directions_run

โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี


“ โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัด ดือราโอะ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.1 สถานการณ์/แนวโน้มปัญหา หมู่บ้านรูสะมิแล ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 1 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นที่ราบชายฝั่งทะเล บริเวณอ่าวปัตตานี และมีพื้นที่ติดกับเมืองปัตตานี ทำให้ชาวรูสะมิแลมีอาชีพหลัก คือ ประมงพื้นบ้าน รับจ้างทั่วไป และค้าขายตามลำดับ ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีจำนวนประชาชนทั้งสิ้น 5,570 คน เป็นชาย 2,669 คน เป็นหญิง 2,901 คน และ เด็กที่อายุระหว่าง 6 – 12 ปี มีจำนวนทั้งสิ้น 631 คน แยกเป็นชาย 321 คน เป็นหญิง 310 คน (ข้อมูล ณ. เดือนกุมภาพันธ์ 2566) ปัจจุบันหมู่บ้านรูสะมิแล ยาเสพติดที่นิยมมากสุด คือ ใบกระท่อม รองลงมา คือ ยาบ้า ซึ่งผลกระทบต่อเด็ก ครอบครัว และชุมชน เป็นอย่างมาก เด็กเกิดอาการทางจิตเพิ่มขึ้น มีปัญหาภายในครอบครัว ทำร้ายร่างกาย และเกิดการลักขโมยภายในชุมชน
สถานาการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่ทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งท้าทาย การชักจูง และสภาพแวดล้อภายในครอบครัว อันเกิดจากสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็ก จนพฤติกรรมเหล่านี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตร่วมสมัยของเด็กและเยาวชนที่เติมโตขึ้นทุกวัน ด้วยนโยบายเสรีพืชกระท่อมและกัญชา เป็นความวิตกกังวลว่าเด็กจะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นทางทีมงานจึงเล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการ เยาวชนวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติดขึ้น เพื่อที่จะป้องกันและสร้างองค์ความรู้เป็นภูมิคุ้มกันให้เด็กในชุมชนรูสะมิแล ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทางด้านอารมณ์และจิตใจที่เข้มแข็ง อีกทั้งให้เด็กและเยาวชนมีร่างกายที่แข็งแรง มีสภาพจิตที่ดีและมีการพัฒนาสติปัญญารวมถึงให้เด็กตระหนักถึงอนาคตของตนเองและประเทศชาติ 1.2 สาเหตุของปัญหา เด็กเป็นเป้าหมายของขบวนการยาเสพติดเนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดจากหลายปัจจัย เช่น
1) นโยบายเสรีกระท่อม กัญชา ทำให้มีการแพร่ระบาดสูงมาก เนื่องจากหาได้ง่าย 2) จากตนเองคือเด็กขาดการศึกษา จากปัญหาก่อนที่เด็กจะติดยาเสพติดคือการที่เด็กขาดการศึกษา ไม่มีความสนใจเรื่องการเรียนผู้ ปกครองไม่ค่อยส่งเสริมด้านการศึกษา ไม่ให้ความสำคัญของการเรียน ไม่ค่อยมีเวลากับลูกเนื่องจากต้องทำงาน
3) เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้อยากลอง กลุ่มเพื่อนชักชวนให้สูบ สามารถหาซื้อง่าย ผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ไม่ดีสูบให้เด็กดู เมื่อเด็กสูบตามไม่มีใครห้าม ผู้ปกครองไม่ค่อยสนใจกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็ก ไม่สั่งสอนแนะนำ ไม่กล้าห้ามปรามและตักเตือนเด็กในพื้นที่ สาเหตุของยาเสพติดเกิดจากเวลาว่างเยอะ จนเป็นทางนำสู่การยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
1.3 วิเคราะห์ปัจจัยเอื้อและปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดสำหรับการดำเนินงาน 1) ทุนเดิมและจุดแข็งของชุมชนบ้านรูสะมิแล คือมีคณะกรรมการการหมู่บ้าน ผู้นำด้านศาสนา มีสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลรูสะมิแล ผู้นำตามธรรมชาติ ที่มีความรู้สามารถดึงเข้ามาร่วมกิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่เด็กได้และคอยเป็นที่ปรึกษาแนะนำการทำงานด้านการพัฒนาเด็กในพื้นที่ 2) มีหน่วยงานท้องถิ่น (เทศบาลตำบลรูสะมิแล) ให้การสนับสนุนกิจกรรมทุกๆด้าน 3) ผู้ปกครองส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มเด็กเยาวชนพื้นที่

1.4 โอกาส/แนวทางแก้ไขปัญหา
ปัญหาของยาเสพติดกลายเป็นโอกาสที่สำคัญที่ทำให้คนในหมู่บ้านกลับมาให้ความสำคัญอีกครั้ง ต่อการดูแลรักษาและปกป้องลูกหลานของตนเอง ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นว่ามีรูปแบบและวิธีการดำเนินงานที่หลากหลายของกิจกรรม เช่น การอบรมให้ความรู้ รู้เท่าทันภัยยาเสพติด การออกดะห์วะเด็ก และการฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล เป็นกิจกรรมหลักในโครงการเป็นกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ที่ทำให้ห่างไกลจากยาเสพติดและเพื่อเป็นการเอาชนะยาเสพติด การออกแบบให้เหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยยาเสพติด และเกิดกลไกเผ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้ห่างไกลยาเสพติด
  2. 2.เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนได้แสดงความสามารถตามกิจกรรมที่สนใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และห่างไกลยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สนับสนุนบริหารจัดการ
  2. ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง
  3. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม จำนวน 4 ครั้ง
  4. กิจกรรมที่ 6 ฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล
  5. กิจกรรมที่ 2 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด
  6. กิจกรรมที่ 5 ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด
  7. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด
  8. กิจกรรมที่ 4 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เขิงปฏิบัติการและเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้
  9. กิจกรรมที่ 7 สรุปและถอดบทเรียน
  10. ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ
  11. ถอนเงินเปิดบัญชี
  12. ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ
  13. อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผุ้รับทุน
  14. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ครั้งที่ 1/4
  15. ฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล
  16. ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด
  17. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 2/4
  18. ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  19. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด
  20. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 3/4
  21. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 1 (อบรมเวีทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์ดครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566
  22. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้
  23. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 4/4
  24. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด
  25. ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  26. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 2
  27. สรุปและถอดบทเรียน
  28. ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  29. ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง
  30. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครอบครัวเด็กเยาวชน 40
เด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก มีความรู้ความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยยาเสพติด และโทษภัยจากยาเสพติด
  2. เกิดดกลไกเฝ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด
  3. เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้บทบาทของตนเองที่มีต่อสังคม และการใช้ชีวิตตามหลักศาสนาที่ถูกต้อง
  4. เด็กและเยาวชนมีพื้นที่ร่วมทำกิจกรรมที่สนใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด
  5. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงจากการออกกำลังกาย และมีทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงายความก้าวหน้าออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

 

0 0

2. อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผุ้รับทุน

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แนะนำตัว แยกกลุ่ม จัดทำแผน เรียนรู้ระบบแฟลตฟอร์ม "คนสร้างสุข" การป้อนแผนเข้าระบบ และเรียนรู้คู่มือการเงิน และบัญชีโครงการย่อย (เครือข่าย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้เรียนรู้และเข้าใจระบบแฟลตฟอร์ม "คนสร้างสุข" พอสมควร 2.จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการและลงระบบ "คนสร้างสุข" 3.ได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน และบัญชีโครงการย่อย (เครือข่าย) เช่น การทำหน้งสือเชิญ หนังสือตอบรับ ใบสำคัญรับเงิน ใบสำคัญจ่ายเงิน ใบลงทะเบียน เป็นต้น

 

3 0

3. ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายชื่อโครงการ ขนาด 1.22.4 เมตร จัดทำตรายาง ชื่อผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณจัดทำโครงการ 1 ชุด และตรายางรหัสโครงการ 1 ชุด จัดป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ ขนาด 1.22.4 เมตร จำนวน 1 ชุด จัดป้ายไวนิลพร้อมขาตั้ง ขนาด 180*80 เซนติเมตร จำนวน 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ชุด ในการประกอบการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
  2. มีตรายางรหัสโครงการ 1 ชุด ตรายาง ชื่อผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณจัดทำโครงการ 1 ชุด ในการจัดเอกสารการเงิน
  3. มีป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ เพื่อใช้ในการตรวจเช็คการดำเนินงานเพื่อไปตามเป้าหมาย
  4. มีป้ายไวนิลพร้อมขาตั้ง  สามารถเป็นสื่อการนำเสนอปิดโครงการ

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ครั้งที่ 1/4

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 ชมรมฟุตบอลตำบลรูสมะมิแล ได้รับการสนับสนุนโครงการฯ จากแผนงานร่วมทุน อบจ.ปัตตานี ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม - ไม่มีรายงานการประชุม เป็นการประชุมครั้งแรก

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 ทำความเข้าใจโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ และรายละเอียดกิจกรรม 3.2 ประกาศแต่งตั้งคณะบริหาร/บทบาทหน้าที่คณะกรรมการฯ 3.3 รายงานการเงิน

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณา เสนอชื่อเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการและบทบาทหน้าที่คณะกรรมการฯ ขับเคลื่อนโครงการเด็กวัยไส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด มติที่ประชุม
4.2 พิจารณาอนุมัติแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ มติที่ประชุม

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 15 คน และที่ปรึกษา 5 คน
  2. คณะทำงานมีความเข้าใจโครงการไปในทิศทางเดียวกัน และพร้อมที่จะขับเคลื่อนโครงการดังกล่าว
  3. ได้ร่วมกำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการ ใน 3 เดือนแรก คือ กรกฎาคม - กันยายน 66
  4. ได้ขออนุมัติเบิกงบประมาณจากโครงการเพื่อดำเนินกิจกรรมดังกล่าว คือ
    4.1 กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/2566
    4.2 กิจกรรมดะวะห์ สัญจร 4.3 กิจกรรมเวทีสร้างความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด 4.4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด 4.5 กิจกรรมประชุมคณะทงำานครั้งที่ 2/2566

 

15 0

5. ฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ได้สนับสนุนอุปกรณ์ซ้อมฟุตบอล
  2. ทำการฝึกซ้อมฟุตบอล 5 วัน ต่อ สัปดาห์
  3. การเแลกเปลี่ยน ก่อน และ หลัง การฝึกซ้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กในพื้นที่มีวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกซ้อม หรือเล่นกีฬาฟุตบอล
  2. เด็กได้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ สร้างร่างกายให้แข็งแรง
  3. เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด
  4. เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ในพื้นที่เพิ่มขึ้น คือ โรงเรียนตาดีกา 2 จุด สนามฟุตบอลข้าง รพ.สต. 2 จุด
  5. ขยายพื้นที่การอกกำลังกายสู่หมู่บ้านใกล้เคียง อีก 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2 บ้านบางปลาหมอ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก

 

40 0

6. ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 08.30 น. – 12.00 น. เดินทางไป เขื่อนบางลาง (สถานที่ดะวะห์ ฝึกอบรม) / อาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 น. – 13.30 น. เข้าที่พัก / รับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.00 น. – 16.00 น. ทำความเข้าใจโครงการ โดย นายมูฮัมหมัด ดือราโอะ ผู้รับผิดชอบโครงการ
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย วิทยากรจิตอาสา
- ความคาดหวัง - บทบาท/หน้าที่ ของเยาวชน รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 16.00 น. – 18.00 น. พัก / ปฏิบัติศาสนกิจ / รับประทานอาหารเย็น เวลา 18.00 น. – 21.00 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
        บรรยายธรรม “บทบาทหน้าที่ของเด็กเยาวชน ในหลักการศาสนาอิสลาม”  โดย บาบอยูโซ๊ะ อาแซ

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 05.00 – 06.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
        บรรยายธรรม “จิตอาสา” โดย นายซอและ มะสอลา เวลา 06.30 – 08.30 น. พักตามอัธยาศัย / รับประทานอาหารเช้า / เวลา 08.30 – 12.00 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย วิทยากรจิตอาสา - ทบทวนกิจกรรม วันที่ 1 - แผนที่เดินดิน วิเคราะห์ปัญหาชุมชน
รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.30 – 16.00 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ต่อ) และนำเสนอการแลกเปลี่ยน เวลา 16.00 – 18.00 น. พัก / ปฏิบัติศาสนกิจ / รับประทานอาหารเย็น เวลา 18.00 น. – 21.00 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
บรรยายธรรม “ครอบครัวอบอุ่น” โดย บาบอยูโซ๊ะ อาแซ วันที่ 3 กันยายน 2566
เวลา 05.00 – 06.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจ
บรรยายธรรม “จิตอาสา” โดย นายซอและ มะสอลา เวลา 06.30 – 08.30 น. พักตามอัธยาศัย / รับประทานอาหารเช้า
เวลา 08.30 – 12.00 น. เวทีสรุปกิจกรรมร่วมกัน / รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.30 น. เดินทางกลับ / รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เยาวชนได้เรียนรู้หลักคำสอนที่ถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งเสพติด
  2. เยาวชนมีความตระหนักรักบ้านเกิดมากขึ้น
  3. เยาวชนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความหลากหลาย การพึ่งพากัน ช่วยเหลือกัน
  4. เยาวชนเรียนรู้เครื่องมือในการที่จะพัฒนาชุมชน 2 เครื่องมือ 1. แผนที่ชุมชนน 2. การวิเคราะห์ปัญหา
  5. เกิดกลุ่มเยาวชน ทั้ง 6 หมู่บ้าน และได้เชื่อมโยงเยาวชนกับสภาเด็กและเยาวชนตำบลรูสะมิแล เพื่อที่จะได้ประสานเป็นเครือข่ายการทำงานด้านเด็กและเยาวชนในอนาคต
  6. เยาวชนรู้ว่าตัวเองมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาตัวเอง พัฒนาครอบครัว พัฒนาชุมชนและสังคมของตัวเอง และกำหนดชีวิตของตัวได้

 

40 0

7. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 2/4

วันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เริ่มประชุม เวลา 9.00 น. ประธาน กล่าวตอนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และแจ้งเพื่อทราบประเด็นต่าง ๆ
1. ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรม ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด โดยใช้กระบวนการแลกเปลียนความคิดเห็น 2. ชี้แจงกิจกรรมที่ยังไม่ได้ดำเนินการ 3. กำหนดกิจกรรมต่อไป คือกิจกรรม เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด 3.1 วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 3.2 กำหนดวัน เวลา
3.3 สถานที่จัดกิจกรรม 3.4 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม และจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ปิดประชุม เวลา 12.00 น. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - ไม่มี ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม - รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 มติประชุม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรม ดะวะห์สัญจร อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณา ระดมความคิดเห็น ถอดบทเรียนการดำเนินงานกิจกรรม ดะวะห์สัญจร ฯ มติที่ประชุม
4.2 พิจารณา วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่อไป คือ กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด มติที่ประชุม
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม ดะวะห์ บรรยายธรรม ห่างไกลยาเสพติด
    จำนวนผุู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 54 คน จากตัวแทนเยาวชน ในพื้นที่ตำบลรูสะมิแล และได้มีผู้นำหมุ่บ้านและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาลตำบลรูสะมิแล และ ภาคประชาสังคม ที่ได้ให้ความสนใจและร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อดึงศักยภาพเยาวชนให้ได้มากที่สุด นอกจากนี้ ยังได้รับเกียรติจาก ท่าน ดร.ซุกรี หะยีสาแม อดีตคณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มอ.ปัตตานี ที่ได้มาเพิ่มพลังให้กับเยาวชน บทบาทเยาวชนต่อการพัฒนาชุมชน ซึ่งจะเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญที่จะแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ซึ่งจากการแลกเปลี่ยนถอดบทเรียน เยาวชนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม ได้เห็นถึงศักยภาพเยาวชนที่จะเป็นแกนนำเยาวชนในการร่วมขับเคลื่อนแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ซึ่งเห็นได้จากการให้เครื่องมือในการพัฒนาชุมชน ได้แก่ 1) การจัดทำแผนที่เดินดิน และกำหนดจุดสำคัญประเด็นนสำคัญที่เยาวชนสนใจ เพื่อให้รู้ว่า จุดไหนของหมู่บัานที่จะต้องเน้นในการแก้ไขปัญหา เช่น จุดไหนบ้างที่เยาวชนติดยาเสพติด จุดไหนบ้างที่เยาวชนขาดการศึกษา เป็นต้น 2) การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน สภาพการณ์ ทุน/ศักยภาพ ปัญหา/ผลกระทบ การจัดการที่ผ่าน เยาวชนผู้เข้าร่วมมีความตั้งใจและได้สะท้อนปัญหาได้ดี จากการแลกเปลี่ยนในกิจกรรม เยาวชนบอกว่าไม่เคยมีพื้นที่แสดงความคิดเห็นแบบนี้มาก่อน เมื่อมีแล้วก็จะเป็นพื้นที่ฝึกประสบการณ์ได้
  2. คณะทำงานได้กำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไปหลังจากนี้ คือ เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด
    วัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อให้ผุ้นำและผู้ปกครอง ได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ 2)เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ 3)เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ สถานที่จัดกิจกรรม คือ ห้องประชุม มัสยิดนูรถลซะอาดะห์ รูสะมิแล ระยะเวลาดำเนินการ คือ 1 วัน (วันเสาร์ ที่ 16 กันยายน 66 ) กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้นำหมู่บ้าน คือ ทีมงานผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 8 คน ทีมงานคณะกรรมการมัสยิด จำนวน 15 คน ทีมงาน อสม. จำนวน 16 คน ทีมงานกรรมการโรงเรียนตาดีการุสะมิแล จำนวน 2 คน ทีมงานเยาวชน จำนวน 5 คน ตัวแทนผู้ปกครอง จำนวน 10 คน ตัวแทนกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่ จำนวน 3 คน ตัวแทนโรงเรียนในพื้นที่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จำนวน 1 คน โรงเรียนบ้านรูสะมิแล จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 61 คน กระบวนการจัดกิจกรรม คือ 1) นำเสนอสถานการณ์เด็กและเยาวชนในพื้นที่ 2) แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยน สร้างกลไกปกป้องคุ้มครอง 3) นำเสนอรูปแบบกลไกของแต่ละกลุ่ม 4) สรุปกลไกปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน บ้านรูสะมิแล
  3. กิจกรรมที่จะดำเนินการหลังจาก เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด คือ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3/2566 และดำเนินกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเชิงปฎิบัติการนอกสถานที่และเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้

 

15 0

8. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินเปิดบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงินเปิดบัญชี

 

0 0

9. ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 11 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. แนะนำเพื่อน 1 คน โดยฟรีเซ็น ข้อดี ขอเพื่อน ว่าเพื่อนมีอะไรดี
  2. นำเสนอการดำเนินงานที่ผ่านมา
  3. ประเมินกิจกรรมตามบันไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รู้จักข้อดีของคณะทำงาน
  2. รู้สึกภูมิใจที่เพื่อนได้นำเสนอข้อดีของตัวเอง รู้สึกดีมากๆ เป็นพลังบวกในการทำงาน
  3. ทำรู้ว่า การดำเนินกิจกรรมของเรานั้น เป็นไปตามขั้นบันไดผลลัพธ์หรือไม่ จะได้ไม่ลงประเด็นการทำงาน

 

5 0

10. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด

วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมการ 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ประสานสถานที่ประชุม
2. ทำหน้งสือเชิญวิทยากร การดำเนินงาน 1. หลังจากลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม ถึงเวลาเปิดพิธี ได้มีการกล่าวรายงาน โดย นายซันนูซี อุเส้น เลขานุการโครงการ และได้รับเกียรติจากท่านนายกเทศบาลตำบลรูสะมิแล กล่าวเปิดพิธี จากนั้น ได้เข้าสู้กระบวนการ ละลายพฤติกรรม สันทนาการ กิจกรรมความคาดหวังของผู้เข้าร่วม และกิจกรรมภาพวาดตัวแทน และได้นำเสนอในกลุ่มใหญ่  จากนั้น ได้รับเกียรติจาก ดร.ชุกรี หะยีสาแม อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มอ.ปัตตานี มาพบปะพูดคุย ให้แรงบันดาลใจกับเด็กเยาวชน บทบาทเยาวชนต่อการพัฒนาเปลี่ยนแปลงหมู่บ้าน ในช่วงบ่าย เข้าสู่กิจกรรมรู้เท่าทันโทษภัยยาเสพติด โดยมีวิทยากร 2 ท่าน คือ นายซอและ มะสอลา จากสมาคมอาสาสร้างสุข และ นายลุกมาน กูนา จากมูลนิธิสร้างสุขมุสลิมไทย สสม. ในการให้ความรู้เรื่องยาเสพติด และจุดกำหนดของยาเสพติด คือ บุหรี่ ซึ่งนอกจากเยวาชนแล้ว เรายังเชิญผุู้นำหมู่บ้านมาร่วมกิจกรรมด้วย และหลังจากอบรมให้ความรู้แล้ว เด็กเยาวชนมีลงพื้นที่เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านตามบ้านเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กเยาวชนเกิดพลังศรัทธา รู้คุ้นค่าของตัวเอง ที่มีต่อครอบครัว ต่อชุมชน
  2. ได้รับรู้ถึงโทษภัยยาเสพติด สารตั้งต้น คือ บุหรี่
  3. ได้สานสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับเยาวชน
  4. สามารถเผยแพร่องค์ความรู้ หรือส่งต่อข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชาวบ้าน

 

40 0

11. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 3/4

วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เริ่มประชุม 09.00 น. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - ไม่มี ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม 2.1 รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 4 กันยายน 2566 มติประชุม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณา ระดมความคิดเห็น อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด มติที่ประชุม
4.2 พิจารณา วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่อไป คือ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่และเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ มติที่ประชุม
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี) เลิกประชุม 12.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับรู้ถึงผลการดำเนินงานกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด ปัญหาอุปสรรค์ ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป
  2. ได้วางแผนการดำเนินกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่และเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้

 

15 0

12. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 1 (อบรมเวีทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์ดครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

8.30 - 9.00 ลงทะเบียน 9.00 - 9.30 พิธีเปิด 9.30 - 10.30 เวทีเสวนา ตัวแทนกลุ่มรับทุน 10.30 - 12.30 แบ่งกลุ่มทบทวน เรื่อง การเงิน การคีย์ข้อมูลเข้าระบบ และบันไดผลลัพธ์ 12.30 - 13.30 พักรับประทานอาหาร 13.30 - 16.00 แบ่งกลุ่มทบทวน เรื่อง การเงิน การคีย์ข้อมูลเข้าระบบ และบันไดผลลัพธ์ (ต่อ) 16.00 - 17.30 ผู้เข้าร่วมอบรมร่วมแลกเปลี่ยน และสรุปความเชื่อมโยง (กลไกการบิรหารแผนงานร่วมทุน / กลไกพี่เลี้ยง / โครงการย่อย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เรียนรู้เกี่ยวกับบันไดผลลัพธ์
  2. เรียนรู้เกี่ยวกับระบบและการคีย์ข้อมูล
  3. เรียนรู้เกี่ยวกับการเงิน การทำเอกสารการเงิน

 

3 0

13. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้

วันที่ 8 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 06.30 น. ผู้เข้าร่วมพร้อมจุดนัดหมาย เวลา 06.30 – 06.45 น. พี่เลี้ยงโครงการ พบปะ ผู้เข้าร่วมโครงการ เวลา 06.45 – 09.45 น. ถึง สถานที่อบรมฯ ณ.ที่ว่าการอำเภอท่าแพ เวลา 09.45 – 10.15 น. สภาเด็กและเยาวชนอำเภอท่าแพ กล่าวตอนรับ นายมูฮัมหมัด ดือราโอะ รองนายกเทศมนตรีตำบลรูสะมิแล/ผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวเปิดพิธี เวทีแลกเปลี่ยน มอบของที่ระลึก / รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.15 – 12.30 น. บรรยาย “การขับเคลื่อนงานสภาเด็กและเยาวชนอำเภอท่าแพ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด” โดย นายยูนัยนัน อินตาฝา ประธานสภาเด็กและเยาวชนอำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เวลา 12.30 – 13.15 น. พัก รับประทานอาหารเที่ยง เวลา 13.15 – 14.00 น. เวทีแลกเปลี่ยนการทำงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนอำเภอท่าแพ และ สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลรูสะมิแล ดำเนินวเวที โดย นายยูนัยนัน อินตาฝา ประธานสภาเด็กและเยาวชนอำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล เวลา 14.00 – 16.00 น. เดินทางรับชมการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ระหว่าง ตรัง เอฟซี กับ ปัตตานี เอฟซี เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับเด็กเยาวชน เวลา 16.00 – 18.00 น. รับชมการแข่งขันฟุตบอล เวลา 18.00 – 22.00 น. รับประทานอาหารเย็น / เดินทางกลับภูมิลำเนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้เรีนยรู้ทักษะการใช้ชีวิตนอกพื้นที่ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต การเอาชีวิตรอด การพึ่งพาซึ่งกันและกัน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
  2. ได้แลกเปลี่ยนการทำงานระหว่างเด็กและเยาวชน ได้เห็นถึงความต่าง แนวทางการขับเคลื่อน ปัญหาอุปสรรค์ เพื่อปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่
  3. ได้เรียนรู้แนวทางการดำเนินงานของเด็กเยาวชนท่าแพ ต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กและเยาวชน โดยการทำกิจกรรมจิตอาสา บำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนร่วมในชุมชน เป็นการสร้างพื้นที่ให้เด็กและเยาวชนได้มีกิจกรรมทำ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไม่มั่วสุ่มยุ่งเกียวกับยาเสพติด
  4. เด็กและเยาวชนได้แรงบันดาลใจ เพื่อกระตุ้นการฝึกซ้อมกีฬาฟุตบอลสู่ฟุตบอลอาชีพ การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติดและรักษ์สุขภาพ

 

40 0

14. ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 4/4

วันที่ 14 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - ไม่มี ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม - รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 23 กันยายน 2566 มติประชุม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่และเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณา ระดมความคิดเห็น เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่และเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ มติที่ประชุม
4.2 พิจารณา วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่อไป คือ เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด มติที่ประชุม
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. รับรู้ผลการดำเนินงานกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการนอกสถานที่และเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ รู้ถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา
  2. มีแผนงานดำเนินงานกิจกรรมต่อไป คือ กิจกรรมเวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด

 

15 0

15. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน เวลา 09.00 – 10.00 น. ประธานกล่าวตอนรับ
1.1 ชมรมฟุตบอลตำบลรูสมะมิแล ได้รับการสนับสนุนโครงการฯ จากแผนงานร่วมทุน อบจ.ปัตตานี 1.2 ประกาศคำสั่งแต่งตั้งคณะบริหาร/บทบาทหน้าที่คณะกรรมการฯ 1.3 ทำความเข้าใจโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ และรายละเอียดกิจกรรม เวลา 10.00 – 10.15 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.15 – 12.00 น. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น “สะท้อนถึงปัญหายาเสพติดในชุมชน” เวลา 12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง / ปฏิบัติศาสนกิจ เวลา 13.30 – 14.30 น. สร้างกลไกเฝ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้นำและหัวหน้าครอบครัว รู้และเข้าใจความเป็นมาของโครงการ
  2. ได้รู้สาเหตุของปัญหายาเสพติดในพื้นที่ และแนวทางการแก้ไขเบื้องต้น
  3. ได้กลไกขับเคลื่อนปกป้องคุ้มครองเด็กห่างไกลยาเสพติด (1) กลไกสภาเด็กและเยาวชน (2) กลไกระดับโซน (3) กลไกระดับหมู่บ้าน

 

40 0

16. ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยมีบันไดผลลัพธ์ เป็นเครื่องมือตรวจสอบ

 

5 0

17. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 2

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-9.00 น. ลงทะเบียน/จัดบูธนิทรรศการ 9.00-9.30 เวทีเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อย โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และนายมุคตาร วายา ผู้ช่วยวิทยากร 9.30-10.00 พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรีนยรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/2567 โดยนายกเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายก อบจ. (ประธานกรรมการบริหารแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) กล่าวรายงาน โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข 10.00-10.30 น. ช่วงที่ 1 ชมนิทรรศการของโครงการที่ได้รับการสนับสนุน 10.30-10.40 น. รับประทานอาหารว่าง 10.40-12.00 น. ช่วงที่ 2 ในหัวข้อ "ทบทวนการดำเนินงานโครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากแผนงานร่วมทุน โดยมีประเด็นสำคัญ ดังนี้
-ประเด็นการดำเนินงาน (จำนวน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย) -ผลลัพธ์ตามบันได ในแต่ละประเด็น -แกนนำสร้างเสริมสุขภาพในแต่ละพื้นที่ -สรุปปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นพร้อมต้นหาความเสี่ยงต่อการล้มเหลวของโดรงการย่อย และข้อเสนอแนะ -การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของแต่ละพื้นที่ โดยนายสุวิทย์ หมาดอะดำ วิทยากร และนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร 12.00-13.00 รับประทานอาหารเที่ยง 13.00-15.00 น.ช่วงที่ 3 "คุณค่าและเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนทุนจากแผนงานร่วมทุนฯ" 2.1 แบ่งกลุ่มย่อย ตามประเด็นโครงการย่อย เพื่อพูดคุยถึงคุณค่าและเป้าหมาย โดยสุวิทย์ หมาดอะดำ วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา กลุ่มที่ 2 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรื่อง กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราชัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนการ กลุ่มที่ 8 นางสาวจูฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 น.ส.นุชรัตน์ นวลดี กลุ่มที่ 12 นางสาวไซนับ อาลี 2.2 ตัวแทนแต่ละประเด็นนำเสนอผลการพูดคุย (วงใหญ่ 40 นาที) 15.00-15.10 น. รับประทานอาหารว่าง 15.10-16.30 น. ช่วงที่ 4 กิจกรรม World Cafe แลกเปลี่ยนวงใหญ่ ตัวแทนแต่ละประเด็นนำเสนอผลการพูดคุย เสวนารายประเด็น โดยสุวิทย์ หมาดอะดำ วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของโครงการ กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากแผนงานร่วมทุนฯและให้ข้อเสนอแนะการดำเนินโครงการในประเด็นที่เป็นปัญหาอุปสรรค และเงือนไขข้อจำกัด เพื่อนำไปปรับปรุงการดำเนินงานในปีต่อไป

 

5 0

18. ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 20 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดความก้าวหน้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจสอบกิจกรรมโครงการ โดยบันไดผลลัพธ์

 

5 0

19. สรุปและถอดบทเรียน

วันที่ 21 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - การจดแจ้งองค์กรสาธารณะประโยชน์ “กลุ่มดอกสนรักษ์ถิ่น” ต่อ พมจ.ปัตตานี
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม - รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 4/2566 วันที่ 14 ตุลาคม 2566 มติประชุม
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานภาพรวมการดำเนินงานโครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด ได้รับการสนับสนุนจาก แผนร่วมทุน อบจ./สสส. ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณา ระดมความคิดเห็น การดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค แนวทางการแก้ไข โครงการ มติที่ประชุม
4.2 พิจารณาระดมความคิดเห็น ผลการดำเนินงานกิจกรรมชมรมฟุตบอลเทศบาลตำบลรูสะมิแล ปี 66 มติที่ประชุม
4.3 พิจารณา แผนงานดำเนินงาน ปี 2567 มติที่ประชุม
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้พบปะระหว่างคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย เพื่อถอดบทเรียน
  2. รุ้ปัญหาอุปสรรค์ ในการดำเนินงาน และมีแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อดำเนินการต่อยอดในอนาคต
  3. ได้แผนงาน เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมเยาวชนในพื้นที่ ในปี 67

 

15 0

20. ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 23 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานทุกกิจกรรมของโครงการ ตามบันไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจเช็คกิจกรรมเป็นไปตามบันไดผลลัพธ์

 

5 0

21. ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยยาเสพติด และเกิดกลไกเผ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้ห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้นำชุมชนและผู้ปกครอง ตระหนักถึงปัญหายาเสพติด มีกลไกเฝ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด 1.2 เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและรู้เท่าทันภัยยาเสพติด 1.3 เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด
1.00

 

2 2.เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนได้แสดงความสามารถตามกิจกรรมที่สนใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2.1 เด็กเข้าร่วมกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์จำนวน 2 กิจกรรมต่อปี (กิจกรรมฝึกทักษะการเล่นฟุตบอลและการดะวะห์เด็ก) 2.2 เด็กจำนวน 40 คน มีศักยภาพด้านกีฬา
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครอบครัวเด็กเยาวชน 40
เด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยยาเสพติด และเกิดกลไกเผ้าระวังปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้ห่างไกลยาเสพติด (2) 2.เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนได้แสดงความสามารถตามกิจกรรมที่สนใจ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และห่างไกลยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนบริหารจัดการ (2) ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง (3) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม จำนวน 4 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 6 ฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล (5) กิจกรรมที่ 2 เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด (6) กิจกรรมที่ 5 ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด (7) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด (8) กิจกรรมที่ 4 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เขิงปฏิบัติการและเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ (9) กิจกรรมที่ 7 สรุปและถอดบทเรียน (10) ถอนเงินดอกเบี้ยคืนให้แผนงานร่วมทุนฯ (11) ถอนเงินเปิดบัญชี (12) ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ (13) อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผุ้รับทุน (14) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ครั้งที่ 1/4 (15) ฝึกทักษะกีฬาฟุตบอล (16) ดะวะห์เด็ก อบรมจริยธรรม ต้านภัยยาเสพติด (17) ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 2/4 (18) ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง (19) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยยาเสพติด (20) ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 3/4 (21) ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 1 (อบรมเวีทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์ดครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 (22) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้ (23) ประชุมเตรียมความพร้อมเวทีประชาคทำความเข้าใจโคงการ 4/4 (24) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงปัญหายาเสพติด (25) ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง (26) ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้ร่วมทุน ครั้งที่ 2 (27) สรุปและถอดบทเรียน (28) ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง (29) ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง (30) ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ปัญหาเรื่องความพร้อมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ในแต่ละกิจกรรม
  2. ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องได้
  1. เนื่องจากเวลาไม่ตรงกัน เด็กมีภาระหน้าที่ เรียน หรือทำงาน ทำให้มีปัญหาเรื่องนัดหมายวันเวลาในการดำเนินการ
  2. งบประมาณจำกัด
  1. ปรับเปลี่ยนช่วงเวลาให้พร้อมกัน และพยายามนัดหมายที่ตรงกับวันหยุด หรือผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่พร้อม
  2. บูรณาการแผนและงบประมาณกับหน่วยงานที่เกี่ย้องทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ เพื่อต่อเนื่องของกิจกรรม ในการพื้นที่สร้างสรค์ ปลอดภัยใกักับเด็กเยาวชน ให้ห่างไกลยาเสพติด

โครงการเด็กวัยใส ร่างกายแข็งแรง ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัด ดือราโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด