directions_run

6. ใส่ใจและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ บ้านคลองลิดี หมู่ 3 ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ 6. ใส่ใจและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ บ้านคลองลิดี หมู่ 3 ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล
รหัสโครงการ 65-10154-001
วันที่อนุมัติ 5 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 มกราคม 2566 - 15 พฤศจิกายน 2566
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มผู้สูงอายุ บ้านคลองลิดี
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดนตรี วรรณบุรี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 092-4596404
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ dontree8577@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาววรรณนิดา เงดฉูนุ้ย
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.790141,99.862745place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ม.ค. 2566 30 มิ.ย. 2566 5 ม.ค. 2566 30 มิ.ย. 2566 50,000.00
2 1 ก.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 1 ก.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 25,000.00
3 1 ต.ค. 2566 15 พ.ย. 2566 1 ต.ค. 2566 15 พ.ย. 2566 5,000.00
รวมงบประมาณ 80,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไป เกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567หรืออีก 9 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนืองจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึง เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและประเมินสุขภาวะผู้สูงอายุ และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุในตำบลลำสินธุ์ โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป บ้านคลองลิดี หมู่ที่ 3 ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล มีพื้นที่ทั้งหมด 2,700 ไร่ จากจำนวน 8 หมู่บ้าน ในพื้นที่ของตำบลสาคร โดยมี นายยูฮัน บูเทศ เป็นผู้ใหญ่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิน 895 คน แยกเป็นชาย 435 คน หญิง 460 คน จำนวนประชากร 220 ครัวเรือน ข้อมูลผู้สูงอายุระลอกตั้งแต่ต้นปี 2564 และปี 2565 ของหมู่บ้านคลองลิดี พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 96.9 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดคือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) 50 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-69 ปี อีกร้อยละ 2 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นในบางกิจกรรมของกิจกรรมของกิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) และผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1.1 โดยส่วนใหญ่อยู่ในวัยมากกว่า 80 ปี 15 คน ซึ่งผู้สูงอายุในช่วยวัยปลายหรืออายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไปนั้น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงน่าจะสะท้อนถึงการเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ ผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งของประเทศ ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์สาธารณสุข ทำให้ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพื่อรองรับ
และการให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขึ้น การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุนับว่าเป็นภารกิจที่สำคัญสำหรับครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม เพื่อให้เกิดการดูแลเอื้ออาทรแก่ผู้สูงอายุ ซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาก่อน ดังนั้น กลุ่มสมาชิกตำบลบ้านบ้านคลองลิดี ในฐานะกลุ่มองค์กรที่ทำงานด้านผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการใส่ใจและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ บ้านคลองลิดี หมู่ 3 ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ
จังหวัดสตูล เพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ไม่มี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชมรมผู้สูงอายุระดับหมู่บ้าน และออกแบบกิจกรรมการดูแลสุขภาพ

1.1 มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 15  คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน อสม. อพม.กลุ่มสตรี  รพ.สต. เป็นต้นและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 1.2 เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 1.3 แกนนำชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 1.4 แกนนำชมรมผู้สูงอายุมีแผนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

2 2.เพื่อสร้างกลไกสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน

2.1 เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง 2.2 ผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ร้อยละ 80 (จำนวน 40 คน) 2.3 ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างสม่ำเสมอเดือนละ 1 ครั้ง อย่างน้อย 6 เดือน

3 3.ผู้สูงอายุในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้

3.1 ผู้สูงอายุร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที ในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน(จำนวน 25 คน) 3.2.ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนทุกคน  ได้รับการเยี่ยมบ้านเป็นประจำอย่างน้อย 1 เดือน/ครั้ง (จำนวน  15 คน  ) 3.3 ผู้สูงอายุร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม(จำนวน 25 คน) 3.4 ผู้สูงอายุร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีความสุขเพิ่มขึ้น(จำนวน40 คน)

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างใ 20 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตนเองได้โ 50 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66
1 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ(5 ม.ค. 2566-31 ต.ค. 2566) 5,000.00                      
2 กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน อบจ.และสสส.(5 ม.ค. 2566-31 ต.ค. 2566) 5,287.00                      
3 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 8 ครั้ง(1 ก.พ. 2566-31 ต.ค. 2566) 23,850.00                      
4 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(18 ก.พ. 2566-30 เม.ย. 2566) 13,800.00                      
5 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม(1 เม.ย. 2566-31 ก.ค. 2566) 10,200.00                      
6 ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารการกินเพื่อสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ(22 พ.ค. 2566-22 มิ.ย. 2566) 10,950.00                      
7 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน(22 พ.ค. 2566-22 พ.ค. 2566) 11,500.00                      
รวม 80,587.00
1 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 75 5,000.00 5 5,000.00
9 ก.พ. 66 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1/5 15 1,000.00 1,350.00
11 มี.ค. 66 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2/5 15 1,000.00 900.00
13 พ.ค. 66 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3/5 15 1,000.00 900.00
9 ก.ค. 66 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4/5 15 1,000.00 900.00
12 ก.ย. 66 ประชุมแกนนำชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5/5 15 1,000.00 950.00
2 กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน อบจ.และสสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 11 5,287.00 6 4,319.00
5 ม.ค. 66 เซ็นสัญญาโครงการ MOU 2 250.00 200.00
29 ม.ค. 66 ปฐมนิเทศ 2 508.00 200.00
6 ก.พ. 66 ทำป้ายไวนิล 2 1,089.00 1,089.00
26 มี.ค. 66 ตรายางโครงการ 1 350.00 600.00
27 เม.ย. 66 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 1,290.00 430.00
30 ก.ย. 66 จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 1 1,800.00 1,800.00
3 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 8 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 400 23,850.00 8 23,850.00
28 ก.พ. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 1/8 50 2,981.00 9,150.00
31 มี.ค. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 2/8 50 2,982.00 2,100.00
30 เม.ย. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 3/8 50 2,981.00 2,100.00
28 พ.ค. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 4/8 50 2,982.00 2,100.00
25 มิ.ย. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 5/8 50 2,981.00 2,100.00
5 ส.ค. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 6/8 50 2,982.00 2,100.00
20 ส.ค. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 7/8 50 2,981.00 2,100.00
24 ก.ย. 66 กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 8/8 50 2,980.00 2,100.00
4 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 13,800.00 2 9,300.00
26 ก.พ. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1/2 15 6,900.00 4,650.00
25 มี.ค. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2/2 15 6,900.00 4,650.00
5 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 10,200.00 4 14,700.00
15 เม.ย. 66 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม ครั้งที่ 1/4 5 2,550.00 4,800.00
13 พ.ค. 66 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม ครั้งที่ 2/4 5 2,550.00 6,300.00
17 มิ.ย. 66 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม ครั้งที่ 3/4 5 2,550.00 1,800.00
15 ก.ย. 66 การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยแกนนำชมรม ครั้งที่ 4/4 5 2,550.00 1,800.00
6 ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารการกินเพื่อสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 10,950.00 1 10,950.00
16 มิ.ย. 66 ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารการกินเพื่อสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ 50 10,950.00 10,950.00
7 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 11,500.00 1 11,500.00
24 ก.ย. 66 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน 50 11,500.00 11,500.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 2 33.19 2 514.43
3 ก.ย. 66 ถอนเงิน ปิดบัญชี 2 33.19 500.00
13 พ.ย. 66 เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ. 0 0.00 14.43

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการ
1.1 เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 1.2 ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักดูสุขภาพตนเอง 1.3 ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องง 2.เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
- ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง เพราะเป็นการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนที่เป็นสมาชิกร่วมกับหน่วยงาน ที่เข้ามาสนับสนุนในปีต่อๆ ไป และอยากให้ชุมชนเข้มแข็งต่อไป
3.ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร มีแกนนำเข้าร่วมกิจกรรมร่วมกับชมรมผู้สูงอายุมากขึ้น และผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองโดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ได้ ในการดำรงชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และมีอารมณ์ดี

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2566 13:34 น.