directions_run

โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเที่ยง ชุมอักษร

ชื่อโครงการ โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0022 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-00-0144-0022 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ อยู่ห่างจากจังหวัดตรังไปทางทิศเหนือ ประมาณ 18 กิโลเมตร มีพื้นที่ ทั้งหมดประมาณ 196 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 122,500 ไร่ มีประชากรในตำบลจำนวน 10,967คน ลักษณะโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวน แห่งชาติ บางส่วนได้รับเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก.และได้รับ น.ส.3 ก เป็นส่วนน้อย สำหรับทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ตำบลอ่าวตง ได้แก่ ป่าไม้และแหล่งน้ำส่วนสถานที่ ท่องเที่ยวตามธรรมชาติ คือ น้ำตกร้อยชั้นพันวัง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 11 ตำบลอ่าวตง และอ่างเก็บน้ำคลองทรายขาว หมู่ที่ 8 ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มลงไปสู่ทะเลทางทิศ ตะวันออก ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม และเนินเขาโดยทางตอนเหนือเป็นภูเขาสูงมีแนวเขตป่า สงวนแห่งชาติ มีลักษณะเป็นลูกคลื่นเกือบทั้งตำบล มี ทรัพยากรแหล่งน้ำที่สำคัญหลายสาย เช่น คลองชี ห้วย ไม่แห้ง ห้วยทอนแจ้ ห้วยยิงช้าง ห้วยโต๊ะสี ลมมรสุม พัดผ่านตลอดปีโดยแบ่ง ออกเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ 1 ลมมรสมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านตั้งแต่เดือนเมษายน ส่วนที่ 2: รายละเอียดโครงการ 5 ถึงเดือนกันยายน ระยะที่ 2 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผ่านตั้งแต่เดือนตุลาคม ถึงเดือนมีนาคม มี2 ฤดูกาล คือ 1. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม -พฤษภาคม 2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ธันวาคม ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยคาบ 10 ปี (2549-2558) ปริมาณ 2,195มม.จำนวนวันที่ตกเฉลี่ย 175 วันต่อปีซึ่งข้าวไร่ขึ้นได้ดี ในพื้นที่ที่มีปริมาณฝนตกตลอดปีตั้งแต่ 1,200 มิลลิเมตรขึ้นไป ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว พื้นเหมาะแก่การทำการเกษตรพื้นที่ตำบลอ่าวตงส่วนใหญ่ เป็นเนินสูงต่ำสลับกับพื้นที่ราบเรียบ และแนวภูเขา โดยสรุป พื้นที่ตำบลอ่าวตงมีพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลาดชัน มี พื้นที่เหมาะสมกับการทำการเกษตรมากที่สุด มีแหล่งน้ำธรรมชาติ และแหล่งน้ำทางการเกษตร ซึ่งมีน้ำตลอดทั้งปี ชาวบ้านพื้นที่ปลูกยางพาราร้อยละ 55 ปาล์มน้ำมัน ร้อยละ 25 ไม้ผล ร้อยละ 10 ผสมผสาน ร้อยละ 5 และ รับจ้างค้าขาย ร้อยละ 5 ประชากรในตำบลอ่าวตงส่วนใหญ่จะบริโภคข้าวจากนอกพื้นที่ มีบางส่วนที่เพาะปลูกข้าวไร่ ไว้บริโภคใน ครัวเรือนและแปรรูปเป็นข้าวม่าว เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าวมาบริโภคตลอดทั้งปีวิสาหกิจชุมชนบ้านเก่าขนุน พัฒนาได้มีสมาชิกเพาะปลูกข้าวไร่ ประมาณ 300 ไร่ (พันธุ์ดอกพะยอม,หอมดอกข่า,หอมหัวบอน,ไรซ์เบอร์รี่ฯ) เป็นการปลูกในลักษณะเลื่อนลอย สลับสับเปลี่ยนตามอายุของต้นยางพารา ต้นปาล์มน้ำมันที่อายุ 1 – 3 ปีโดยใน ปีผลิต 2564/2565 ที่ผ่านมาตำบลอ่าวตงมีการปลูกข้าวทั้งหมด 752.54 ไร่ สามารถคำนวณผลผลิตรวมได้ ข้าวเปลือก 264,142 กิโลกรัม ข้อมูลการบริโภคข้าวภายในตำบลต่อ 1 ปีคำนวณจากประชากรในตำบลจำนวน 10,967คน สามารถ คำนวณเป็นข้าวสารที่ต้องบริโภคในจำนวน 1 ปี เท่ากับ 910,261 กิโลกรัม (นำมาจากจำนวนประชากรคูณ ปริมาณข้าวสารที่คนไทยบริโภคเฉลี่ยต่อคนต่อปีมีค่ากลางเท่ากับ 83 กิโลกรัม) ในขณะที่ตำบลอ่าวตงสามารถผลิต ข้าวสารได้ 184,899 กิโลกรัม (คำนวณจากร้อยละ 70 ของข้าวเปลือก) อัตราส่วนที่คนในตำบลสามารถผลิต ข้าวสารได้เท่ากับร้อยละ 20.31 ของปริมาณข้าวสารที่ต้องการบริโภคทั้งตำบล ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาตำบลอ่าวตงประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการ ดำรงชีวิตของประชาชนในตำบล มีการขาดแคลนข้าวสารในการดำรงชีวิต ส่งผลให้เกิดความไม่มั่นคงทางอาหาร ด้านข้าวที่เห็นได้ชัดเจน ประกอบกับข้อมูลการเจ็บป่วยของคนในตำบลก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการบริโภคอาหารที่ มีการปนเปื้อนสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อร่างการ ตัวอย่างบ้านเก่าขนุน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 มีจำนวนครัวเรือน 261 ครัวเรือน ประชากรจำนวน 746 คน ประชากรร้อยละ 60 มีอายุในช่วง 19-59 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 0.09 อัตราการป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง ปี 2564 จำนวน 34 ราย หรือร้อยละ 18 ของผู้เสียชีวิต ซึ่งเป็น ประเด็นที่น่ากังวลในอนาคต การเสริมสร้างสุขภาพให้กับประชาชนผ่านการสร้างความมั่นคงทางอาหารด้านข้าวจึง น่าจะก่อให้เกิดผลดีขึ้น วิสาหกิจชุมชนบ้านเก่าขนุนพัฒนา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเพาะปลูกข้าวไร่และการ ส่งเสริมการขยายพื้นที่เพาะปลูกไปยังสวนยางพารา ปาล์มน้ำมันที่อายุไม่เกิน 3 ปี และยังว่างเว้นอยู่ เพื่อเป็นการ ลดการพึ่งพาข้าวขัดขาวจากภายนอกซึ่งลดคุณประโยชน์ลงและอาจไม่ปลอดภัยจากสารเคมีและยังเป็นการสร้าง รายได้เสริมให้สมาชิก จึงได้จัดทำโครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ตำบลอ่าวตง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะ วิกฤตโควิด : ข้าวตรัง ในระดับตำบล
  2. เพื่อพัฒนาสร้างความ มั่นคงทางอาหารใน ภาวะวิกฤตโควิดด้วย การฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่าน กระบวนการผลิต การตลาดและการ บริโภค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนชาวตรังได้ บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร
  2. พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล
  3. การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ
  4. ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย
  5. ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น
  6. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม
  7. บัญชีธนาคาร
  8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  9. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 1
  10. ปฐมนิเทศโครงการย่อย
  11. ป้ายปลอดบุหรี่
  12. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  13. ทัศนะศึกษาดูงาน
  14. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  15. เวทีหารือร่วมกับภาคีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  17. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  18. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1
  19. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5
  20. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 2
  21. การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวไร่ สู่มาตรฐาน ต่าง ๆ เช่น มาตรฐานที่ชุมชนร่วมกันรับรอง PGS มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย
  22. การจัดประชุมเสวนาเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมความคิดเห็นในการบริหารจัดการ ข้าวไร่ในชุมชน “คนอ่าวตงกิน ข้าวปลอดภัย”
  23. การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่
  24. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2
  25. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3
  26. ARE ครั้งที่ 1
  27. ARE ครั้งที่ 2
  28. ARE ครั้งที่ 3
  29. ประสานงานและจัดทำโครงการ
  30. นิทรรศการ
  31. จัดทำบัญชี
  32. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6
  33. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ตำบล อ่าวตง
  34. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7
  35. ประชุมภาคี ภาวะวิกฤติ ข้าวตรัง
  36. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8
  37. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 3
  38. ศึกษาดูงานเก็บเกี่ยวข้าวเบายอดม่วง ต.บางดี
  39. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9
  40. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10
  41. การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้ปลูกข้าวไร่รายย่อย และผู้บริโภค 100
ผู้ปลูกข้าวไร่อ่าวตง 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินยืมเปิดบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินยืมเปิดบัญชี

 

0 0

2. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปฐมนิเทศโครงการย่อย

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการเริ่มวางกลไกในชุมชนให้แข้มแข็งโดยการชี้แจงรายละเอียดของโครงการความมั่นคงทางอาหาร จัดตั้งคณะทำงานของโครงการ นัดหมายการวางแผนงานเพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของโครงการ รวมถึงการจัดตั้งข้อตกลงของชุมชน เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะทำงาน พร้อมทั้งจัดตั้งกรรมการของโครงการ จำนวน 12 ท่าน

 

15 0

4. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 1

วันที่ 23 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล

 

15 0

5. ทัศนะศึกษาดูงาน

วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศึกษาดูงาน

 

15 0

6. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ตำบล อ่าวตง

วันที่ 30 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำข้อมูลวิธีการในการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ปราชญ์ชาวบ้านมาแนะนำการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์แบบดั้งเดิม เพื่อป้องกันการกลายพันธ์

 

0 0

7. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 2

วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานร่วมกับภาคี โดยการเชิญ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน หน่วยงานสาธารณสุข เกษตรอำเภอ นายกอบต. สปก. และสมาชิกเพิ่มเติ,ในต.อ้่าวตง เพื่อชึ้แจงหารือและให้เล็งเห็นถึงความมั่นคงทางอาหารและหาแนวทางที่จะเดินไปในแนวทางเดียวกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หน่วยงานภาคีรับทราบถึงความมั่นคงทางอาหาร

 

15 0

8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 0

9. การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ ครั้งที่ 1

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

10. ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 3

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

15 0

11. เวทีหารือร่วมกับภาคีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

12. การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ ครั้งที่ 2

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

13. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 0

14. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อย

 

0 0

15. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 0

16. ประสานงานและจัดทำโครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานคณะทำงานที่เกี่ยวข้องและจัดทำรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ

 

0 0

17. จัดทำบัญชี

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บันทึกข้อมูลการเงินในระบบ HappyNetwork และบริหารจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมตั้งแต่งวดที่ 1-3 โดยนางภัททิดา ชุมอักษร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำบัญชี บริหารจัดการงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรม และบันทึกข้อมูลการเงินในระบบ HappyNetwork ได้อย่างเรียบร้อย

 

0 0

18. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมพูดคุย เกี่ยวกับตัวโครงการที่ทำงานมาเกือบครึ่งทาง หาแนวทางเพิ่มเติ่มเพื่อความแข้มแข็งของโครงการที่เพิ่มขึ้น ณ ม.5 ต.อ่าวตง อ.วังวิเศษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานจำนวน 6 คน ได้วิธีการเพิ่มสมาชิกในกลุ่มของปีถัดไป เริ่มคำนวณคร่าวถึงผลผลิตที่ได้รับของสมาชิกในกลุ่มที่มีอยู่เดิม

 

6 0

19. ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ยกระดับการพัฒนา ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต "ข้าว" ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 4 คน

 

0 0

20. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับผลผลิตข้าวที่คาดว่าจะออกแล้ววางแผนเตรียมรับมือในกรณีผลผลิตไม่เพียวฃงพอในชุมชน ณ ม.5 ต.อ่าวตง อ.วังวิเศษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานจำนวน 6 คน ได้ผลลัพธ์การวางแผนการตลาดและมีแผนรองรับกรณีผลผลิตที่คาดว่าจะออกมาถ้าหากน้อยเกืนไปก็จะนำผลผลิตของปีที่แล้วมาสำรองไปก่อน

 

6 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7

วันที่ 26 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแนวทางการร่วมกิจกรรมกับโครงการและคณะร่วมโครงการ ณ ม.5 ต.อ่าวตง อ.วังวิเศษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 6 คน ได้ข้อสรุปว่าทุกครั้งที่ทางความมั่นคงทางอาหารมีความรู้หรือกิจกรรมทางกลุ่มจะต้องมีการเข้าร่วมเพื่อนำหลักการและวิธีการมาใช้ในกลุ่มของตนเอง

 

0 0

22. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมคณะทำงาน ณ ม.5 ต.อ่าวตง อ.วังวิเศษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 6 คน

 

6 0

23. ศึกษาดูงานเก็บเกี่ยวข้าวเบายอดม่วง ต.บางดี

วันที่ 23 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน

 

0 0

24. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10

วันที่ 11 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 9 คน

 

6 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะ วิกฤตโควิด : ข้าวตรัง ในระดับตำบล
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่นอปท. เจ้าหน้าที่เกษตร รพ.สต. ท้องที่ ตัวแทนกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์ ตัวแทนกลุ่มข้าวไร่ กลุ่ม องค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ 1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณีข้าวใน ระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ 80 1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินกงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด ข้าวตรัง 1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลครอบคลุม ข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าวจำนวนพื้นที่การผลิตข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังของชุมชน และการบริโภคข้าว ตรังในตำบล 1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลและ การร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย 1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน

 

2 เพื่อพัฒนาสร้างความ มั่นคงทางอาหารใน ภาวะวิกฤตโควิดด้วย การฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่าน กระบวนการผลิต การตลาดและการ บริโภค
ตัวชี้วัด : 2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่มีอยู่ เดิม 2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูกในพื้นที่ 2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง 2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภคเพิ่มขึ้น 2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล 2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับเครือข่ายตำบลที่ ดำเนินโครงการ

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนชาวตรังได้ บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้ปลูกข้าวไร่รายย่อย และผู้บริโภค 100
ผู้ปลูกข้าวไร่อ่าวตง 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะ วิกฤตโควิด : ข้าวตรัง ในระดับตำบล (2) เพื่อพัฒนาสร้างความ มั่นคงทางอาหารใน ภาวะวิกฤตโควิดด้วย การฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่าน กระบวนการผลิต การตลาดและการ บริโภค (3) เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนชาวตรังได้ บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร (2) พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล (3) การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ (4) ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย (5) ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (9) ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 1 (10) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (11) ป้ายปลอดบุหรี่ (12) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (13) ทัศนะศึกษาดูงาน (14) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (15) เวทีหารือร่วมกับภาคีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (17) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (18) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 (19) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (20) ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 2 (21) การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ  พัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวไร่ สู่มาตรฐาน  ต่าง ๆ เช่น มาตรฐานที่ชุมชนร่วมกันรับรอง  PGS มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย (22) การจัดประชุมเสวนาเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมความคิดเห็นในการบริหารจัดการ ข้าวไร่ในชุมชน “คนอ่าวตงกิน ข้าวปลอดภัย” (23) การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ (24) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 (25) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 (26) ARE ครั้งที่ 1 (27) ARE ครั้งที่ 2 (28) ARE ครั้งที่ 3 (29) ประสานงานและจัดทำโครงการ (30) นิทรรศการ (31) จัดทำบัญชี (32) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (33) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ตำบล อ่าวตง (34) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (35) ประชุมภาคี ภาวะวิกฤติ ข้าวตรัง (36) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (37) ประชุมชนคณะทำงานด้านข้าว ไร่ ในระดับตำบล ครั้งที่ 3 (38) ศึกษาดูงานเก็บเกี่ยวข้าวเบายอดม่วง ต.บางดี (39) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (40) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 (41) การส่งเสริมด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0022 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

รณรงค์การปลูกข้าวไร่ในสวนยาง สวนปาล์ม 1-3 ปี

กิจกรรมการ หนำข้่าวไร่ อ่าวตง

ขยายพื้นที่ไปยัง ตำบล อำเภอ ที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

รณรงค์การบริโภคข้าวที่ปลูกเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ชุมชนมีการบริโภคข้าวปลอดภัย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เชื่อมกลุ่มนาข้าวในจังหวัดตรัง อีก 8-9 กลุ่มทั้งข้าวนา ข้าวไร่

การเชื่อมโยงเพื่อรวมกับออกบูธจำหน่ายตามงานนิทรรศการต่าง ๆ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวไร่ ตำบลอ่าวตง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0022

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเที่ยง ชุมอักษร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด