directions_run

2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ 2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง ”

ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางกุหลาบ หนูเริก

ชื่อโครงการ 2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง

ที่อยู่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0019 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " 2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-00-0144-0019 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบติดคลองนางน้อยและคลองน้ำเจ็ด มีหมู่บ้าน ในการปกครอง 10 หมู่บ้าน เนื้อที่ 10,130 ไร่ ประชากร 1,039 ครัวเรือน มีจำนวน 3,433 คน ประชากรโดยส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างและทำการเกษตร มีพื้นที่นาข้าวมากที่สุดในอำเภอเมืองตรัง ปี 2562 จังหวัดตรัง โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ประกาศให้ข้าวเบายอดม่วงเป็นข้าวพื้นถิ่นและเป็นสินค้า เกษตรสำคัญ ด้วยเป็นข้าวเม็ดสี มีคุณค่าทางโภชนาการ โปรตีนสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ และมีสารต้านอนุมูลอิสระ และสารประกอบฟินอลิกในอัตราสูงมาก ทางจังหวัดกำลังยื่นจดทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของ จังหวัดตรัง และได้ส่งเสริมปลูกข้าวเบายอดม่วงโดยสนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ ส่งผลให้พื้นที่ ตำบลนาพละปลูกข้าวเบายอดม่วงมากที่สุดในจังหวัดตรัง จำนวน 200 ไร่เศษ มีเกษตรกรจำนวน 194 คน นอกจากข้าวเบายอดม่วงแล้วในตำบลนาพละยังมีการปลูกข้าวสายพันธุ์พื้นเมืองอื่น ๆ อีกหลายสายพันธุ์ เช่น เล็บ นกปัตตานี เข็มทอง เข็มเงิน นางขวิด นางเอก ช่อจังหวัด เป็นต้น เกษตรกรปลูกข้าวในตำบลนาพละได้รวมกลุ่มและจดแจ้งเป็นวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ตำบลนาพละ ดำเนินการส่งเสริมให้สมาชิกปลูกข้าวปลอดสารพิษ ปลูกข้าวเพื่อสุขภาพ คัดเลือกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับการ บริโภคของคนในและต่างชุมชน ปี 2563 เกิดสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในตำบลนา พละหลายด้าน พบว่าบางครัวเรือนขาดแคลนข้าวสารสำหรับบริโภค เนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจราคาสินค้าภาคการเกษตรตกต่ำ เกษตรกรมีรายได้น้อยลง ส่งผลให้เกิดความยากลำบากในการดำรงชีวิต อย่างยิ่ง ประกอบกับมีข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาพละ พบว่าในปี 2565 ตพบลนาพละมี ส่วนที่ 2: รายละเอียดโครงการ 5 พีระมิดประชากรมีลักษณะคล้ายทรงกรวยปากแคบแบ่งเป็นประชากรอายุต่ำกว่า 5 ปีจำนวน 166 คน อายุ 5-19 ปี อายุต่ำกว่า 5 ปี จำนวน 166 คน ร้อยละ 4.89 อายุ 5-19 ปี จำนวน 676 คน ร้อยละ 19.69 อายุ 20-59 ปี จำนวน 1,984 คน ร้อยละ 57.79 อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 605 คน ร้อยละ 17.62 ประชาชน ร้อยละ 98.00 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 49.51 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 36.53 ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 27.87 เป็นนักเรียนนักศึกษา และ ร้อยละ 27.20 ประกอบอาชีพเกษตร สาเหตุการตายของประชากร ตำบลนาพละ ได้แก่ ไตวาย ความดันโลหิตสูง กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเลือดออกในสมอง ตามลำดับ ข้อมูล ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าในตำบลนาพละมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างเสริมสุขภาพให้มากขึ้น ในปีผลิต 64/65 ตำบลนาพละมีการปลูกข้าว 898.78 ไร่ 331 แปลง 194 ครัวเรือน ได้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 400 กิโลกรัม คำนวณเป็นข้าวสารได้ทั้งหมด 25,165.840 กิโลกรัม จากประชากรในตำบลที่มีจำนวน 3,433 คน เราสามาถคำนวณความต้องการบริโภคข้าวสาร 1 ปี ได้เท่ากับ 284,939 กิโลกรัม (คำนวณจากปริมาณข้าวสารที่ คนไทยบริโภคเฉลี่ยต่อคนต่อปีมีค่ากลางเท่ากับ 83 กิโลกรัมต่อปี) ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบปริมาณข้าวที่ตำบลผลิต ได้เองกับปริมาณข้าวสารสำหรับบริโภคภายในตำบลทั้งหมดจึงพบว่าตำบลสามารถผลิตข้าวได้เพียงร้อยละ 8.83 เท่านั้น นับได้ว่ามีปริมาณข้าวที่ผลิตเองไม่เพียงพอกับการบริโภคของประชากรทั้งหมดในตำบล วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ตำบลนาพละ มีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมการปลูกข้าวนตำบลเนื่องจากเห็น ความสำคัญของความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบลและช่วยกันแก้ปัญหาการผลิตข้าวในเชิงระบบต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ แต่ด้วยเป็นวิสาหกิจใหม่ ยังไม่มีประสบการณ์ ยังขาดความรู้ในการผลิตข้าวปลอดภัยแบบอินทรีย์ ทำให้ผลผลิตของเกษตรกรยังไม่มีมาตรฐานใดใดรองรับ และยังไม่จำหน่ายออกสู่ท้องตลาดในวงกว้างดังนั้นตำบล นาพละ โดยวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่ จึงจัดทำโครงการขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกคณะทำงาน และคุณภาพ การผลิตสู่มาตรฐานปลอดภัย มาตรฐานอินทรีย์ และพัฒนาช่องทางการตลาดเพื่อกระจายสินค้า ข้าว ไปสู่บริโภค ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล
  2. เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร
  2. พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล
  3. การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ
  4. ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย
  5. ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น
  6. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม
  7. บัญชีธนาคาร
  8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  9. การจัดทำ ข้อตกลงความมั่นคงทาง อาหารข้าวตำบลนาพละ
  10. การฝึกทักษะ การผลิตข้าวปลอดภัยตาม มาตรฐาน GAP
  11. การอบรมให้ ความรู้เรื่องการแปรรูปข้าว เพื่อการบริโภคและจำหน่าย
  12. ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาพละ
  13. โรงเรียน ชาวนาน้อย
  14. เวทีชุมชน เพื่อสร้างการเรียนรู้และ สร้างความยอมรับต่อข้าวที่ ปลูกในพื้นที
  15. สร้าง แพลตฟอร์มการตลาดของ ข้าวในชุมชนและเครือข่าย ข้าวในจังหวัดตรัง
  16. การวิเคราะห์ ตัวอย่างข้าวที่ปลูกในพื้นที่ เพื่อรับรองความปลอดภัย โดยสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง
  17. ปฐมนิเทศโครงการย่อย
  18. ประสานงานและจัดทำโครงการ
  19. นิทรรศการ
  20. ป้ายปลอดบุหรี่
  21. จัดทำบัญชี
  22. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  23. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  24. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  25. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  26. ARE ครั้งที่ 1
  27. ARE ครั้งที่ 2
  28. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1
  29. พัฒนาวิสาหกิจให้มีความเข้มแข็ง
  30. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5
  31. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2
  32. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3
  33. ARE ครั้งที่ 3
  34. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6
  35. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7
  36. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8
  37. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9
  38. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ประชาชนผู้บริโภคข้าว 100
เกษตรกรทำนา 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน รวม 3 คน ได้เข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย รู้จักเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานของ Node Flagship จังหวัดตรัง ซึ่งมีประเด็นการขับเคลื่อนได้แก่ ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติข้าวตรัง แนวทางการบริหารจัดการโครงการ การเงิน ระบบรายงาน www.happynetwork.org

 

0 0

2. ป้ายปลอดบุหรี่

วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายโครงการ

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงานโครงการ

วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุมคณะทำงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชุมคณะทำงานโครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติข้าวตรัง ร่วมกับภาคีเครือข่ายพัฒนาในพื้นที่ ประกอบด้วยตัวแทนจาก อบต.นาพระ สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองตรัง โรงเรียนบ้านหนองเรี้ยะ รพ.สต.นาพละ
    เพื่อทำความเข้าใจเป้าหมาย กิจกรรม ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดสำคัญที่อยากให้เกิดขึ้นจากการทำโครงการ กิจกรรมหลักประกอบด้วยการประชุมคณะทำงาน พัฒนาวิสาหกิจชุมชน การจัดทำข้อตกลงความมั่นคงทางอาหาร การฝึกทักษะการผลิตข้าว GAP ธนาคารเมล็ดพันธุ์ โรงเรียนชาวนาน้อย สร้างแพลตฟอร์มการตลาดข้าว การวิเคราะห์ตัวอย่างข้าว โดยมีเป้าหมายคือการเพิ่มพื้นที่นาข้าว และการส่งเสริมการบริโภคข้าวของคนในพื้นที่และคนตรัง

 

0 0

4. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำคณะทำงานจำนวน 3 คน ได้เรียนรู้ประสบการณ์ การอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์ข้าว อาจารย์รณชัย ช่างศรี จากกองวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 

0 0

5. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 โดยมีคณะทำงานและสมาชิกกลุ่มนาแปลงใหญ่ที่มีการปลูกข้าวเบายอดม่วงมีการติดตามการปลูกข้าว
    ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำนา ได้แก่ เรื่องปริมาณน้ำมาก และหนูมากินข้าว และร่วมหารูปแบบการแก้ปัญหา อาทิ การเปิดระบายน้ำ

 

0 0

7. การอบรมให้ ความรู้เรื่องการแปรรูปข้าว เพื่อการบริโภคและจำหน่าย

วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

8. ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

9. ประชุมเชิงปฏิบัติการ canva และการรายงานในระบบ happy network (ARE ครั้งที่ 3)

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

10. พัฒนาวิสาหกิจให้มีความเข้มแข็ง

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทัศนศึกษาดูงาน ศูนย์เรียนรู้ผลิตข้าวที่มีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มสมาชิกวิสาหกิจชุมชนนาข้าวแปลงใหญ่ตำบลนาพละ 20 คน และภาคีเครือข่าย นายกอบต.นาพละ เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองตรัง และสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดตรังไปศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน 3 จุด
  • บ้านเรียนรู้ เพาะดี ดูกรรมวิธีการเก็บข้าว / โรงเรือนสีข้าว เครื่องสีข้าว / การแปรรูปข้าวเป็นเส้นขนมจีน
  • ศึกษาดูงานบ้าน อ.เปลื้อง สุวรรณมณี ดูการทำนาอินทรีย์ การแปรรูปข้าว การสีข้าว การคัดแยก การบรรจุภัณฑ์ข้าว การเลี้ยงหมูหลุม
  • บ้านไร่แสนรัก ต.บ้านขาว อ.ระโดด จ.สงขลา ดูการทำเกษตรผสมผสาน ทั้งการเลี้ยงเป็ด เลี้ยงกบ มะนาว
    เกษตกรสามารถนำแนวคิดและวิธีการจัดการ การใช้เครื่องมือ และวิธีการดำเนินงานการใช้อุปกรณ์ และวิธีการผลิตที่ถูกต้องเพื่อลดต้นตุน เวลา และแรงงาน ของเกษตรกรมาใช้ในกลุ่มได้

 

0 0

11. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมความรู้เกี่ยวกับการลงระบบ www.happynetwork.org และการใช้โปรแกรม Canva

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานตัวแทนโครงการฯ มาเรียนรู้อบรมความรู้เกี่ยวกับการลงระบบรายงานผลการดำเนินงาน การเงินใน www. happynetwork.com และการใช้โปรแกรม Canva ในการทำรายงานกิจกรรม

 

0 0

12. ประสานงานและจัดทำโครงการ

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานและจัดทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประสานงานและจัดทำโครงการ

 

0 0

13. จัดทำบัญชี

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำบัญชี

 

0 0

14. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานโครงการมีการประชุมกับสมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจนาแปลงใหญ่เพื่อติดตามการทำเอกสารของสมาชิกในการทำมาตรฐาน GAP

 

0 0

15. ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ARE ครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ตัวแทนคณะทำงานโครงการ รวม 4 คน เข้าร่วมเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 1
    • คณะทำงานได้เรียนรู้ทิศทางนโยบายโครงการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหารทั้งจากสำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานการยางแห่งประเทศไทย สาขาตรัง และสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
  • คณะทำงานได้แลกเปลี่ยนผลลัพธ์การทำงานโครงการฯที่ผ่านมา และร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนรู้การพัฒนากลไกคณะทำงาน การจัดทำข้อตกลง การจัดทำเมล็ดพันธุ์ การจัดทำมาตรฐานข้าว การจัดทำตลาดข้าว

 

0 0

16. โรงเรียน ชาวนาน้อย

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

17. ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาพละ

วันที่ 7 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่นอปท. เจ้าหน้าที่เกษตร รพ.สต. ท้องที่ ตัวแทนกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์ ตัวแทนกลุ่มข้าวไร่ กลุ่ม องค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ 1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณีข้าวใน ระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ ๘๐ 1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินกงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต โควิด ข้าวตรัง 1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลครอบคลุม ข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าวจำนวนพื้นที่การผลิต ข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังของชุมชน และการบริโภค ข้าวตรังในตำบล 1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบล และการร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย 1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน

 

2 เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค
ตัวชี้วัด : 2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่มี อยู่เดิม 2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูกในพื้นที่ 2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง 2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภคเพิ่มขึ้น 2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล 2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับเครือข่ายตำบล ที่ดำเนินโครงการ

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนผู้บริโภคข้าว 100
เกษตรกรทำนา 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล (2) เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร (2) พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล (3) การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ (4) ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย (5) ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (9) การจัดทำ ข้อตกลงความมั่นคงทาง อาหารข้าวตำบลนาพละ (10) การฝึกทักษะ การผลิตข้าวปลอดภัยตาม มาตรฐาน GAP (11) การอบรมให้ ความรู้เรื่องการแปรรูปข้าว เพื่อการบริโภคและจำหน่าย (12) ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาพละ (13) โรงเรียน ชาวนาน้อย (14) เวทีชุมชน เพื่อสร้างการเรียนรู้และ สร้างความยอมรับต่อข้าวที่ ปลูกในพื้นที (15) สร้าง แพลตฟอร์มการตลาดของ ข้าวในชุมชนและเครือข่าย ข้าวในจังหวัดตรัง (16) การวิเคราะห์ ตัวอย่างข้าวที่ปลูกในพื้นที่ เพื่อรับรองความปลอดภัย โดยสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง (17) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (18) ประสานงานและจัดทำโครงการ (19) นิทรรศการ (20) ป้ายปลอดบุหรี่ (21) จัดทำบัญชี (22) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (23) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (24) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (25) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (26) ARE ครั้งที่ 1 (27) ARE ครั้งที่ 2 (28) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 (29) พัฒนาวิสาหกิจให้มีความเข้มแข็ง (30) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (31) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 (32) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 (33) ARE ครั้งที่ 3 (34) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (35) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (36) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (37) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (38) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0019

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกุหลาบ หนูเริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด