directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน ”

ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสกล กาฬสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน

ที่อยู่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 15 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-10156-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 15 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,300.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ
  2. เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี
  5. เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปฐมนิเทศโครงการ
  2. 3. ประชุมจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่1
  5. สรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 (รับเช็คสนามกลาง)
  6. 2. อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  7. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่2
  8. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่3
  9. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่4
  10. 8. จัดกิจกรรมสร้างสรรผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่
  11. จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่
  12. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่5
  13. 6. เวทีสรุปติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  14. กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 1
  15. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่6
  16. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่7
  17. 5. จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุภาวะของผู้สูงอายุ
  18. 7. ปรับสภาพแวดล้อมหาพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ลานบ้านลานใจ
  19. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่8
  20. 10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุ
  21. 9. จัดกิจกรรมประเภทของการออกกำลังกายและนันทนาการร่วมกันของผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับวัย
  22. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่9
  23. กิจกรรมที่ 5 จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ
  24. 11. จัดเวทีสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ (เวทีปิดโครงการ)
  25. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่10
  26. กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE ครั้งที่2)
  27. กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE 2)จังหวัด
  28. กิจกรรมที่5 จัดทำฐานข้อมูลสถานะการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ
  29. กิจกรรม ประชุมถอดบทเรียนพื้นที่แต่ละโครงการ (ประมงจังหวัด)
  30. กิจกรรม เตรียมอุปกรณ์ในการจัดบูช (กองทุน/ร.ร.อุบลรัตน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 24
ผู้สูงอายุ จำนวน 6 หมู่บ้าน 72

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ 2.เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ 3.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ 4.ผู้สูงอายุและผู้ดูแลสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี 5.มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30น. - 09.00น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ 09.00น. - 09.15น. เตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเป้าหมาย และมีกิจกรรมนันทนาการ 09.15น. - 09.30น. เปิดการประชุม กล่าวมอบนโยบายการส่งเสริมสุขภาพประชาชนภายใต้แผนงานร่วมทุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดพัทลุง โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง
09.30น. - 10.30น. แนวทางการบริหารจัดการโครงการ การเงิน และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยนายเสนีย์ จ่าวิสูตร 10.30น. - 10.45น. การจัดทำรายงานผ่านระบบ โดย นายอรุณ ศรีสุวรรณ 10.45น. - 12.00น ปฏิบัติการนำเข้าข้อมูลสู่ระบบ และทดลงจัดทำรายงานผ่านระบบ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ
12.00น. - 13.00น. พัก รับประทานอาหารเที่ยง
13.00น. - 13.30น. ความสำคัญของการออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด โดยนายไพฑูรย์ ทองสม
13.30น. - 14.30น.แบ่งกลุ่มย่อ ออกแบบการจัดกเ็บข้อมูลตัวชี้วัด
14.30น. - 15.00น. ลงนามความร่วมมือตามข้อตกลงร่วมโครงการ
15.00น. - 15.30น. สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
15.30น.    ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การปฐมนิเทศ ในครั้งนี้ จัดที่โรงเเรมชัยคณาธานี มีตัวแทนเข้าร่วมการปฐมนิเทศของโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนตำบลพญาขัน จำนวน 3 คน คือ ผู้รับผิดชอบโครงการ , คณะทำงานกิจกรรม และเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ จากการปฐมนิเทศในครั้งนี้ คณะผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ ด้านการเงิน การเบิก การคุมเงิน การจัดทำรายงาน และสามารถจัดทำเอกสารการเงินได้ รวมทั้งสามารถจัดทำรายงานผ่านระบบเว็บไซด์ happynetwork ได้

 

3 0

2. 3. ประชุมจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทบทวนบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน
  2. เพิ่มคณะทำงานได้ 15 คนจาก 11 คน
  3. ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา วิเคราะห์ข้อติดขัดต่างๆ

 

11 0

3. 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 11 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สร้างความเข้าใจกับตัวแทน อสม. ผู้ดูแล รพ.สต.  ท้องถิ่นและภาคีพัฒนาอื่น
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. รับสมัครผู้เข้าอบรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 62 คน ประกอบไปด้วย ผู้ดูแลจำนวน 16 คน ผู้สูงอายุจำนวน 30 คน อสม.จำนวน 6 คน ท้องถิ่นจำนวน 4 คน ท้องที่จำนวน 5 คน ภาคี รพ.สต.บ้านเขาแดง 1 คน ปอช. จำนวน 1 คน
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น
2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าใจถึงทิศทางในการขับเคลื่อนโครงการ
3. เกิดกลไกในการขับเคลื่อนโครงการ มีคณะทำงานในการขับเคลื่อนโครงการจำนวน 15 คน
4. ผู้สนใจสมัครเข้าร่วมอบรมโครงการจำนวน 65 คน

 

60 0

4. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่1

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ติดตามการทำงานของคณะกรรมการกองทุนในการประสานงานและการเตรียมงานในการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่1
  2. ติดตามการประสานวิทยากรในมาฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ได้วิทยากรทั้งหมด 2 คนเป็นเวลา 2 วัน
  3. ปัญหาและข้อติดขัดในการดำเนินประสานงานและการเตรียมงาน

 

11 0

5. สรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 (รับเช็คสนามกลาง)

วันที่ 20 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไปรับเช็คงบประมาณ งวดงานที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รับเช็คงบประมาณจำนวนเงิน 28,150 บาท

 

0 0

6. 2. อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานกับวิทยากรในการอบรม
  2. กำหนดหลักสูตรในการอบรม
  3. จัดอบรมตามหลักสูตร
      3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของผู้สูงอายุ
      3.2 ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ดี
      3.3 วิธีการดูแลการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีร่างกายปกติ
          - ภาคทฤษฎี
          - ภาคปฏิบัติ
      3.4 วิธีการดูแลการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
          - ภาคทฤษฎี
          - ภาคปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงชีวิตให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและสภาพแวดล้อม 69คน คิดเป็นร้อยละ 70
  2. ผู้ดูแลสามารถเข้าใจถึงพฤติกรรมความแตกต่างของผู้สูงอายุในการดำรงชีวิตที่ต่างจากวัยอื่น ผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการ(วัยทำงาน) จำนวน 40 คน ผู้ดูแลที่เป็นเด็กเยาวชน 9 คน ผู้สูงอายุ 30 คน
  3. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในเชิงบวก สามารถอยู่ร่วมกันได้ เกิดครอบครัวที่อบอุ่น กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลเพิ่มมากขึ้นและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ คิดเป็นร้อยละ 70 ของผู้เข้าอบรม

 

60 0

7. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่2

วันที่ 3 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดตั้งคณะทำงานตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ  2  คน  ท้องถิ่น  1 คน  รพ.สต. 1  คน  อสม. 2  คน ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม  2 คน  กองทุนสวัสดิการชุมชน  3  คน
  2. กำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานและกำหนดกติกาในการทำงานร่วมกัน
  3. ออกแบบการทำงานร่วมกัน
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดคณะทำงาน 15 คน ประกอบด้วยตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ  ท้องถิ่น  รพ.สต.  อสม.  ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม  กองทุนสวัสดิการชุมชน
  2. มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ
  3. มีข้อมูลและกำหนดแบบแผนการขับเคลื่อนการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  4. มีกติการ่วมกันในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ
  5. มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 1 คนต้องดูแลผู้สูงอายุ 5 คน ผู้สูงอายุและผู้ดูแลจะต้องร่วมกันออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง ติดตามข้อมูลตามแผนที่วางไว้

 

11 0

8. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่3

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. ทบทวนคณะทำงานในการขับเคลื่อนโครงการการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 15 คน จาก 11 คน
  3. ทบทวนกติการ่วมกัน

 

11 0

9. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่4

วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการทำงานและการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

 

11 0

10. 8. จัดกิจกรรมสร้างสรรผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  จัดกลุ่มส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุที่สนใจในการแปรรูปมะม่วงเบาในท้องถิ่น 2. จัดกลุ่มส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุที่สนใจในการจักสานไม้ใผ่และเครื่องมือประมงในท้องถิ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้สนใจเข้าอบรมในการแปรรูปมะม่วงเบาในท้องถิ่น จำนวน 31 คน
1. ผู้เข้าร่วมอบรมได้รวมกลุ่มและจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรตำบลพญาขัน มีการจดทะเบียนทั้งหมด 11 คน มีแผนงานรองรับและท้องถิ่นเข้ามาช่วยเหลือในการประสานงาน ทางมหาวิทยาลัยได้เข้ามาช่วยเหลือในส่วนของการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ทางสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้และสถานการณ์ของผู้สูงอายุ
2. สามารถเปิดบูธจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากมะม่วงเบา โดยได้เปิดไปทั้งหมด 3 บูธ ได้แก่งานมหกรรมคูโบต้า งานกาชาดพัทลุง และงานมุทิตาจิตหลวงพ่อหมุน ยสโร

 

20 0

11. จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดทำป้ายปลอดบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้ดำเนินการจัดทำป้ายโครงการ จำนวน 1 แผ่น โดยป้ายโครงการประกอบไปด้วย ชื่อโครงการ วันที่จัดทำโครงการ

 

0 0

12. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่5

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการทำงานการจัดโครงการแปรรูปมะม่วงเบา
  2. ได้กลุ่มผู้สนใจเข้าร่วมการดำเนินโครงการต่อทั้งหมด 11 คน
  3. มีการจดแจ้งและจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน

 

11 0

13. 6. เวทีสรุปติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. มีคณะทำงานประเมินผลการดำเนินงานระยะ 4 เดือน/ครั้ง
  2. ออกแบบและกำหนดแนวทางการทำงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นร่วมเรื่องผู้สูงอายุในมิติที่แตกต่าง ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีกิจกรรมร่วมกัน มีการดูสุขภาพมากยิ่งขึ้น
    1.1 ผู้สูงอายุและผู้ดูแล ได้ออกกำลังกาย 80 คน เช่น การเดิน การวิ่ง การปั่นจักรยาน
    1.2 เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะม่วงเบา ทั้งหมด 11 คน ทุกคนมีความตั้งใจและร่วมมือกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีการเปิดบูธสินค้าเพื่อวางจำหน่าย มีกติการ่วมกัน สามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์และมีการเพิ่มรายได้ ทำให้ผู้สูงอายุมีความสุขมากยิ่งขึ้น
    1.3 มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ 30 คน เป็นทั้งตัวแทน อสม. ลูกหลานและผู้สูงอายุด้วยกันที่ช่วยกันดูแล ทำให้ผู้สูงอายุไม่รู้สึกโดดเดี่ยว มีความรักใคร่ผูนพันกัน มีการถามไถ่สารทุกข์สุขดิบ
  2. เกิดคณะทำงานจำนวน 15 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากทุกภาคส่วน ประกอบไปด้วย ตัวแทนกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลพญาขัน 4 คน ตัวแทนผู้สูงอายุ 3 คน ท้องถิ่น 1 คน ท้องที่ 2 คน อสม. 2 คน รพ.สต.1 คน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 2 คน เห็นถึงความแตกต่างในการขับเคลื่อนในประเด็นผู้สูงอายุ
  3. เกิดกติกาข้อตกลงร่วมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  4. เห็นถึงการทำงานร่วมกันของภาคีหนุนเสริมและภาคีพัฒนาในระดับตำบลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานพััฒนาชุมชน สนับสนุนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะม่วงเบา มีกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบล สปสช. สนับสนุนส่งเสริมสุขภาพในการดูแลผู้สูงอายุ
  5. ได้ทบทวนการทำงานของคณะกรรมการในการขับเคลื่อนงานต่อและเกิดการปรับปรุงการจัดทำข้อมูลสำหรับการรายงานผลการดำเนินโครงการ

 

15 0

14. กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 1

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เรื่องที่ 1.ประชุมเเลกเปลี่ยนข้อมูลและผลลัพธ์ตามประเด็นของโครงการ แบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ ประเด็นเยาวชนและครอบครัว,ผู้สูงอายุ,อาหารปลอดภัยและกิจกรรมทางกาย
เรื่องที่ 2. นำเสนอผลลัพธ์การดำเนินงานในระยะแรกเพื่อให้เห็นว่าผลลัพธ์อยู่ในบันไดขั้นที่เท่าไหร่ตามประเด็นที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่องที่ 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการ ประกอบด้วย การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน การเชื่อมโยงการทำงานกับภาคี จัดการเอกสารการเงิน สิ้นสุดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบและคณะทำงานของโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนตำบลพญาขัน ได้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ จำนวน 2 คน ได้เข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ในประเด็นผู้สูงอายุ ซึ่งได้ผลสรุปในโครงการรอบแรก ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายปัจจุบัน  คน มีคณะทำงาน  คน แกนนำ  คน ดำเนินกิจกรรมไปแล้ว  กิจกรรมสร้างสรรค์ ในพื้นที่ตำบลพญาขัน  มีกติกาชุมชนจำนวน 2 ข้อ คือ 1. ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมในวันจันทร์ และ 2.ให้ผู้สูงอายุออกมาออกกำลังกายในพื้นที่ส่วนกลางที่สร้างขึ้น อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง โดยกิจกรรมส่วนใหญ่ที่ทางคณะทำงานได้ดำเนินการส่วนใหญ่เป็นประเด็น การออกกำลังกาย,การกินและการเข้าร่วมกิจกรรม และผลลัพธ์ที่ได้ระหว่างการทำโครงการที่ผ่านมา คือ ทำให้ผู้สูงอายุติดบ้านเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมเพิ่มขึ้นและเกิดรายได้ระหว่างการดำเนินกิจกรรม เนื่องจากผู้สูงอายุบางรายได้ทำขนม/ผักสวนครัว มาขายในวันที่ดำเนินกิจกรรม

ในการประชุมครั้งนี้ผู้รับผิดชอบงานได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำเอกสารการเงิน เพื่อดำเนินการเบิกเงินสนับสนุนในงวดถัดไปได้ทันเวลา

 

3 0

15. 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่6

วันที่ 30 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามความคืบหน้าในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
  3. หาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ผู้สนใจที่ผ่านการอบรมในโครงการแปรรูปมะม่วงเบา ที่จะขับเคลื่อนในการแปรรูปมะม่วงเบา 11 คน
  2. จัดโครงสร้างกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่

 

11 0

16. 5. จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุภาวะของผู้สูงอายุ

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

11 0

17. 7. ปรับสภาพแวดล้อมหาพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ลานบ้านลานใจ

วันที่ 10 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ปฎิบัติ 1.จัดกลุ่มส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุที่สนใจในการแปรรูปมะม่วงเบาในท้องถิ่น 2.จัดกลุ่มส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุที่สนใจในการจักสานไม้ไผ่เครื่องประมงและร้อยลูกปัดมโนราห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรตำบลพญาขันขึ้น เริ่มต้นสมาชิก 11 คน -ผู้สูงอายุที่สนใจ ได้นำสินค้าผลิตจำหน่าย ตามวาระต่างๆ เช่น ออกบูธงานกาชาดจังหวัดพัทลุง งานมหกรรมสินค้าเกษตรร่วมกับบริษัทคูโบต้า และกิจกรรมในตำบลอย่างต่อเนื่อง -มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในและภายนอกเพิ่มมากขึ้น

 

20 0

18. 10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุ

วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เวทีแลกเปลี่ยนภายหลังได้ผ่านการอบรมเรียนรู้ร่วมกันแล้ว นำไปปฏิบัติจริง 2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน 3.ค้นหาบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพ เพื่อให้เป็นแบบอย่างต่อบุคคลอื่นต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุดูแลสุขภาพที่ถูกวิธี 165คน 2.มีหมู่บ้านที่ร่วมเพิ่ม 2หมู่บ้าน(นอกพื้นที่โครงการ) 3.เกิดผู้สูงอายุต้นแบบในการดูแลสุขภาพ 37 คน

 

35 0

19. 9. จัดกิจกรรมประเภทของการออกกำลังกายและนันทนาการร่วมกันของผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับวัย

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานวิทยากรเกี่ยวกับการแนะนำการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย 2.กำหนดเวลา สถานที่ดำเนินการตามกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สุงอายุนำความรู้ ไปปรับเปลี่ยนการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง -ผู้สูงอายุมีการตื่นตัวในการออกกำลังกายมากขึ้น

 

60 0

20. กิจกรรมที่ 5 จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ

วันที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

0 0

21. กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE ครั้งที่2)

วันที่ 24 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.

 

0 0

22. กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE 2)จังหวัด

วันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงาน -ถอดบทเรียนจากการดำเนินงานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

0 0

23. 11. จัดเวทีสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ (เวทีปิดโครงการ)

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานภาคีความร่วมมือและผู้เข้าร่วม 2.สรุปผลการดำเนินงาน 3.จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เสนอแนวทางทางการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุต่อท้องถิ่น เทศบาลรับไปดำเนินการโดยการรับสมัครผู้สูงอายุที่สนใจ

 

11 0

24. กิจกรรมที่5 จัดทำฐานข้อมูลสถานะการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

0 0

25. กิจกรรม ประชุมถอดบทเรียนพื้นที่แต่ละโครงการ (ประมงจังหวัด)

วันที่ 7 ธันวาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

0 0

26. กิจกรรม เตรียมอุปกรณ์ในการจัดบูช (กองทุน/ร.ร.อุบลรัตน์

วันที่ 19 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-มาเตรียมอุปกรณ์วัสดุ -ซื้ออุปกรณืกรในการจัดบูช -ผลิตสินค้าแปรรูปจากมะม่วงเบา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลิต น้ำปริก 30กล่อง -มะม่วงสามรส 20 กล่อง -แยมมะม่วง 20 กล่อง
  • น้ำมะม่วงพลาสเจอร์ไรด์ 100 ขวด -น้ำมะม่วงปั้น 50 แก้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20ท่าน ยอดขายในบูช 1200 บาท -เกิดการแลกเปลี่ยนรู้ในการขับงานสสส. -ผู้เข้าร่วมมีแนวทางในการขับงานต่อไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 70 คน 1.2 สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสมและถูกวิธี
1.00 1.00 134.00

ควรมีการติดตามผลการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมายที่ทั้งผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแล และอาสาสมครคนดูแลทั้ง 96 คน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านสุขภาวะทั้งมีติด้านสังคม ด้านสุขภาพ ด้านเศรฐกิจ และสภาพแวดล้อม ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง เพื่อเป็นแนวทางในการต่อยอดยกระดับการขับเคลื่อนการออกแบบกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์์และกลุ่มเป้าหมายได้ถูกวิธี

2 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดคณะทำงาน 11 คน ประกอบด้วยตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ ท้องถิ่น รพ.สต. อสม. ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม กองทุนสวัสดิการชุมชน 2.2 มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบชัดเจน 2.3 มีข้อมูลและกำหนดแบบแผนการขับเคลื่อนการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2.4 มีกติการ่วมกันในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ 2.5 มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
11.00

ควรจะมีการออกแบบทบทวนการทำงานกลไกการขับเคลื่อนที่ให้มีเยาวชนคนรุ่นใหม่ในชุมชนมาเสริมการทำงานเพื่อมาเติมเต็มในการบันทึกข้อมูลที่เป็นระบบสืบค้นได้ง่าย และเป็นการสร้างแกนนำรุ่นใหม่มาเสริมทีมทำงานให้มีความเข้มแข็ง

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 กลุ่ม 3.2 เกิดพื้นที่สร้างสรรส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 มีกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย
2.00

เป็นการจัดตั้งกลุ่มที่ที่สอดคล้องกับพื้นที่ ทำให้ผู้สูงอายุนำภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้ว เช่นการสานเสื่อกระจูด มาใช้ประโยขน์ในการทำกิจกรรมเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในชุมชนและเสริมรายได้ให้กับสมาชิกด้วยการนำวัตถุดิบทรัพยากรในชุมชนมาเสริมรายได้สร้างมูลค่าเพิ่มสู่การเกิดพื้นที่สร้างสรรค์ในชุมชน

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 4.1 มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุ ดูแลสุขภาพที่ถูกวิธีได้อย่างน้อย 70 คน 4.2 เกิดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ
96.00

ถึงแม้ว่าจะมีแกนนำสนใจในการสมัครเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ มากกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ถึงจำนวน 96 คน แต่เนื่องจากเพิ่งเริ่มฝึกทักษะและกระบวนการในการดูแลผู้สูงอายุ จึงยังไม่เกิดผู้ดูแลผู้สูงอายุรวมถึงผู้สูงอายุต้นแบบที่ได้รับการดูแล ที่เป็นต้นแบบได้

5 เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 5.1 มีแผนสนับสนุนด้านการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ 5.2 มีงบประมาณสนับสนุนอย่างชัดเจนและต่อเนื่องในการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ
0.00

เนื่องจากการขับเคลื่อนโครงการภายใต้กิจกรรมการดูแลผู้สูลอายุ ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นการดำเนินงาน จึงยังไม่มีการจัดทำแผนการทำงานในการประสานความร่วมมือกับท้องถื่นเพื่อผลักดันให้เกิดเป็นนโยบายและแผนปฎิบัติการร่วมของท้องถิ่น คือเทศบาลตำบลพญาขันธ์ในการทำงานเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 24
ผู้สูงอายุ จำนวน 6 หมู่บ้าน 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี (5) เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศโครงการ (2) 3. ประชุมจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3) 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ (4) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่1 (5) สรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 (รับเช็คสนามกลาง) (6) 2. อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (7) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่2 (8) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่3 (9) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่4 (10) 8. จัดกิจกรรมสร้างสรรผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ (11) จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ (12) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่5 (13) 6. เวทีสรุปติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (14) กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 1 (15) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่6 (16) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่7 (17) 5. จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุภาวะของผู้สูงอายุ (18) 7. ปรับสภาพแวดล้อมหาพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ลานบ้านลานใจ (19) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่8 (20) 10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุ (21) 9. จัดกิจกรรมประเภทของการออกกำลังกายและนันทนาการร่วมกันของผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับวัย (22) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่9 (23) กิจกรรมที่ 5 จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ (24) 11. จัดเวทีสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ (เวทีปิดโครงการ) (25) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่10 (26) กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE ครั้งที่2) (27) กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE 2)จังหวัด (28) กิจกรรมที่5 จัดทำฐานข้อมูลสถานะการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ (29) กิจกรรม ประชุมถอดบทเรียนพื้นที่แต่ละโครงการ (ประมงจังหวัด) (30) กิจกรรม เตรียมอุปกรณ์ในการจัดบูช (กองทุน/ร.ร.อุบลรัตน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-017

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสกล กาฬสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด