ชื่อโครงการ | โครงการตำบลสะอาด (ลดแหล่งพาหะนำโรค) ชุมชนนาโหนด |
ภายใต้องค์กร | Node Flagship จังหวัดพัทลุง |
รหัสโครงการ | ุ65-00232-0004 |
วันที่อนุมัติ | 28 เมษายน 2565 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 |
งบประมาณ | 55,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลตำบลนาโหนด |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวิภาดา เต็มยอด |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายณัฐพงศ์ คงสม |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2565 | 30 ก.ย. 2565 | 1 พ.ค. 2565 | 30 ก.ย. 2565 | 22,000.00 | |
2 | 1 ต.ค. 2565 | 31 มี.ค. 2566 | 27,500.00 | |||
3 | 1 เม.ย. 2566 | 30 เม.ย. 2566 | 5,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 55,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เทศบาลตำบลนาโหนด ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 11 ตำบลนาโหนด อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลนาโหนด มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 39.88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 24,926 ไร่ มีหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 3,010 ครัวเรือน มีประชากรรวม 8,473 คน มีโรงเรียน 4 โรงเรียน มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 ศูนย์ มีวัด 4 วัด มีสำนักสงฆ์ 3 สำนักสงฆ์ มีมัสยิด 2 มัสยิด มีตลาดนัดเอกชน จำนวน 4 แห่ง มีคลอง 1 สายหลักคือคลองวัดหัวหมอน
สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลนาโหนด ขยะที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นขยะในครัวเรือน ซึ่งมีการทิ้งโดยไม่มีการคัดแยกก่อนทิ้ง ขยะประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ เศษอาหาร หรือแม้กระทั่งชิ้นส่วนของวัสดุก่อสร้าง ก็นำมาทิ้งให้เทศบาลจัดเก็บ และอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากเทศบาลตำบลนาโหนดมีพื้นที่ เป็นทางผ่านของถนนสายหลัก มีประชาชนใช้เส้นทางสัญจรมาก และมีการนำขยะทิ้งไว้บริเวณเส้นทางที่ผ่าน ทำให้มีปริมาณขยะจากนอกพื้นที่มากขึ้น จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ประชาชนขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ เจ้าของตลาดนัดไม่ให้ความร่วมมือ จำนวน 4 แห่ง แม่ค้าขาดความรับผิดชอบในการคัดแยกขยะ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด
เทศบาลตำบลนาโหนด ได้จัดเก็บขยะในพื้นที่ตำบลนาโหนด ทุกวัน จันทร์ – เสาร์ หยุดวันอาทิตย์ ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 2-3 ตัน/วัน โดยรถบรรทุกขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย ขนาดความจุ 12 ลบ.ม. จำนวน 1 คัน สถานที่กำจัด ขอใช้บริการสถานที่เทศบาลเมืองพัทลุงนอกตำบลนาโหนด ไม่มีถังขยะบริการ พนักงานเก็บขยะ จำนวน 2 คน พนักงานขับรถ 1 คน มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะ เช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 650,000 บาทต่อปี ประชาชนในตำบลยังไม่มีการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน อย่างจริงจัง ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี (ปริมาณขยะในปีงบประมาณ 2563 จัดเก็บได้ 766.54 ตัน ปีงบประมาณ 2564 จัดเก็บได้ 775.4 ตัน ) และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วย เมื่อปี 2563 มีไข้เลือดออก จำนวน 12 คน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เฉลี่ย 125 บาทต่อคน และมีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรค ปีหนึ่งประมาณ 25,000 บาทต่อปี ในส่วนผลกระทบต่อสังคม มีเรื่องร้องเรียนการนำขยะจากนอกพื้นที่มาทิ้งที่ข้างทางถนน 3 ครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เทศบาลตำบลนาโหนด ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ โดยการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง 1.เกิดกลไกคณะทำงานที่มีตัวแทนจากท้องถิ่น รพ.สต.แกนนำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. โรงเรียน 2.มีข้อมูลขยะชุมชนและข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ 3.มีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น 4.เกิดโรงเรียนขยะตำบล 5.มีครูขยะตำบลไม่น้อยกว่า 10 คน 6.มีการจัดทำแผนการสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน |
0.00 | |
2 | เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ 1.เกิดการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน(คัดแยก กำจัด ใช้ประโยชน์ 2.มีแผนการจัดการขยะรายครัวเรือน 3.มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมขยะของครัวเรือนในชุมชนของนักเรียน 5.นักเรียนของโรงเรียนขยะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนได้ไม่น้อยกว่า 10 คนต่อนักเรียน 1คน |
0.00 | |
3 | เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ 1.เกิดมาตรการของชุมชนเพื่อการจัดการขยะ เช่น ลดจำนวนถังขยะ ลดเวลาการจัดเก็บ 2.เกิดกลุ่มใช้ประโยชน์จากขยะ |
0.00 | |
4 | เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง 1.เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของครัวเรือนทั้งหมด
2.ขยะครัวเรือนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
0.00 | |
5 | เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเป้าหมายที่กำหนด |
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1440 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ตัวแทนครัวเรือน/เจ้าของตลาดนัด/แม่ค้า | 440 | - | |
ประชาชนในชุมชน | 1,000 | - |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 1166 | 54,900.00 | 21 | 28,454.00 | |
9 พ.ค. 65 | ประชุมปฐมนิเทศโครงการ | 3 | 5,000.00 | ✔ | 300.00 | |
25 พ.ค. 65 | รณรงค์ BIG CLEANING DAY | 30 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
15 มิ.ย. 65 | อบรมคณะทำงาน( ครู ก.) ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ/การจัดการขยะที่ถูกต้อง | 30 | 2,950.00 | ✔ | 2,930.00 | |
22 มิ.ย. 65 | พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม | 30 | 10,300.00 | ✔ | 10,300.00 | |
28 มิ.ย. 65 | จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายโครงการ | 0 | 0.00 | ✔ | 1,000.00 | |
29 มิ.ย. 65 | ให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์โดยไส้เดือน | 30 | 8,850.00 | ✔ | 8,850.00 | |
12 ก.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 4) | 50 | 1,200.00 | ✔ | 1,200.00 | |
27 ก.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 2) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
2 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 10) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
3 ส.ค. 65 | คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ | 30 | 0.00 | - | ||
4 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 6) | 50 | 100.00 | ✔ | 100.00 | |
10 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 8) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
17 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 11) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
23 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 5) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
25 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 9) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
30 ส.ค. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 7) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
2 ก.ย. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 3) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
5 ก.ย. 65 | อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/เจ้าของตลาดนัด/ร้านค้า (หมู่ที่ 1) | 50 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
30 ก.ย. 65 | ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร | 0 | 0.00 | ✔ | 500.00 | |
19 ต.ค. 65 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (ครั้งที่ 2) | 30 | 830.00 | ✔ | 750.00 | |
19 ต.ค. 65 | เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 1 | 30 | 2,500.00 | ✔ | 1,684.00 | |
26 ต.ค. 65 | คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ | 30 | 0.00 | - | ||
26 ต.ค. 65 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน | 30 | 830.00 | - | ||
10 พ.ย. 65 | เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง | 3 | 0.00 | ✔ | 840.00 | |
14 ธ.ค. 65 | คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ | 30 | 0.00 | - | ||
14 ธ.ค. 65 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน | 30 | 830.00 | - | ||
15 ก.พ. 66 | คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ | 30 | 0.00 | - | ||
15 ก.พ. 66 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน | 30 | 830.00 | - | ||
5 เม.ย. 66 | เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2 | 30 | 1,250.00 | - | ||
7 เม.ย. 66 | คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ | 30 | 0.00 | - | ||
7 เม.ย. 66 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน | 30 | 830.00 | - | ||
18 เม.ย. 66 | เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน | 130 | 18,600.00 | - | ||
8 มิ.ย. 65 | คัดเลือกคณะทำงาน (ครู ก.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน | 30 | 1,350.00 | ✔ | 1,350.00 | |
30 | 1,350.00 | 1 | 1,350.00 | |||
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2565 14:49 น.