directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายมะดารี อาแด

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-02-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 101,170.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ผักปลอดภัย จังหวัดยะลา ปี 2565 มีเป้าหมายยุทธศาสตร์จังหวัด คือ ลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่ โดยมีภาคีร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประกอบด้วย หน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา สำนักงานเกษตรกรจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา สำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดยะลา และโรงพยาบาลจังหวัดยะลา มีโมเดลผักปลอดภัยจากการขับเคลื่อนเมื่อปี 2565 จำนวน 2 โมเดล คือ โมเดลวิสาหกิจชุมชน มีกลุ่มเป้าและโครงสร้างกลุ่มที่จะดำเนินการชัดเจน และโมเดลกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มมีการรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ดำเนินแบบกลุ่มแต่โครงสร้าง บทบาทหน้าที่คณะกรรมการยังไม่ชัดเจน พื้นที่ร่วมดำเนินโครงการจำนวน 12 ตำบล 13 ชุมชน ดังนี้ อำเภอเมือง 1 วิสาหกิจชุมชนสวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่ (โมเดลวิสาหกิจชุมชน) 2วิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร ตำบลหน้าถ้ำ 3 กลุ่มผักปลอดสารบ้านคลองทราย ตำบลยุโป 4 กลุ่มบ้านสวนเกษตรบ้านทุ่งเหรียง ตำบลยุโป 5 กลุ่มสวนเกษตรปลอดภัยตำบลบุดี อำเภอรามัน 6 กลุ่มพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรแบบยั่งยืน ตำบลยะต๊ะ (โมเดลกลุ่มาเกษตรกร) 7 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสาร อาหารปลอดภัย บือมัง ตำบลบือมัง 8 กลุ่มปามานีส ฮีดูบ ตำบลบาโงย 9 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยชุมชนเลสุ ตำบลกาลูปัง 10 กลุ่มปลูกผักตำบลวังพญา ตำบลวังพญา อำเภอยะหา 11 ศพก.เครือข่ายบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอบันนังสตา 12 วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรพึ่งตนเองบ้านโปฮนญัมบู ตำบลบันนังสตา และ 13 วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอาหารปลอดภัย ตำบลบาเจาะ
ตำบลบากาตอง เป็นตำบลหนึ่งของพื้นที่เป้าหมายของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญระดับจังหวัดขับเคลื่อนประเด็นผักปลอดภัย ตำบลกาตองตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอยะหา ประมาณ 7 กิโลเมตรอยู่ห่างจากศาลากลาง จังหวัดยะลา 27 กิโลเมตร มีเนื้อที่ คิดเป็นตารางกิโลเมตร ได้ 53 ตารางกิโลเมตร มีประชากรจำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 6,876 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ประมาณ 117 คนต่อตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 1,213 ครัวเรือน สามารถแยกครัวเรือน ดังนี้
    หมู่ที่ 1 บ้านปาแดรู จำนวนครัวเรือน 253 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,515 คน     หมู่ที่ 2 บ้านกาตอง จำนวนครัวเรือน 233 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,184 คน     หมู่ที่ 3 บ้านบูเก๊ะฆลูโฆ จำนวนครัวเรือน 209 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,178 คน     หมู่ที่ 4 บ้านเจาะตาแม จำนวนครัวเรือน 260 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,489 คน     หมู่ที่ 5 บ้านปอเนาะ จำนวนครัวเรือน 157 ครัวเรือน  ประชากรทั้งหมด 868 คน     หมู่ที่ 6 บ้านบลูกาลูวัส จำนวนครัวเรือน 202 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 932 คน       ชุมชนบลูกาลูวัส ประชาชนส่วนใหญ่ทำอาชีพการเกษตร ได้แก่ทำสวนยางพารา เลี้ยงสัตว์ ประมง และปลูกพืชผัก ในชุมชนมีกลุ่มเกษตรกรรวมกันเป็นกลุ่ม ปลูกผักสลัดระบบไฮโดรโพนิกส์ ส่งขายตลาดประจำในตัวเมืองยะลาและปลูกผักอีกหลากหลายชนิดที่คนในชุมชนนิยมบริโภค เช่น ผักบุ้ง แตงกวา มะเขือ พริก สมาชิกกลุ่มจะนำผักที่เหลือจากบริโภคในครัวเรือนไปขายที่ร้านค้าในชุมชน และตลาดนัดชุมชนสัปดาห์ละ 4 วัน การจัดการของกลุ่มจะมีพื้นที่กลาง หรือศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป็นพื้นที่หลักในการรวมตัวของสมาชิกสำหรับประชุมการถ่ายทอดความรู้การผลิต ในพื้นที่กลางจะเน้นปลูกผักสลัด สมาชิกจะมาร่วมกิจกรรมเพาะเมล็ดผัก เมื่อต้นกว้ามีอายุ 2 สัปดาห์จะแจกจ่ายให้สมาชิกไปปลูกในพื้นที่ของตัวเอง พื้นที่ปลูกรวมกันประมาณ 5 ไร่ กระบวนการปลูกผักของสมาชิกปลูกแบบปลอดภัยแต่พบว่าทุกชนิดผักยังไม่มีรับรองความปลอดภัยใดๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่กลุ่มต้องการ เพื่อสร้างความมั่นใจต่อผักที่ตนปลูก นอกจากนี้ชุมชนยังมีการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักเพื่อบริโภค ประมาณ 60,000 บาท/เดือน โดยเฉลี่ยประมาณครัวเรือนละ 400 บาท/เดือน
      สภาพปัญหา ด้านฐานคิดเกษตรกรมีการร่วมกลุ่มกันยังมีโครงสร้างไม่ชัดเจน สมาชิกส่วนใหญ่มีการปลูกผักทั้งเพื่อบริโภค และขาย มีความต้องการเชื่อมกับตลาด มีความต้องการพัฒนาด้านการผลิตให้มีความพร้อมในการผลิตผักให้ได้ผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP ด้านปัจจัยการผลิต มีพื้นที่ของสมาชิกที่จะสามารถเป็นฐานการผลิตได้ มีหมอดินประจำกลุ่มที่สามารถถ่ายถอดความรู้การจัดการดิน การทำปุ๋ยหมักชีวภาพแก่สมาชิกได้ แต่กลุ่มยังไม่มีแผนการผลิตผักที่สอดคล้องกับตลาด และยังขาดความรู้บริหารจัดกลุ่มเข้มแข็ง ด้านกลไกทำงาน ประธานกลุ่มเป็นผู้ใหญ่บ้านหัวใจเกษตรสามารถประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่างๆ ได้ดี เช่น เกษตรกรอำเภอ กอ.รม. สถานีพัฒนาที่ดิน เป็นต้น มีปราชญ์ประจำกลุ่ม ให้ความรู้เรื่องดิน กับปุ๋ยตามหลักสูตร พัฒนาที่ดินได้ดี ซึ่งจะต้องถ่ายทอดความรู้แก่สมาชิกให้ได้มากที่สุด และด้านฐานคิดผู้บริโภค ในพื้นที่ตำบล อำเภอยังไม่เข้าใจถึงผักปลอดภัย คำว่า ผักปลอดภัยในความหมายของชาวบ้านในพื้นที่ คือผักบ้านๆ ที่กินยอด เก็บตามสวน ผู้บริโภคยังไม่เข้าถึงผักปลอดภัย ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีแนวทางดำเนินการ 1) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมกรรมการ 2)สร้างกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง 3) สมาชิกเกษตรกรสามารถผลิตผักปลอดภัยที่ได้รับการรับรอง GAP 3) จัดทำแผนการผลิต แผนการตลาด และรับรองผักปลอดภัยกับภาคีที่เกี่ยวข้อง 4) ติดตาม และแลกเปลี่ยนความรู้
      ชุมชนบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัย กับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตองเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง และเพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
  2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้
  3. เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ
  2. กิจกรรมที่ 6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ
  3. 6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565
  4. เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา
  5. 6.5.เปิดบัญชี
  6. เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565
  7. 6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ
  8. 2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP
  9. 2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP
  10. 6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ
  11. 6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ
  12. ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ
  13. 1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1)
  14. 2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด
  15. 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล
  16. 3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน)
  17. 1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2)
  18. 3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1)
  19. 6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1
  20. ดอกเบี้ยรับ
  21. 6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย
  22. 1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3)
  23. เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย
  24. 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม
  25. 3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน
  26. 4.1. ติดตามผลการผลิต
  27. 1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4)
  28. 4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2
  29. เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2
  30. 5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3
  31. 5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ
  32. ดอกเบี้ยรับ
  33. 6.6.กิจกรรมร่วมกับ สสส.
  34. เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
เกษตรกรผู้ปลูกผัก 35

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP
ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผักปลอดภัย ตามแผนการผลิตและแผนความต้องการของตลาดรวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP แลกเปลี่ยนข้อมูลรวมกับทุกเดือนและมีการปรับปรุงแผนการผลิตให้สอดคล้องกับตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดโรงเรียนเกษตรกร ที่ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หนุนเสริม สนับสนุน ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด ชนิดการปลูก/ปริมาณความต้องการ/ปลูกสอดคล้องกับฤดูกาลและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับมาตรฐานGAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าขายผักที่ผ่านมาตรฐานGAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน (ขายกลุ่ม/ขายเดี่ยว) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาด ใน-นอกชุมชน และโรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565

วันที่ 13 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมข้อมเสนอโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 มีการจัดทำโครงการ และปรึกษาหารือแนวทางการจัดทำโครงการ หาจุดเด่นจุดถ้อยของพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการจัดทำโครงการย่อยฯ ปี 2565 จำนวน 1 โครงการ ณ ห้องประชุม โรงเเรมยะลาแกรนด์พาเลส

 

2 0

2. เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกกลุ่มสามารถแลกเปลี่ยนกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

 

0 0

3. 6.5.เปิดบัญชี

วันที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชีโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประธาน โครงการย่อยฯ พร้อมคณะกรรมการ ที่ได้แต่งตั้ง เปิดบัญชี โครงการ จำนวน 3 คน

 

3 0

4. เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดตัวโครงการ เเละวิทยากร ได้อธิบายแนวทางการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประธานโครงการย่อยฯ ได้เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการ ณ สสจ.ยะลา พร้อมคณะกรรมการ จำนวน 3 คน พร้อมรับฟังแนวทางการดำเนินกิจกรรมโครงการตามแผนที่กำหนดไว้ ได้รับความรู้และแนวทางการปฏิบัติงานตามโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในพื้นที่ในเกิดคุณภาพที่ดีต่อไป

 

3 0

5. 6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ

วันที่ 20 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ค่าป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายกิจกรรมโครงการจำนวน 1 ป้าย

 

0 0

6. 6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.เรียนรู้การบันทึกข้อมูลของโครงการทางเว็บไซค์อย่างครบถ้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกผู้ที่รับผิดชอบโครงการและผู้รับหน้าที่จดบันทึกแผนงานและการปฎิบัติงานทั้งหมดในโครงการนี้ "เวที่เรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ" จำนวน 2 คน

 

2 0

7. 6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมข้อมูลคณะทำงาน คณะกรรมการ ใบลงทะเบียนกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ นำรายงานผลเข้าสู่ระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดปัญหาการผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลโครงการ

 

0 0

8. ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ

วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ

 

0 0

9. 1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1)

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการเพื่อว่างแนงทางการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มและชี้แจงรายละเอียดโครงการต่างให้แก่คณะกรรมการได้รับทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 12 คน ได้รับทราบแนวทางการดำเนินงานจากพีีเลี้ยงเพื่อจะดำเนินการในทิศทางเดียวกัน มีแต่งตั้งคณะทำงาน กฎกติกาของกลุ่ม มีการว่างแผนการจัดกิจกกรมในครั้งต่อไป และมีการจัดเตรียมเอกสารสมัครสามชิก จำนวน 35 คนที่ ที่มีการปลูกผักจริงเพื่อนำมาเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้

 

12 0

10. 2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด

วันที่ 15 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประะธานกล่าวเปิดโครงการชี้เเจงการเปิดรับสมัครสมาชิก และการตรวจแปลงก่อนปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมสมัครเป้นสมาชิก

 

35 0

11. 2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP

วันที่ 15 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประธานได้ลงดำเนินการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP

 

35 0

12. 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล

วันที่ 19 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สมาชิกกลุ่ม ได้ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล จำนวน 2 แห่ง 1.นูริสฟาร์ม ตำบลลำใหม่ โดยมีนายอิสมาเเอล ลาเต๊ะ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ 2.พื้นที่ต้นแบบกลุ่มเกษตร ตำบลยะต๊ะ โดยมีนายอับเุลเร๊าะมัน สะกะแย เป้นวิทยากรในการให้ความรู้และกระบวนการจัดการพื้นที่ต้นเเบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แก่นำคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกร บ้านบลูกาลูวัส ได้นำกลุ่มสามชิก รวมจำนวน 35 คน ลงพื้นที่เรียนรู้ พื้นที่แรก นูริสฟาร์ม ตำบลลำใหม่ และ พื้นที่่ที่ 2 พื้นที่ต้นแบบกลุ่มเกษตรกร (ตำบลยะต๊ะ) พื้นที่ โมเดล กลุ่มพื้นที่ที่บ้านบลูกาลูวัสสามารถเรียนรู้การดำเนินงานของกลุ่มพื้นที่เกษตรกรต้นแบบเพื่อนำมาในใช้ในพื้นที่่ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

35 0

13. 3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน)

วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้ออุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ผักเพื่อแจกจ่ายชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เเจกจ่ายเมล็ดพันธ์ผักและอุปกรณ์แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 35 คน

 

35 0

14. 1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี่ยงได้ลงเวที่เพื่อจัดตั้งกฏกติกากลุ่ม
ประธานโครงการชี้แจง การดำเนินงานที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการได้ทราบถึงปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

 

12 0

15. 3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1)

วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) โดยมีพี่เลี้ยงรับผิดชอบโครงได้ชี้เเจงการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายมะดารี อาแด ประธานกิจกรรมพร้อมคณะกรรมการจำนวน 12 คน และสมาชิกในโครงการ เข้าร่วมประชุมทอดบทเรียน ปัญหาอุปสรรคที่พบเจอในการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยรายละเอียดทั้งหมดจะมีการนำเสนอผ่านพี่เลี้ยงโครงการ

 

35 0

16. 6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำโครงการย่อย โดยมีนายมะดารี อาแด ประธานโครงการ นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง คณะกรรมการ นายมะแอ จินตรา คณะกกรมการ เข้าร่วมการประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 มีการประชุมส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

 

3 0

17. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

18. 2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP

วันที่ 19 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้รับเกียรติจาก นายชัชญ์นนท์ เต็มนา นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ วิทยากร ได้ให้ความรู้เบื้องต้น เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 1.เรื่อง มาตรฐาน GAP และรู้จักการใช้สารชีวภัณฑ์ 2. เรื่องการผลิตปุ๋บชีวภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายมะดารี อาแด ประธานโครงการฯ ได้นำสมาชิกกลุ่ม จำนวน 35 คน เข้ารับการอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP
1.เรื่อง มาตรฐาน GAP และรู้จักการใช้สารชีวภัณฑ์ 2. เรื่องการผลิตปุ๋บชีวภาพ

 

35 0

19. 6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย

วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 1.ตรวจสอบการบันทึกลัพธ์ในระบบ 2.บันทึกและตรวจสอบหลักฐานการเงิน 3.ลงชื่อในใบสำคัญรับเงินเพื่อรับเงินโอน รอบ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แก่นำโดยนางสาวมารีฮะ อาแด เข้าร่วมกิจกรรมเวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565 ในวันที่ 22 ตุลาคม 2565 ได้เรียนรู้และทบทวนในเรื่องการคีย์บันทึกรายงานผลลัพธ์และจัดการรายงานการเงิน โดยพี้เลี้ยงดำเนิการตรวจสอบและรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

 

2 0

20. เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง พร้อมนางสาวมารีฮะ อาแด เข้าร่วมประชุมเวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำที่เข้าร่วมประชุมสามารถนำความรู้ไปพัฒนาพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

2 0

21. 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่มฯ พร้อมคณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ กินปลูกผักปลอดภัยชุมขนบ้านบลูกาลูวัส จำนวน 35 คน เข้าร่วมอบรมกิจกรรม จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๖ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความรู้จากวิทยากร จากเกษตรตำบลในการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการจัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม ว่างแผนการผลิต ให้กับสมาชิกกลุ่มได้เป็นอย่างดี

 

35 0

22. 1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3)

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่ม ได้ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและสอบถามปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการทุกท่านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการประชุมครั้งนี้

 

12 0

23. 4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นายมะดารี อาแด ประธาน ร่วมประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถถอดบทเรียนปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่

 

35 0

24. เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมถอดบทเรียนเวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำโครงการย่อย โดยมี นายมูฮัมหมัด ลือแบกาเซ็ง คณะกรรมการ นางสาวมารีฮะ อาแด คณะกกรมการ เข้าร่วมการประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 2 มีการประชุมส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อยฯ (สไลค์ PPT สรุปการดำเนินงาน)

 

3 0

25. 3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการได้ประชุมการตรวจแปลง และรวบรวมข้อมูลการผลิดเพื่อรับรองมาตรฐานโดยสามารถที่จะพิจารณาตรวจแปลงทั้งหมด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เข้าใจถึงการเตรียมข้อมูลเอกสารเตรียมมาตรฐาน GAP

 

12 0

26. 4.1. ติดตามผลการผลิต

วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจติดตาม แปลงผัก ผลผลิตผัก ของสมาชิก และแปลงกลางกลุ่ม พร้อม การกรอกแบบฟอร์ม ส่งผักตรวจ GAP ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 สรุป ผลผลิตที่จะนำตรวจ GAP จำนวน 9 ชนิด 2 ส่งผลผลิตผัก แปลงกลาง ตรวจ GAP ก่อน 3 กรอกข้อมูลนำส่ง ภายในวันที่ 25 มีนาคม

 

35 0

27. 1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4)

วันที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นายมะดารี อาแด ประธานกลุ่ม ได้เชิญคณะกรรมการประชุม สอบถามปัญหาที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมครั้งนี้สามารถนำปัญหาที่ได้แลกเปลี่ยนมาแก้ไขเบื้องต้น

 

12 0

28. 5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางคณะกรรมการได้จัดประชุมเพื่อเตรียมสรุปและจัดเวที่สรุป ปิดโครงการโดยการจัดให้มรการเสนอปัญหาที่ยังติดขัดและร่วมกันหาแนวทาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ถอดบทเรียนกระบวนการติดตามและแนวทางของสมาชิกกลุ่มและสร้างกระบวนการติดตามและส่งผลลัพธ์อย่างเสมอ

 

35 0

29. 5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ

วันที่ 20 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมใครั้งนี้ได้จัดเพื่อสรุปการดำเนินงานตลอดทั้งปีและประเมินแนวทางที่จะขับเคลื่อนให้กลุ่มผักปลอดภัยให้มีการดำเนินการต่อเนื่องและเเข็งแรงมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เห็นถึงวิธีคิดที่เปลียนไปหลังจากที่ทุกคนได้ลงมือปฎิบัติและได้เห็นการนำเสนอของเครือสมาชิก

 

35 0

30. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

31. เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกลุ่มพบปะกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐานGAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผัก
100.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด ชนิดการปลูก/ปริมาณความต้องการ/ปลูกสอดคล้องกับฤดูกาลและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการได้รับการรองรับมาตรฐานGAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าขายผักที่ผ่านมาตรฐานGAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน (ขายกลุ่ม/ขายเดี่ยว) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย ตลาด ใน-นอกชุมชน และโรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน
100.00

 

3 เพื่อการบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.การรายงานดำเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรกรผู้ปลูกผัก 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง (2) เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้ (3) เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุม อบรมคณะกรรมการ (2) กิจกรรมที่ 6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ (3) 6.2.เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ปี 2565 (4) เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา (5) 6.5.เปิดบัญชี (6) เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ ประจำปี 2565 (7) 6.7.จัดทำป้ายไวนิลโครงการย่อยฯ (8) 2.1. การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP (9) 2.2. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (10) 6.1.เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ (11) 6.10.การคีย์รายงานผลเข้าสู่ระบบ (12) ไวนิล กับ เอกสาร ในการประชุมคณะกรรมการ (13) 1.1. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 1) (14) 2. เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการและสำรวจข้อมูลต้องการผลิตและการตลาด (15) 2.3.อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพื้นที่โมเดล (16) 3.1. กิจกรรม ปลูกผักปลอดภัย  “Kick off ปลูกผักปลอดภัย” ค่าอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์พืช เพื่อ แจกจ่ายชุมชน) (17) 1.2. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 2) (18) 3.3. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) (19) 6.8. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 (20) ดอกเบี้ยรับ (21) 6.9.เวที่ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย (22) 1.3. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 3) (23) เวที่พัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผลแพร่/ขยายผลการดำเนินงานโครงการย่อย (24) 2.4.จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม (25) 3.2. กิจกรรมตรวจแปลง-รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน (26) 4.1. ติดตามผลการผลิต (27) 1.4. ประชุมคณะกรรมการ เป็นการชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งที่ 4) (28) 4.2. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 (29) เวที่ติดตามประเมินผลการเพื่อเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2 (30) 5.1.ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 (31) 5.2.เวที่ สรุปปิดโครงการ (32) ดอกเบี้ยรับ (33) 6.6.กิจกรรมร่วมกับ สสส. (34) เวที่หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญ สสส.จังหวัดยะลา พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชนบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-02-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะดารี อาแด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด