directions_run

โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน ภายใต้กลุ่มออมทรัพย์บ้านสันติ

แบบติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน ภายใต้กลุ่มออมทรัพย์บ้านสันติ

รหัสโครงการ 65-10018-09 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้

1. ข้อมูลชุมชนใดบ้างที่มีและที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะกาย

การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีค่า BMI ที่ลดลง การลดการเกิดโรค ความดัน เบาหวานที่ป้องกันได้

การสำรวจข้อมูลก่อน-หลังการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะจิต

การวิเคราะห์ข้อมูลด้านจิตใจ ความสุข การผ่อนคลายความเครียดหลังจากการทำงาน

การสำรวจข้อมูลก่อน-หลังการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะสังคม

การวิเคราะห์ข้อมูลการทำงานร่วมกันทำให้เกิดกลุ่ม" 1.กลุ่มเกษตรเลี้ยงปลา 2.กลุ่มทำน้ำจิ้ม 3.กลุ่มทำสบู่สมุนไพร"

การสำรวจข้อมูลก่อน-หลังการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัญญา

การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ช่วยเหลือซึ่งกันและกันไม่มีความเห็นแก่ตัว ทำงานให้ประสบความสำเร็จ

จาการพูดคุย

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
5. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัจเจก

การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน กาย จิต สังคม และปัญญาของผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชน

การสำรวจข้อมูลก่อน-หลังการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
6. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

ครอบครัวเป็นพื้นฐานสำคัญของการสร้างสุขภาพ เริ่มต้นจากต้นทุนชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เกิดมาเป็นทารกน้อยๆอยู่ในบ้านที่มีความสุข ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพก็ไม่ต้องเข้าไปแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นปลายทาง เช่น ปัญหาสังคม การติดเหล้า ติดบุหรี่ ติดสารเสพติด โรคเอดส์ ถ้าเริ่มต้นอย่างดีในบ้านก็จะไม่มีปัญหาเหล่านี้

การสำรวจข้อมูลครัวเรือน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
7. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

นำข้อมูลด้านสถานการณ์สุขภาวะชุมชนไปปรับใช้ในเรื่องกิจกรรมด้านสุขภาพให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการได้อย่างสะดวกมีระบบการให้คำปรึกษาและส่งต่อ

การศึกษาข้อมูลการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพได้อย่างทันท่วงที

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. อื่นๆ

 

 

2. การดำเนินโครงการนี้สอดคล้องกับแผนเดิมหรือมีการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิมต่อไปนี้อย่างไร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. แผนชุมชน

สอดคล้องกับแผนชุมชน ปี 66 ในการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพใช้ในครัวเรือนเพื่อลดการใช้สารเคมี ส่งเสริมการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี

การประชาคมทำแผนชุมชนโดยผ่านเวทีการประชาคมหมู่บ้าน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. แผนของท้องถิ่น

ในเรื่องการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีร่วมกับ UNDP ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในตำบลสุคิริน และนำผักปลอดสารเคมีไปเป็นอาหารให้กับผู่ป่วยของโรงพยาบาลสุคิริน

การร่วมทำแผนกับ อบต.สุคิริน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. แผนของหน่วยงานราชการ

การปลูกผักปลอดสารเคมี การเลี้ยงปลา การดูแลสุขภาพให้ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้และการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่

การทำแผนร่วมกับสนง.เกษตร การร่วมทำแผนกับ สนง.พัฒนาชุมชน การร่วมทำแผนกับ รพ.สุคิริน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. แผนอื่นๆ

 

 

3. ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน

1.ทรัพยากรมนุษย์ที่มาส่งเสริมการดำเนินโครงการให้เกิดความสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 2.ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้ำ อากาศ ที่เอื้อต่อการดำเนินดครงการให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมาย

คนและสิ่งแวดล้อมเดิมที่เป็นต้นทุนอยู่แล้ว

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชน

ผลิตเพื่อให้สามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ก่อนหากเหลือจากการบริโภคก็จำหน่าย หรือแลกเปลี่ยนกันภายในชุมชนวิถีชีวิตแบบนี้สะท้อนให้เห็นถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในชุมชน และการพึ่งพิงกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

จากวัฒนธรรมการพึ่งพาอาศัยกันแบบดั้งเดิม

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการปลูกผักปลอดสารเคมี เช่น น้ำส้มควันไม้ น้ำหมัก

ใช้สิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาทำเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านในการปลูกผักปลอดสารเคมี

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. เศรษฐกิจของชุมชน

คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ จากการออมทรัพย์ รายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง

ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

4. คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคีหลัก (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ปฏิบัติการของโครงการ)

ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อบต. อสม. คณะกรรมการหมู่บ้านทุกฝ่าย ปละกลุ่มต่างๆ

เป็นผู้ปฏิบัติที่อาศัยอยู่ในชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ผลักดัน หรือมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของโครงการ)

รพ.สุคิริน สำนักงานเกษตร อ.สุคิริน สนง.พัฒนาชุมชน อ.สุคิริน อบต.สุคิริน

หน่วยงานราชการที่อยู่ในอ.สุคิริน

5. งบประมาณและทรัพยากร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. งบประมาณ

งบประมาณในการดำเนินโครงการต่างๆ

สสส. อบต.

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ทรัพยากรอื่นๆ