลัพธ์ คณะทำงานทั้ง 30 คน มีความรู้เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน (โดยใช้ขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เช่น หยวกกล้วย ใบไม้ อาหารเปียก ทำปุ๋ยอินทรีย์จากการย่อยสลายของใส้เดือน) คณะทำงานทั้ง 30 คน รู้บทบาทหน้าที่ ขับเคลื่อนการจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือนแก่คณะทำงาน เพื่อนติดตามผล

 

30 0

23. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) 1.ลงทะเบียนคณะทำงาน 2.ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 3.คณะทำงานรายงานการจัดการขยะในพื้นที่รับผิดชอบ 4.กำหนดนัดประชุมติดตามผลครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.คณะทำงาน ลงทะเบียน 22 คน 2.คณะทำงานรับทราบกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน  กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ -กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน ครั้งที่ 1 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 19 ตุลาคม 2565
-กิจกรรมที่ 2 อบรม ครู ก.ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง วันที่ 29 มิถุนายน 2565 -กิจกรรมที่ 3 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) วันที่ 19 ตุลาคม 2565 -กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 -กิจกรรมที่ 5 ให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า จำนวน 11 ครั้งดังนี้ 1. หมู่ที่ 4 วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 7.หมู่ที่ 5 วันที่ 23 สิงหาคม 2565 2. หมู่ที่ 2 วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 8.หมู่ที่ 9 วันที่ 25 สิงหาคม 2565 3. หมู่ที่ 10 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 9. หมู่ที่ 7 วันที่ 30 สิงหาคม 2565 4. หมู่ที่ 6 วันที่ 4 สิงหาคม 2565 10. หมู่ที่ 3 วันที่ 2 กันยายน 2565 5.หมู่ที่ 8 วันที่ 10 สิงหาคม 2565 11. หมู่ที่ 11 วันที่ 5 กันยายน 2565 6.หมู่ที่ 11 วันที่ 17 สิงหาคม 2565
-กิจกรรมที่ 6 ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 -กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ BIG CLEAING DAY ครั้งที่ 1 25 พฤษภาคม 2565 3.คณะทำงานรายงานผลการจัดการขยะในพื้นที่ ดังนี้ -หมู่ที่ 4 มีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เศษอาหารหรือขยะเปียกนำไปทำปุ๋ยหมัก ใช้รดน้ำพืชผักในครัวเรือน -รพ.สต.บ้านต้นไทร จะมีขยะอันตราย ติดเชื้อ ซึ่งโรงพยาบาลพัทลุงจะมารับในวันพุธ ขยะประเภทอื่นแยกต่างประเภท ขวดน้ำเอาไปขาย ส่วนขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -หมู่ที่ 9 ตัวแทนจากหมู่บ้าน ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ขวดพลาสติกนำไปขาย อาหารเปียกชาวบ้านนำไปหมักโดยมีกากน้ำตาลหรือ EM ได้เป็นปุ๋ยอินทรีย์โดยมีสารอาหารที่พืชต้องการมากที่สุด ส่วนขยะทั่วไปใส่ถุงดำ ขยะอันตรายจะนำไปแลกไข่กับเทศบาลครับ และในหมู่ที่ 9 จะนำร่อง ทำถนนกินได้ จะปลูกผักปลอดสารพิษ
-หมู่ที่ 7 มีการคัดแยกขยะ นำขยะเปียกไปใส่โคนต้นไม้ ไม่มีการเผาขยะ -หมู่ที่ 8 ขวดพลาสติกมีการคัดแยกและนำไปขาย กระดาษใส่ถุงดำทิ้งกับเทศบาล ขวดแก้วเก็บรวมรวมไว้ -โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนของเราเข้าร่วมโครงการของ CP All กระดาษให้นักเรียนแยกสีขาว สีต่างกล่องนม ถุงนมตัดล้างทำความสะอาด นำส่ง CP All เพื่อนำไปรีไซด์เคิลเป็นโต๊ะ เก้าอี้ ใบไม้แห้งของธรรมชาติต่างๆ ใส่หลุมที่ขุดไว้ มีการเผาบ้างแต่เล็กน้อย ส่วนขวดพลาสติก แยกไว้เพื่อนำไปขาย -โรงเรียนบ้านต้นไทรมีถังขยะแยกประเภทเป็นสี แยกกระดาษไว้ขาย ขยะเปียกให้สัตว์ ไม่มีการเผาขยะ -โรงเรียนวัดบ่วงช้าง มีการคัดแยกขยะตามประเภทต่างๆที่ถูกวิธี ขยะเปียกไม่มี -ศพด.บ้านวังไทรทอง เศษขยะเปียก ครูจะเอากลับบ้านให้ไก่ ถุงนม นำไปต่อยอดทำสิ่งประดิษฐ์ ขวดพลาสติกนำไปขาย -ศพด.บ้านนาโหนด ขยะเปียกใช้เป็นอาหารสัตว์ ใบไม้ทำปุ๋ย ขวดพลาสติกนำไปขาย 4.นัดหมายครั้งต่อไป เดือนมีนาคม 2566

 

30 0

24. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) 1.ลงทะเบียนคณะทำงาน 2.ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 3.คณะทำงานรายงานการจัดการขยะในพื้นที่รับผิดชอบ 4.กำหนดนัดประชุมติดตามผลครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.คณะทำงาน ลงทะเบียน 22 คน 2.คณะทำงานรับทราบกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน  กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ -กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน ครั้งที่ 1 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 19 ตุลาคม 2565 ครั้งที่ 3 วันที่ 15 ธันวาคม 2565
-กิจกรรมที่ 2 อบรม ครู ก.ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง วันที่ 29 มิถุนายน 2565 -กิจกรรมที่ 3 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) วันที่ 19 ตุลาคม 2565 -กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 -กิจกรรมที่ 5 ให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า จำนวน 11 ครั้งดังนี้ 1. หมู่ที่ 4 วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 7.หมู่ที่ 5 วันที่ 23 สิงหาคม 2565 2. หมู่ที่ 2 วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 8.หมู่ที่ 9 วันที่ 25 สิงหาคม 2565 3. หมู่ที่ 10 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 9. หมู่ที่ 7 วันที่ 30 สิงหาคม 2565 4. หมู่ที่ 6 วันที่ 4 สิงหาคม 2565 10. หมู่ที่ 3 วันที่ 2 กันยายน 2565 5.หมู่ที่ 8 วันที่ 10 สิงหาคม 2565 11. หมู่ที่ 11 วันที่ 5 กันยายน 2565 6.หมู่ที่ 11 วันที่ 17 สิงหาคม 2565
-กิจกรรมที่ 6 ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 -กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ BIG CLEAING DAY ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 3.คณะทำงานรายงานผลการจัดการขยะในพื้นที่ ดังนี้ -โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนของเราเข้าร่วมโครงการของ CP All กระดาษให้นักเรียนแยกสีขาว สีต่างกล่องนม ถุงนมตัดล้างทำความสะอาด นำส่ง CP All เพื่อนำไปรีไซด์เคิลเป็นโต๊ะ เก้าอี้ ใบไม้แห้งของธรรมชาติต่างๆ ใส่หลุมที่ขุดไว้ มีการเผาบ้างแต่เล็กน้อย ส่วนขวดพลาสติก แยกไว้เพื่อนำไปขาย

-โรงเรียนบ้านต้นไทรมีถังขยะแยกประเภทเป็นสี แยกกระดาษไว้ขาย ขยะเปียกให้สัตว์ ไม่มีการเผาขยะ -หมู่ที่ 7 มีการคัดแยกขยะ นำขยะเปียกไปใส่โคนต้นไม้ ไม่มีการเผาขยะ -หมู่ที่ 8 ขวดพลาสติกมีการคัดแยกและนำไปขาย กระดาษใส่ถุงดำทิ้งกับเทศบาล ขวดแก้วเก็บรวมรวมไว้ -ศพด.บ้านโคกว่าว คัดแยกถุงนมไว้ประดิษฐ์ของเล่น กระดาษใช้ 2 หน้า มีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -ศพด.บ้านวังไทรทอง เศษขยะเปียก ครูจะเอากลับบ้านให้ไก่ ถุงนม นำไปต่อยอดทำสิ่งประดิษฐ์ ขวดพลาสติกนำไปขาย -ศพด.บ้านนาโหนด ขยะเปียกใช้เป็นอาหารสัตว์ ใบไม้ทำปุ๋ย ขวดพลาสติกนำไปขาย -หมู่ที่ 9 ตัวแทนจากหมู่บ้าน ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ขวดพลาสติกนำไปขาย อาหารเปียกชาวบ้านนำไปหมักโดยมีกากน้ำตาลหรือ EM ได้เป็นปุ๋ยอินทรีย์โดยมีสารอาหารที่พืชต้องการมากที่สุด ส่วนขยะทั่วไปใส่ถุงดำ ขยะอันตรายจะนำไปแลกไข่กับเทศบาลครับ และในหมู่ที่ 9 จะนำร่อง ทำถนนกินได้ จะปลูกผักปลอดสารพิษ
-รพ.สต.บ้านต้นไทร จะมีขยะอันตราย ติดเชื้อ ซึ่งโรงพยาบาลพัทลุงจะมารับในวันพุธ ขยะประเภทอื่นแยกต่างประเภท ขวดน้ำเอาไปขาย ส่วนขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -หมู่ที่ 4 มีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เศษอาหารหรือขยะเปียกนำไปทำปุ๋ยหมัก ใช้รดน้ำพืชผักในครัวเรือน -เทศบาลนาโหนด มีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ขยะทั่วไปจะเป็นพลาสติกใส่ถุงดำแล้วทิ้ง ไม่มีการเผาขยะ เศษอาหารนำไปทิ้งถังขยะเปียกลดโลกร้อน มีการคัดแยกขยะอันตราย หลอดไฟ ถ่ายไฟถ่าย 4.นัดหมายครั้งต่อไป เดือนมิถุนายน 2566

 

0 0

25. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) 1.ลงทะเบียนคณะทำงาน 2.ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 3.คณะทำงานรายงานการจัดการขยะในพื้นที่รับผิดชอบ 4.กำหนดนัดประชุมติดตามผลครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.คณะทำงาน ลงทะเบียน 25 คน 2.คณะทำงานรับทราบกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน    กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ -กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน ครั้งที่ 1 วันที่ 8 มิถุนายน 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 19 ตุลาคม 2565 ครั้งที่ 3 วันที่ 15 ธันวาคม 2565 ครั้งที่ 4 วันที่ 22 มีนาคม 2566 -กิจกรรมที่ 2  อบรม ครู ก.ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง วันที่ 29 มิถุนายน 2565 -กิจกรรมที่ 3  เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) วันที่ 19 ตุลาคม 2565 -กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 -กิจกรรมที่ 5 ให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า จำนวน 11 ครั้งดังนี้ 1. หมู่ที่ 4 วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 7.หมู่ที่ 5 วันที่ 23  สิงหาคม 2565 2. หมู่ที่ 2 วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 8.หมู่ที่ 9 วันที่ 25  สิงหาคม 2565 3. หมู่ที่ 10 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 9. หมู่ที่ 7 วันที่ 30  สิงหาคม 2565 4. หมู่ที่ 6 วันที่ 4  สิงหาคม 2565 10. หมู่ที่ 3 วันที่ 2 กันยายน 2565 5.หมู่ที่ 8 วันที่ 10  สิงหาคม 2565 11. หมู่ที่ 11 วันที่ 5 กันยายน 2565 6.หมู่ที่ 11 วันที่ 17  สิงหาคม 2565
-กิจกรรมที่ 6 ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 -กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ BIG CLEAING DAY ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤษภาคม 2565


3.คณะทำงานรายงานผลการจัดการขยะในพื้นที่ ดังนี้ -เลขาฯคณะทำงาน แจ้งปริมาณขยะที่รถเก็บได้ในแต่ละเดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2565- พฤษภาคม 2566 โดยมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นแต่ละเดือนดังนี้ เดือนตุลาคม 2565  =  62.32 กิโลกรัม เดือนพฤศจิกายน 2565  =  59.85 กิโลกรัม เดือนธันวาคม 2565  =  59.85 กิโลกรัม เดือนมกราคม 2566  =  55.5  กิโลกรัม เดือนกุมภาพันธ์ 2566  =  53.5  กิโลกรัม เดือนมีนาคม  2566  =  59.85  กิโลกรัม เดือนเมษายน  2566  =  60  กิโลกรัม เดือนพฤษภาคม  2566  =  54  กิโลกรัม 4.นัดหมายครั้งถัดไป  เดือนกรกฎาคม  2566

 

0 0

26. กิจกรรม รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 30 คน ลงทะเบียน คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 30 คน ช่วยกันทำความสะอาดบริเวณ  2 ข้างทางถนนสายหลัก ดังนี้ จุดที่ 1 เริ่มจาก ถนนเส้นสามแยกหัวหมอน ถึงสามแยกโคกอ้ายเหวก จุดที่ 2 เริ่มจาก ถนนสามแยกสะพานพร้าว ถึงแยกตรอกปด-เกาะนารอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน
2.คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 30 คน ช่วยกันทำความสะอาดบริเวณ 2 ข้างทางถนนสายหลัก บริเวณสองข้างทาง หลวงชนบทสายสี่แยกนาโหนด บ้านคู  ดังนี้ จุดที่ 1 เริ่มจาก ถนนเส้นสามแยกหัวหมอน ถึงสามแยกโคกอ้ายเหวก จุดที่ 2 เริ่มจาก ถนนสามแยกสะพานพร้าว ถึงแยกตรอกปด-เกาะนารอบ 3.ชุมชนนาโหนดมีความสะอาดมากยิ่งขึ้น บ้านเมืองน่าอยู่ สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชนและเสริมสร้างวินัยในการรักษาความสะอาดแก่คนในชุมชนยิ่งขึ้น

 

30 0

27. คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) 1.เปลี่ยนแปลงผู้ดำรงตำแหน่งประธานคณะทำงานโครงการตำบลสะอาด(ลดแหล่งพาหนะนำโรค)ชุมชนนาโหนด จากเดิมนายประจักษ์ พุฒสุข เป็น นายสมพงศ์ บุญรุ่ง เนื่องจากนายประจักษ์ พุฒสุขเสียชีวิต 2.รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้ว 2.1การคัดเลือกคณะทำงาน(ครู ก)เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน 2.2อบรมคณะทำงาน(ครู ก)ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.3พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน เรียนรู้ ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 2.4อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.5อบรมให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน 2.6จัดกิจกรรมBig Cleaning Day 2.7กิจกรรมเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้ (ARE) ครั้งที่ 1 2.8การเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขยะ 3.การติดตามผลการดำเนินการบริหารจัดการขยะของหมู่บ้านที่ 1-11 โรงเรียนและศพด.(ประเด็นการคัดแยกขยะ และการจัดทำถังขยะเปียก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.คณะทำงาน เข้าร่วมจำนวน 22 คน 2.คณะทำงานรับทราบผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในการทำกิจกรรมในพื้นที่ต่างๆดังนี้ -โรงเรียนบ้านนาโหนด มีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท นำเศษอาหารเปียกไปเลี้ยงสัตว์ นำถุงนมเด็กอนุบาลไปประดิษฐ์ของต่างๆ -โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนของเราเข้าร่วมโครงการของ CP All กระดาษให้นักเรียนแยกสีขาว สีต่างกล่องนม ถุงนมตัดล้างทำความสะอาด นำส่ง CP All เพื่อนำไปรีไซด์เคิลเป็นโต๊ะ เก้าอี้ ใบไม้แห้งของธรรมชาติต่างๆ ใส่หลุมที่ขุดไว้ มีการเผาบ้างแต่เล็กน้อย ส่วนขวดพลาสติก แยกไว้เพื่อนำไปขาย -โรงเรียนบ้านต้นไทรมีถังขยะแยกประเภทเป็นสี แยกกระดาษไว้ขาย ขยะเปียกให้สัตว์ ไม่มีการเผาขยะ -โรงเรียนวัดบ่วงช้าง มีการคัดแยกขยะตามประเภทต่างๆที่ถูกวิธี ขยะเปียกไม่มี -รพ.สต.บ้านต้นไทร จะมีขยะอันตราย ติดเชื้อ ซึ่งโรงพยาบาลพัทลุงจะมารับในวันพุธ ขยะประเภทอื่นแยกต่างประเภท ขวดน้ำเอาไปขาย ส่วนขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -ศพด.บ้านโคกว่าว คัดแยกถุงนมไว้ประดิษฐ์ของเล่น กระดาษใช้ 2 หน้า มีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -ศพด.บ้านวังไทรทอง เศษขยะเปียก ครูจะเอากลับบ้านให้ไก่ ถุงนม นำไปต่อยอดทำสิ่งประดิษฐ์ ขวดพลาสติกนำไปขาย -ศพด.บ้านนาโหนด ขยะเปียกใช้เป็นอาหารสัตว์ ใบไม้ทำปุ๋ย ขวดพลาสติกนำไปขายค่ะ -หมู่ที่ 9 ตัวแทนจากหมู่บ้าน ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ขวดพลาสติกนำไปขาย อาหารเปียกชาวบ้านนำไปหมักโดยมีกากน้ำตาลหรือ EM ได้เป็นปุ๋ยอินทรีย์โดยมีสารอาหารที่พืชต้องการมากที่สุด ส่วนขยะทั่วไปใส่ถุงดำ ขยะอันตรายจะนำไปแลกไข่กับเทศบาลครับ และในหมู่ที่ 9 จะนำร่อง ทำถนนกินได้ จะปลูกผักปลอดสารพิษครับ
-หมู่ที่ 7 มีการคัดแยกขยะ นำขยะเปียกไปใส่โคนต้นไม้ ไม่มีการเผาขยะ -หมู่ที่ 8 ขวดพลาสติกมีการคัดแยกและนำไปขาย กระดาษใส่ถุงดำทิ้งกับเทศบาล ขวดแก้วเก็บรวมรวมไว้ 3.คณะทำงานรายงานผลการจัดการขยะในพื้นที่ ดังนี้ -เลขาฯคณะทำงาน แจ้งปริมาณขยะที่รถเก็บได้ในแต่ละเดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2565- พฤษภาคม 2566 โดยมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นแต่ละเดือนดังนี้ เดือนตุลาคม 2565 = 62.32 กิโลกรัม เดือนพฤศจิกายน 2565 = 59.85 กิโลกรัม เดือนธันวาคม 2565 = 59.85 กิโลกรัม เดือนมกราคม 2566 = 55.5 กิโลกรัม เดือนกุมภาพันธ์ 2566 = 53.5 กิโลกรัม เดือนมีนาคม 2566 = 59.85 กิโลกรัม เดือนเมษายน 2566 = 60 กิโลกรัม เดือนพฤษภาคม 2566 = 54 กิโลกรัม

 

30 0

28. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

30 0

29. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม (ตามกำหนดการ) 1.คณะทำงานจัดการขยะตำบลเข้าร่วม 30 คน ตัวแทนครัวเรือน ผู้นำท้องถิ่น ท้องที่และภาคีร่วม จำนวน 100 คน รวมทั้งสิ้น 130 คน ลงทะเบียน 2.วิทยากรดำเนินการเพื่อสร้างกระบวนการคืนข้อมูลการสร้างความร่วมมือการจัดการขยะตำบลนาโหนด 3.ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบนำเสนอแนวทางรูปแบบจัดการขยะครัวเรือน 4.ผู้ใหญ่ต้นแบบ หน่วยงานต้นแบบ นำเสนอแนวทาง รูปแบบจัดการขยะชุมชนและหน่วยงาน 5.ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ คณะทำงาน ร่วมประกาศสัญญาประชาคมการจัดการขยะตำบลนาโหนด 6.นายกเทศมนตรี ประธานสภาและกำนันตำบลนาโหนดร่วมกันรับแผนจัดการขยะตำบลนาโหนด จากผู้แทนคณะทำงานตามโครงการ กิจกรรมที่ดำเนินการในวันนี้ กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม 1.คณะทำงานจัดการขยะตำบล 30 คน ตัวแทนครัวเรือน ผู้นำท้องถิ่น ท้องที่และภาคีร่วม จำนวน 106 คน รวมทั้งสิ้น 136 คน เข้าร่วมกิจกรรม 2.ครัวเรือนต้นแบบนำเสนอแนวทาง รูปแบบจัดการขยะครัวเรือน โดย นางจุไร  นาคมิตร -ขยะอินทรีย์ นำไปหมักโดยใช้กากน้ำตาลหรือEM ได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีสารอาหารที่พืชต้องการและเป็นอาหารสัตว์ -ขยะอันตราย ประเภทหลอดไฟ กระป๋องสเปรย์ ถ่ายไฟฉาย จะเก็บรวบรวมไว้ เพื่อเข้าโครงการขยะอันตรายแลกไข่ของเทศบาล -ขยะรีไซเคิ้ล แยกไว้เพื่อนำไปขาย -ขยะทั่วไป เก็บใส่ถุงดำให้เรียบร้อยแล้วนำไปทิ้งกับรถขยะเทศบาล 3.หน่วยงานต้นแบบ นำเสนอแนวทาง รูปแบบจัดการขยะชุมชนและหน่วยงาน -รพ.สต.บ้านต้นไทร จะมีขยะอันตราย ติดเชื้อ ซึ่งโรงพยาบาลพัทลุงจะมารับในวันพุธ ขยะประเภทอื่นแยกต่างประเภท ขวดน้ำเอาไปขาย ส่วนขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -ศพด.บ้านโคกว่าว คัดแยกถุงนมไว้ประดิษฐ์ของเล่น กระดาษใช้ 2 หน้า มีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ขยะเปียกใส่ถังขยะเปียกลดโลกร้อน -โรงเรียนวัดบ่วงช้าง มีการคัดแยกขยะตามประเภทต่างๆที่ถูกวิธี ขยะเปียกไม่มี 4.เกิดสัญญาประชาคม “การจัดการขยะตำบลนาโหนด”มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบมากขึ้น ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ มีการนำขยะที่คัดแยกมาสร้างมูลค่า มีกระบวนการการจัดการขยะอินทรีย์ที่หลากหลาย ทั้งการจัดทำปุ๋ย การนำไปให้สัตว์เลี้ยง การเลี้ยงไส้เดือน 5.คณะทำงานส่งมอบแผนการจัดการขยะตำบลนาโหนดให้แก่นายกเทศมนตรีตำบลนาโหนด

 

130 0

30. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ไม่เกิน 1,000 บาท ภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง

วันที่ 28 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.เกิดกลไกคณะทำงานที่มีตัวแทนจากท้องถิ่น รพ.สต.แกนนำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. โรงเรียน 2.มีข้อมูลขยะชุมชนและข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ 3.มีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น 4.เกิดโรงเรียนขยะตำบล 5.มีครูขยะตำบลไม่น้อยกว่า 10 คน 6.มีการจัดทำแผนการสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.เกิดการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน(คัดแยก กำจัด ใช้ประโยชน์ 2.มีแผนการจัดการขยะรายครัวเรือน 3.มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมขยะของครัวเรือนในชุมชนของนักเรียน 5.นักเรียนของโรงเรียนขยะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนได้ไม่น้อยกว่า 10 คนต่อนักเรียน 1คน
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.เกิดมาตรการของชุมชนเพื่อการจัดการขยะ เช่น ลดจำนวนถังขยะ ลดเวลาการจัดเก็บ 2.เกิดกลุ่มใช้ประโยชน์จากขยะ
0.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : 1.เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของครัวเรือนทั้งหมด 2.ขยะครัวเรือนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3.ปริมาณขยะในที่สาธารณะลดลง
0.00

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด : สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1440
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ตัวแทนครัวเรือน/เจ้าของตลาดนัด/แม่ค้า 440
ประชาชนในชุมชน 1,000

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง (2) เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมปฐมนิเทศโครงการ (2) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (3) คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (4) อบรมคณะทำงาน( ครู ก.) ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง (5) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (6) จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายโครงการ (7) ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน (8) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 4) (9) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 2) (10) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 10) (11) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 6) (12) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 8) (13) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 11) (14) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 5) (15) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 9) (16) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 7) (17) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 3) (18) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 1) (19) ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร (20) คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (ครั้งที่ 2) (21) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 1 (22) เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง (23) คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (24) ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (25) ประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (26) คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (27) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2 (28) เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน (29) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ไม่เกิน 1,000 บาท ภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง (30) กิจกรรม รณรงค์ BIG CLEANING DAY  ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ุ65-00232-0004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาดา เต็มยอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด