directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง ”

ตำบลพ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ไลลา ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง

ที่อยู่ ตำบลพ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในชุมชน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ หรือบริการสุขภาพไม่ได้รับมาตรฐาน อาจทำให้ผู้บริโภคมีผลกระทบต่อสุขภาพหรือเสียชีวิตได้ เนื่องจากเป็นร้านค้าที่เข้าถึงชุมชนอยู่ภายในหมู่บ้าน ชาวบ้านมีความสะดวกในการจับจ่ายและซื้อสินค้ามากที่สุด อีกทั้งเป็นร้านที่มีสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา อาหาร เครื่องสำอาง บุหรี่และแอลกอฮอล์ ในปี งบประมาณ 2565 การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในพื้นที่ตำบลพ่อมิ่งมีร้านชำที่จำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอางจำนวน 32 ร้าน พบว่ามีการจำหน่ายผลิตเครื่องสำอางที่ฉลากถูกต้อง ร้อยละ 93.75 ฉลากไม่ถูกต้อง ร้อยละ 6.25 ร้านชำที่นำยามิใช่ยาสามัญประจำบ้านมาจำหน่ายให้แก่คนในชุมชน    ร้อยละ 19 ของจำนวน 32 ร้าน และพบว่ามีการขายยาอันตรายภายในร้านชำ ได้แก่ ยาชุด ยาที่กฎหมายทางคุ้มครองห้ามขาย  ยาไม่มีเลขทะเบียน ร้อยละ 9.37 ยังพบมีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศห้ามขาย ปัญหาหลักคือผู้ประกอบการยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับยาอันตรายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค เช่นพระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติการสาธารณสุข ตลอดจนไม่ทราบผลข้างเคียงหรืออันตรายที่เกิดจากการใช้ยาในทางที่ผิดรูปแบบในการแก้ปัญหาและการดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคที่ผ่านมา มุ่งเน้นการให้คำแนะนำและ    ให้ความรู้เบื้องต้นแต่ประชาชนในพื้นที่เป็นสำคัญ แต่ยังพบว่าไม่สามารถแก้ปัญหาหรือลดการใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชนได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคในตำบลพ่อมิ่ง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคและแก้ไขปัญหายาในชุมชนในตำบลพ่อมิ่ง เพื่อให้สอดคล้องการแก้ไขปัญหายา    ในชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและเพื่อให้คนในชุมชนมีศักยภาพและสามารถจัดการเรื่องยาได้      อย่างสมเหตุสมผลและเกิดความปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. คณะทำงานที่มีความพร้อมในการขับเคลื่อนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  2. ประชาชนตำบลพ่อมิ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
  3. เกิดกลไกสนับสนุนการติดตามเฝ้าระวัง
  4. ประชาชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร ยาและเครื่องสำอาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. งบสนับสนุนบริหารจัดการ
  3. ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง
  4. ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ
  5. เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง
  6. เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  7. อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
  8. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง
  9. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย
  10. รณรงค์ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  11. ประชุทวางแผนการลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย
  12. การติดตาม 4 กลุ่มเป้าหมาย(จำนวน 3 ครั้ง)
  13. จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย
  14. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล
  15. จ่ายดอกเบีียคืนกองคลัง
  16. ถอนเงินเปิดบัญชี
  17. เปิดบัญชีกรุงไทย
  18. ARE ครั้งที่ 1 คลีแผนงานโครงการฯ เพื่อติดตามการเรียนรู้และพัฒนา
  19. เวทีปฐมนิเทศน์และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน
  20. จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ
  21. ค่าจัดป้ายบันไดผลลัพธ์
  22. ARE ครั้งที่ 2 ติดตามผลลัพธ์
  23. ประชุมทำความเข้าใจเอกสารการเงินกับพี่เลี้ยง
  24. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  25. ค่าตราปั้มหมึกในตัว
  26. ชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
  27. เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง
  28. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  29. เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  30. ให้ความรู้ผู้ประกอบการ
  31. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  32. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย
  33. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง
  34. ประชุมแลก การติดตามผลลัพธ์
  35. เบิกเงินสนับสนุนงวงที่1
  36. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้รับทุนครั้งที่ 1
  37. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  38. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์
  39. ประชุมวางแผนลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย
  40. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD) ครั้งที่ 1
  41. ARE ครั้งที่ 3 หน่วยจัดการแผนร่วมทุน ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการ
  42. จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย
  43. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5
  44. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 2
  45. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล
  46. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 3
  47. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6
  48. ค่าไวนิลเแสดงโครงการ พร้อมขาตั้ง
  49. เบิกเงินสนับสนุนครั้งที่2
  50. ค่าเดินทางไปนำเสนอโครงการ
  51. ARE ครั้งที่ 4 สรุปผลงานการดำเนินงาน
  52. ค่าพาหะนะเดินทางพบกองเลขาตรวจเอกสารรายงาน
  53. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ประชาชนในชุมชน 50
แกนนำชุมชน..นักเรียน 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการ
    1.1 ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคมากกว่าเดิม 1.2 แกนนำชุมชนจับจ่ายใช้สอยอย่างปลอดภัยและใช้ยาสมเหตุสมผล 1.3 นักเรียนที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
  2. เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
    จะมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลสุขภาพของกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งเป้าหมายคือให้ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เข้าถึงได้อย่างปลอดภัย
  3. ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการและชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้ อย่างไร แนวทางดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่องต่อไป เมื่อสิ้นสุดโครงการดังนี้
  4. สร้างแกนนำนักเรียนให้เกิดความขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภค มุ่งให้เกิดประโยขน์ต่อโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน
  5. ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหาร สามารถเลือกและพิจารณาผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
  6. ทำให้เกิดโรคจากการรับประทานอาหารลดลง เกิดภาวะสุขภาวะที่ดีขึ้น ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เปิดบัญชีกรุงไทย

วันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าเดินทางเปิดบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ไป กลับ 376 รถยนต์ 1 คัน 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงในวันเปิดบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี 3 คนคนละ 120 บาท = 360 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีบัญชีธนาคารกรุงไทย 1 ฉบับ

 

3 0

2. จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลโครงการและป้ายปลอดบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายไวนิลโครงการและป้ายปลอดบุหรี่

 

0 0

3. ARE ครั้งที่ 1 คลีแผนงานโครงการฯ เพื่อติดตามการเรียนรู้และพัฒนา

วันที่ 5 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ ประธานโครงการและฝ่ายการเงิน นัดประชุมคลี่แผนงานโครงการเพื่อติดตามการเรียนรู้และการพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแผนงานโครงการที่ชัดเจน

 

3 0

4. เวทีปฐมนิเทศน์และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน วันที่ 6 มิถุนายน 2566 พิธีเปิดการอบรมและชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี(ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี)และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิโสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ “การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน”โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิโสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ “การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน”(ต่อ)โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิโสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ”การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย”โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากรและแบ่งกลุ่มฝึกปฎิบัติ”การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์”โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร วันที่ 7 มิถุนายน 2566 รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ”การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงินและรายงานผลการดำเนินงาน”โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร-รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในหัวข้อ”การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงินและรายงานผลการดำเนินงาน”และถามตอบเกี่ยวกับการเงินโดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร รับฟังการบรรยายในหัวข้อ”การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม”และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติโดยนางกัลยา เอี่ยวสกุลและทีมผู้ช่วยวิทยากร -แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ”การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม”(ต่อ)โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานโครงการ จำนวน 3 คนได้วางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมตามโครงการย่อย 2.คณะทำงานโครงการ จำนวน 3 คนได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องการบันทึกโครงการที่ถูกต้องและการเบิกจ่ายถูกต้องตรงตามกฎหมายกำหนด

 

3 0

5. ค่าจัดป้ายบันไดผลลัพธ์

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์

 

0 0

6. ชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงโครงการ ประชาสัมพัธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ ชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจโครงการ

 

100 0

7. เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คณะทำงานออกแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล
  2. คณะทำงานลงพื้นที่ เก็บข้อมูล
  3. สรุป/วิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล -เกิดการจัดทำแผนและมีแผนการดำเนินการ 1 แผน -ทะเบียนข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ

 

15 0

8. เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง

วันที่ 13 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมเตรียมความพร้อมในการประสานผู้เข้าร่วมกลุ่มเป้าหมาย
  2. จัดทำแผนในการจัดเวทีในการคืนข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  3. คณะทำงานดำเนินการตามแผนคืนข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการประสานผู้เข้าร่วมกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คนในการเข้าร่วมการอบรม 2.มีจัดเวทีในการคืนข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  2. คณะทำงานดำเนินการตามแผนคืนข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยา และเครื่องสำอาง

 

15 0

9. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

26 มิถุนายน 2566 การประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เริ่มต้นด้วยการ ผอ.รพสต.พ่อมิ่ง ซึ่งเป็นประธานโครงการในครั้งนี้ กล่าวเปิดประชุม กล่าวตอนรับผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนพร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุมในวันนี้เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ จัดตั้งคณะทำงาน และแบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงาน จากนั้นมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการได้อธิบายเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ รายละเอียดกิจกรรมของโครงการ งบประมาณในการดำเนินงาน และทำความเข้าใจเกี่ยวกับบันไดผลลัพธ์ของโครงการพร้อมกัน และได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 15 คน โดยแบ่งบทบาทหน้าที่ดังต่อไปนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดขณะทำงานที่มาจากแกนนำชุมชน เครือข่ายในชุมชน 15 คน และมีการแบ่งบทบาทชัดเจน 2.เกิดความรู้ความเข้าใจของโครงการและแผนการดำเนินการ 3.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องบันไดผลลัพธ์

 

15 0

10. ARE ครั้งที่ 2 ติดตามผลลัพธ์

วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงมาติดตามความคืบหน้าของโครงการฯ ประชุมสรุปความก้าวหน้าในการทำตามแผน เสนอปัญหาที่พบและร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆกับพี้เลี้ยงผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงมาติดตามความคืบหน้าของโครงการฯ ประชุมสรุปความก้าวหน้าในการทำตามแผน เสนอปัญหาที่พบและร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆกับพี้เลี้ยงผลลัพธ์

 

15 0

11. ให้ความรู้ผู้ประกอบการ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 18 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง
เช้าเวลา 9.00 น.ผู้ประกอบการลงทะเบียนเข้าร่วมการอบรมในวันนี้ จากนั้นประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนพร้อมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการในวันนี้ แนะนำวิทยากรและมอบให้ นางสาวอามานี เบ็ญอิสมายล์ เภสัชกรชำนาญการจากโรงพยาบาลปะนาเระซึ่งเป็นวิทยากรในวันนี้ากบรรยายในหัวข้อ "อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางและกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค"
บ่าย เวลา 13.00น.แบ่งกลุ่มเป็น 4 ฐาน ด้านที่1 ทดลองอาหาร สาธิตสาเคมีปนเปื้อนในอาหาร ด้านที่ 2 ทดลอง เครื่องสำอาง ด้านที่ 3 เรื่องยา ยาที่สามารถขายในร้าน และโทษของยาอันตรายและยาชุด ด้านที่ 4 กฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค นางสาวอามานี เบ็ญอิสมายล์ เภสัชกรชำนาญการจากโรงพยาบาลปะนาเระเป็นวิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร มีการจัดเวทีผู้ประกอบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เล่าประสบการณ์ สะท้อนปัญหาในพื้นที่ด้านงานคุ้มครองผู้บริโภคและลงเยี่ยมสำรวจมีการแจกโปสเตอร์และป้ายประกาศ กฎหมายด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้ติดหน้าร้าน พร้อมให้เกียรติบัตร โดยทีมงานด้านคุ้มครองผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบการมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการ
  2. มีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
  3. ผู้ประกอบการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เล่าประสบการณ์ สะท้อนปัญหาในพื้นที่ด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
  4. มีการแจกโปสเตอร์และป้ายประกาศ กฎหมายด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้ติดหน้าร้าน
  5. ทีมงานด้านคุ้มครองผู้บริโภค ลงเยี่ยมพร้อมตรวจสอบร้านชำ เพื่อตรวจสอบยา อาหาร เครื่องสำอาง มีฉลากยาถูกต้องหรือไม่ และยาชุด ยาอันตราย ยามิใช่ยาสามัญประจำบ้าน ยังมีขายในชุมชนอยู่อีกหรือไม่ พร้อมมอบ  เกียรติบัตรร้านชำที่สามารถปฏิบัติตามข้อบัญญัติด้านคุ้มครองผู้บริโภคได้

 

30 0

12. ประชุมทำความเข้าใจเอกสารการเงินกับพี่เลี้ยง

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และแนะนำเอกสารการเงิน 2.ทดลองปฎิบัติการและจัดทำเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารการเงินที่ต้องใช้ในโครงการมากขึ้น

 

3 0

13. ค่าตราปั้มหมึกในตัว

วันที่ 21 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตราปั๊มหมึกในตัว 2 อัน 1.ตราปั๊มรหัสโครงการ 2.ตราปั๊มโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตราปั๊มหมึกในตัว 2 อัน 1.ตราปั๊มรหัสโครงการ 2.ตราปั๊มโครงการ

 

1 0

14. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทบทวนกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
2.แบ่งบทบาทหน้าที่ในการอบรม 3.ทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการเข้าร่วมอบรม 4.จัดหาวิทยากรในการอบรมและทำหนังสือเชิญวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานมีความเข้าใจในกิจกรรมที่จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 2.คณะทำงานมีบทบาทหน้าที่ในการอบรม 3.มีกลุ่มเป้าหมายในการอบรม 4.มีวิทยากรในการอบรม

 

15 0

15. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและรับฟังปัญหา ร่วมกันแก้ไขปัญหาในการประชุมประจำเดือน 1.สรุปกิจกรรมผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็น อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สรุปกิจกรรมผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็น อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพร้อยละ 100 2.แผนกิจกรรมในครั้งต่อไป

 

15 0

16. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย

วันที่ 21 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 21 กันยายน 2566 ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพ่อมิ่ง เช้าเวลา 9.00 น.ผู้เข้าร่วมโครงการลงทะเบียน 09.30น ความรู้เรื่อง ยา ยาชุด ยาอันตราย 11.00น การเลือกใช้ยาที่ปลอดภัย 12.00น รับประทานอาหารกลางวัน 13.00น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประเด็นโรคที่เกิดจากการใช้ยาไม่ถูกต้อง
ผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร 16.00น ซักถามประเด็นปัญหา


หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ และเวลารับประทานอาหารว่าง 10.40น และ14.30น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำชุมชนและผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาร้อยละ 100

 

30 0

17. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เช้าเวลา 9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ จากนั้นประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนพร้อมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการในวันนี้ แนะนำวิทยากรและมอบให้ นางสาวอามานี เบ็ญอิสมายล์ เภสัชกรชำนาญการจากโรงพยาบาลปะนาเระซึ่งเป็นวิทยากรในวันนี้บรรยายในหัวข้อ "ให้ความรู้ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอางและกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค"
บ่าย เวลา 13.00น.แบ่งกลุ่มเป็น 4 ฐาน ด้านที่1 ทดลองอาหาร สาธิตสาเคมีปนเปื้อนในอาหาร ด้านที่ 2 ทดลอง เครื่องสำอาง ด้านที่ 3 เรื่องยา ยาที่สามารถขายในร้าน และโทษของยาอันตรายและยาชุด ด้านที่ 4 กฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค นางสาวอามานี เบ็ญอิสมายล์ เภสัชกรชำนาญการจากโรงพยาบาลปะนาเระเป็นวิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร
บ่ายเวลา 13.00 น. สำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนและมีการประกวดภาพวาดร้านในฝันที่เราอยากมีในชุมชนของนักเรียน โดยทีมงานด้านคุ้มครองผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ร้อยละ100

 

50 0

18. ประชุมแลก การติดตามผลลัพธ์

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำเสนอผผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์

 

2 0

19. เบิกเงินสนับสนุนงวงที่1

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานเดินทางไปยังธนาคารกรุงไทยสาขาบิ๊กซีปัตตานี จำนวน 2 ราย 1.ค่าเดินทางเบิกเงินในบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี ไป กลับ  รถยนต์ 1 คัน 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงในวันเบิกเงินบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี  คน 2 คนละ 120 บาท = 240 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ค่าเดินทางเบิกเงินในบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี ไป กลับ  รถยนต์ 1 คัน 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงในวันเบิกเงินบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี  คน 2 คนละ 120 บาท = 240 บาท 3.เบิกเงินงวดแรกจำนวน 52,600 บาท

 

2 0

20. ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้รับทุนครั้งที่ 1

วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.พิธีเปิดการอบรมพร้อมชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดอบรม โดยนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 2.เข้าสู่เนื้อหารการอบรมโดยแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ทบทวนการดำเนินงานแผนงานร่วมทุน
ช่วงที่ 2 ประเมินผลการดำเนินงาน 3 มิติ โดยแบ่งกลุ่มตามโครงการย่อยเพื่อประเมินผลการดำเนินงานใน 3 มิติ ได้แก่ 1.กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน 2.กลไกพี่เลี้ยง 3.ผลลัพธ์โครงการย่อย โดยให้นำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์การจัดอบรม
2.เข้าสู่เนื้อหารการอบรมโดยแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ทบทวนการดำเนินงานแผนงานร่วมทุน
ช่วงที่ 2 ประเมินผลการดำเนินงาน 3 มิติ โดยแบ่งกลุ่มตามโครงการย่อยเพื่อประเมินผลการดำเนินงานใน 3 มิติ ได้แก่ 1.กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน 2.กลไกพี่เลี้ยง 3.ผลลัพธ์โครงการย่อย โดยให้นำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย

 

3 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 4 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและรับฟังปัญหาร่วมกันแก้ไขในการประชุมประจำเดือน -สรุปกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องงานการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา เครื่องสำอางและกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค -วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและรับฟังปัญหาร่วมกันแก้ไขในการประชุมประจำเดือน -สรุปกิจกรรมผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องงานการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพร้อยละ 100

 

15 0

22. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์

วันที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีกิจกรรมร่วมการเดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ แจกแผนพับ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างกระแสให้ประชาชนได้ทราบ

 

20 0

23. ประชุมวางแผนลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในการติดตามการใช้ยาปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแผนการติดตามลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเพื่อติดตามการใช้ยา 1 แผน

 

15 0

24. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD) ครั้งที่ 1

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงาน ประสานกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมกิจกรรมตามวันและเวลาที่คณะทำงานกำหนดไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแผนสรุปผลการลงเยี่ยมบ้านครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจการใช้ยาปลอดภัย

 

15 0

25. ARE ครั้งที่ 3 หน่วยจัดการแผนร่วมทุน ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการ

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามผลลัพธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงติดตามผลการดำเนินโครงการ

 

15 0

26. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 2

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ติดตามผลการดำเนินงานจากครั้งที่ 1 และแก้ปัญหาที่เกิดจากครั้งที่ 1 2.ทำแผนลงเยี่ยมครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลที่ได้รับการแก้ไขปัญหาจากครั้งที่ 1 2.มีแผนลงเยี่ยมครั้งที่ 2

 

15 0

27. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

วันที่ 6 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมประจำเดือน เพื่อชี้แจงปัญหาและร่วมกันแก้ไขปัญหา 1.สรุปรายงานผลการดำเนินงานบันไดขั้นที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ผลสรุปการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 3

 

15 0

28. จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย

วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรูปแบบตลาดนัดอาหาร ยา เครื่องสำอางเพื่อรายงานผลการดำเนินการเริ่มตั้งแต่ก่อนเข้าร่วมโครงการจนถึงสิ้นสุดโครงการ 1.ประเมินร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียนและผู้สูงอายุ 2.มอบประกาศนียบัตร ร้านชำต้นแบบ แกนนำชุมชนต้นแบบ นักเรียนต้นแบบและผู้สูงอายุต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดตลาดนัด 2.เกิดร้านชำต้นแบบ 20 ร้าน

 

50 0

29. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล

วันที่ 12 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง ประเมิน ติดตาม สรุปผลงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สรุปรายงานการดำเนินงาน 2.แผลกจิกรรมต่อไป

 

15 0

30. ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 3

วันที่ 22 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามผลการดำเนินงาน จากครั้งที่ 1 และแก้ปัญหาที่เกิดจากครั้งที่ 2 แผนที่จะลงเยี่ยมครั้งที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลที่ได้รับจากแก้ปัญหาครั้งที่ 2 2.มีแผนลงเยี่ยมครั้งที่ 3 3.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจการใช้ยาปลอดภัย

 

15 0

31. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6

วันที่ 29 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงประเมินติดตามและสรุปผลงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการดำเนินงานแบบสมบูรณ์

 

15 0

32. ค่าไวนิลเแสดงโครงการ พร้อมขาตั้ง

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าไวนิลเแสดงโครงการ พร้อมขาตั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไวนิลแสดงโครงการพร้อมขาตั้ง 1 ชุด

 

0 0

33. เบิกเงินสนับสนุนครั้งที่2

วันที่ 9 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานเดินทางไปยังธนาคารกรุงไทยสาขาบิ๊กซีปัตตานี จำนวน 2 ราย 1.ค่าเดินทางเบิกเงินในบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี ไป กลับ  รถยนต์ 1 คัน 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงในวันเบิกเงินบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี  คน 2 คนละ 120 บาท = 240 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ค่าเดินทางเบิกเงินในบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี ไป กลับ  รถยนต์ 1 คัน 2.ค่าเบี้ยเลี้ยงในวันเบิกเงินบัญชีนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี ปัตตานี  คน 2 คนละ 120 บาท = 240 บาท 3.เบิกเงินสดจำนวน 27,400 บาท

 

2 0

34. ARE ครั้งที่ 4 สรุปผลงานการดำเนินงาน

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินการให้กับพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนิการให้กับพี่เลี้ยง

 

0 0

35. ค่าพาหะนะเดินทางพบกองเลขาตรวจเอกสารรายงาน

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินทางพบพี้เลี้ยงเพื่อส่งรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ให้กับพี่เลี้ยง

 

3 0

36. ค่าเดินทางไปนำเสนอโครงการ

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียนพร้อมจัดบูธนิทรรศการโครงการ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อยโดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร พิธีเปิดการอบรมและชี้แจงวัตถุประสงค์การการจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการติดตามผลลัพธ์ ARE ครั้งที่ 2/2567 โดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี(ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี)และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิโสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข  เยี่ยมชมนิทรรศการให้คำแนะนำข้อเสนอแนะ โดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี(ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) นางสาวมาริสา เกียรติศักดิโสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและผู้รับทุนอื่นๆ  แต่ละโครงการนำเสนอโครงการในหัวข้อทบทวนการดำเนินโครงการที่ขอรับการสนับสนุนทุนจากแผนงานร่วมทุนฯ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร และแต่ละโครงการนำเสนอในหัวข้อคุณค่าและเป้าหมายที่รับสนับสนุนจากแผนงานร่วมทุนฯโดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากรและทีมผู้ช่วยวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดนิทรรศการและนำเสนอผลงานโครงการ 2.มีประเด็นและแนวทางในการดำเนินโครงการปีต่อๆไป

 

4 0

37. จ่ายดอกเบี้ยคืนให้กับแผนงานฯ

วันที่ 24 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายดอกเบี้ยคืนให้กับแผนงานฯ จำนวน 71.90 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จ่ายดอกเบี้ยคืนให้กับแผนงานฯ

 

0 0

38. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนเงินเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ถอดเงินคืนกลับมา

 

0 0

39. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คณะทำงานที่มีความพร้อมในการขับเคลื่อนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดคณะทำงานจากแกนนำชุมชน เครือข่ายในชุมชนอย่างน้อย 15 คน และมีการแบ่งบทบาทที่ชัดเจน 2. มีการเก็บข้อมูลและติดตามประเมินการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอาง 3. มีการจัดทำแผนการดำเนินการ 1 แผน

 

2 ประชาชนตำบลพ่อมิ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องงานการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพร้อยละ 100 2. แกนนำชุมชนและผู้สูงอายุมีความรู้ร้อยละ 100 3. นักเรียนมีความรู้ร้อยละ 100

 

3 เกิดกลไกสนับสนุนการติดตามเฝ้าระวัง
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนการติดตามลงเยี่ยมบ้านผู้สุงอายุเพื่อติดตามการใช้ยา 1 แผน 2. เกิดแกนนำ อาสาสมัครเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยง 20 คน (อาสาตาสับปะรด) 3. ช่องทางการติดตามสื่อสารผ่านไลน์กลุ่ม1 กลุ่ม

 

4 ประชาชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร ยาและเครื่องสำอาง
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอาง 30 คน 2. เกิดร้านชำต้นแบบ 20 ร้านชำ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนในชุมชน 50
แกนนำชุมชน..นักเรียน 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คณะทำงานที่มีความพร้อมในการขับเคลื่อนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (2) ประชาชนตำบลพ่อมิ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (3) เกิดกลไกสนับสนุนการติดตามเฝ้าระวัง (4) ประชาชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร ยาและเครื่องสำอาง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) งบสนับสนุนบริหารจัดการ (3) ARE ร่วมกับพี่เลี้ยง (4) ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ (5) เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง (6) เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง (7) อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (8) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง (9) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย (10) รณรงค์ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง (11) ประชุทวางแผนการลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย (12) การติดตาม 4 กลุ่มเป้าหมาย(จำนวน 3 ครั้ง) (13) จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย (14) แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล (15) จ่ายดอกเบีียคืนกองคลัง (16) ถอนเงินเปิดบัญชี (17) เปิดบัญชีกรุงไทย (18) ARE ครั้งที่ 1 คลีแผนงานโครงการฯ เพื่อติดตามการเรียนรู้และพัฒนา (19) เวทีปฐมนิเทศน์และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (20) จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ (21) ค่าจัดป้ายบันไดผลลัพธ์ (22) ARE ครั้งที่ 2 ติดตามผลลัพธ์ (23) ประชุมทำความเข้าใจเอกสารการเงินกับพี่เลี้ยง (24) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (25) ค่าตราปั้มหมึกในตัว (26) ชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย (27) เก็บข้อมูลร้านชำจำหน่ายอาหาร ยาและ เครื่องสำอาง (28) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (29) เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์อาหาร ยา และเครื่องสำอาง (30) ให้ความรู้ผู้ประกอบการ (31) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (32) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจแกนนำชุมชนและผู้สูงอายุในการใช้ยาไม่ปลอดภัย (33) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ แก่นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยา อาหาร เครื่องสำอาง และกฎหมายด้านการคุ้มครอง (34) ประชุมแลก การติดตามผลลัพธ์ (35) เบิกเงินสนับสนุนงวงที่1 (36) ARE แผนงานร่วมทุนกับผู้รับทุนครั้งที่ 1 (37) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (38) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (39) ประชุมวางแผนลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเรื่องการใช้ยาปลอดภัย (40) ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD) ครั้งที่ 1 (41) ARE ครั้งที่ 3 หน่วยจัดการแผนร่วมทุน ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการ (42) จัดมหกรรมตลาดนัดสุขภาพชาวพ่อมิ่งบริโภคปลอดภัย (43) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (44) ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 2 (45) แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปถอดบทเรียนคืนข้อมูล (46) ลงพื้นที่ติดตามพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ยาและเครื่องสำอางในร้านชำ แกนนำชุมชน นักเรียน ผู้สูงอายุ (NCD)ครั้งที่ 3 (47) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (48) ค่าไวนิลเแสดงโครงการ พร้อมขาตั้ง (49) เบิกเงินสนับสนุนครั้งที่2 (50) ค่าเดินทางไปนำเสนอโครงการ (51) ARE ครั้งที่ 4 สรุปผลงานการดำเนินงาน (52) ค่าพาหะนะเดินทางพบกองเลขาตรวจเอกสารรายงาน (53) ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพด้านคุ้มครองผู้บริโภคประเด็นอาหาร ยาและเครื่องสำอางในตำบลพ่อมิ่ง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ไลลา ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด