directions_run

การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สมาคมรักษ์ทะเลไทย


“ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning) ”

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวการ์ตินี อามีนี

ชื่อโครงการ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

ที่อยู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ S-022/2566 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สมาคมรักษ์ทะเลไทย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)



บทคัดย่อ

โครงการ " การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ S-022/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,950.00 บาท จาก สมาคมรักษ์ทะเลไทย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนตำบลปากพะยูนมีพื้นที่หลายลักษณะมีทั้งที่เป็นพื้นที่ราบซึ่งอยู่ตอนกลาง พื้นที่เนินควนลักษณะเป็นลูกคลื่นค่อนข้างสูงอยู่ทางตอนใต้ และลาดต่ำทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนจดทะเลสาบ ส่วนพื้นที่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ของเทศบาลตำบลปากพะยูนมีประชากรอยู่หนาแน่น พื้นที่ปากพะยูนเป็นแหล่งทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีความหลากหลายและโดดเด่นในเรื่องของรสชาติที่อร่อยและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปของผู้บริโภค ได้แก่ กุ้งก้ามกราม กุ้งหัวมัน ปลาสามน้ำ ได้แก่ ปลามิหลัง ปลาหัวโม่ง ปลาแมว เป็นต้น ในอดีตด้วยความอุดมสมบูรณ์ทางสัตว์น้ำจึงมีการสัมปทานโพงพางและการใช้เครื่องมือทำลายล้างเกิดขึ้นบริเวณปากแม่น้ำปากพะยูนส่งผลให้ปริมาณสัตว์น้ำลดลง ปริมาณสัตว์น้ำบางชนิดสูญหาย
ดังนั้นทางชุมชนจึงได้ดำเนินการอนุรักษ์พื้นที่ลุ่มน้ำร่วมกับเครือข่ายชุมชนบ้านช่องฟืน เมื่อประมาณปี 2551 โดยการทำบ้านปลาบริเวณเขตบ้านควน มีการจัดตั้งคณะกรรมการและสมาชิกรวมกลุ่ม จำนวน 30 คน มีการกำหนดกฎกติกาห้ามใช้เครื่องมือผิดกฎหมาย ต่อมาปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นมีความละหลวมในการรักษากฎระเบียบส่งผลให้การจัดการอนุรักษ์ลดหย่อนด้วยแกนนำบางคนก็ไม่ต้องการให้เกิดความขัดแย้งกับชุมชนแต่ก็ต้องการที่จะให้มีการอนุรักษ์เกิดขึ้นจึงร่วมพัฒนาศักยภาพการจัดการทรัพยากรอย่างต่อเนื่องกับเครือข่ายกลุ่มบ้านช่องฟืนและสมาคมรักษ์ทะเลไทย ต่อมามีการจัดทำแนวเขตอีกครั้งที่บริเวณทะเลปากพะยูนระหว่างชุมชนบ้านกลางกับชุมชนเกาะหมาก ความยาว 1,000เมตร ไม่มีการห้ามการเข้าหาแต่มีการกำหนดเครื่องมือในการหาสัตว์น้ำห้ามใช้โพงพาง ห้ามใช้กัดขนาดน้อยกว่า 4 เซนติเมตรและเครื่องมือผิดกฎหมาย ก็ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นส่วนใหญ่และก็มีบางส่วนที่ยังไม่เห็นความสำคัญ และพบว่าบางจุดนอกเขตยังมีการใช้เครื่องมือผิดกฎหมาย เช่น การใช้อวนตาถี่ในการล้อม ปี 2565 มีการจัดทำซั้งบ้านปลาบริเวณหน้าบ้านชุมชนบ้านกลางจำนวน 1 จุด เมื่อเดือนกันยายน 2565 ปัจจุบันพบว่าเริ่มมีปลา กุ้งเข้ามาอาศัยถือเป็นตัวชีวัดที่ดี นอกจากการอนุรักษ์แล้วทางกลุ่มมีการจัดทำกองทุนชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพและการอนุรักษ์ซึ่งทำควบคู่กับการทำการอนุรักษ์ปี 2551และมีการดำเนินมาถึงปัจจุบัน และนอกจากนั้นทางกลุ่มได้มีการรวมกลุ่มเยาวชนของชุมชนบ้านกลาง ในการสร้างจิตสำนักในการรักษาทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการเยาวชนคิดผู้ใหญ่หนุนในการทำกิจกรรมร่วมทำบ้านปลา กิจกรรมการคัดแยกขยะ กิจกรรมค่ายสิ่งแวดล้อมเพื่อฝึกทักษะของเยาวชนให้มีกระบวนการคิดและการเป็นผู้นำในการรักษาสิ่งแวดล้อม ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 6 ปี มีเยาวชน จำนวน 40คน มีแกนนำ 20 คน แต่ปัจจุบันพบว่าเยาวชนดังกล่าวต่างโตเติบเรียนในระดับมหาวิทยาลัยไม่ได้อยู่ในพื้นที่และสถานการณ์เยาวชนในพื้นที่การใช้ชีวิตจะห่างหายจากการสัมผัสการทำประมงหรือทักษะเกี่ยวกับทะเล เช่น การขับเรือ การรู้จักพันธุ์ปลา อาหารท้องถิ่นของตัวเองหากไม่มีกิจกรรมการสร้างกระบวนการเรียนรู้ หรือพื้นที่กับเยาวชนต่อไปการรักถิ่นความเป็นลูกชาวเลก็จะสูญหายไป จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ ทักษะของเยาวชนคนรุ่นหลังในการเรียนรู้แบบปฏิบัติการ(Active Learning)เกี่ยวกับทะเลบ้านของตัวเอง การทำประมง และการทำการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลร่วมกับผู้ใหญ่ในชุมชนเพื่อเกิดสัมพันธภาพที่ดีการห่วงแหนรักบ้านเกิดและเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการอนุรักษ์รักษาทรัพยากรทางทะเลต่อไป ในการนี้ ทางกลุ่มจึงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและการพัฒนาให้มีการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องเพื่อเสริมศักยภาพของกลุ่มและเพื่อการจัดการที่เข้มแข็งและยั่งยืนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนทุกวัยจึงมีจะมีการดำเนินในการเพิ่มจุดพื้นที่การทำบ้านปลาเพิ่มและซ่อมแซมบ้านปลาเดิม การทบทวนกฎกติการและการสร้างการรับรู้การเข้าใจด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบปฏิบัติการของกลุ่มเยาวชนร่วมกับคนทุกช่วงวัยในชุมชนในการร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลให้มีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน
  2. เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน
  4. เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ปฐมนิเทศโครงการ
  3. กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร
  4. กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา
  5. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน
  6. กิจกรรมที่ 7 เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน
  7. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน
  8. กิจกรรมที่ 6 ทำขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ
  9. กิจกรรมที่ 8 การจัดทำบ้านปลา
  10. กิจกรรมที่ 9 เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง
  11. เวทีประเมินเพื่อเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  12. กิจกรรมที่ 10 การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน
  13. กิจกรรมที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล
  14. กิจกรรมที่ 12 เวทีปิดโครงการ
  15. กิจกรรมที่ 13 การเข้าร่วมกิจกรรม สสส. กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ
  16. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1
  17. กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร
  18. กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา
  19. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  20. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  21. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน
  22. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  23. เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน
  24. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน
  25. ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ
  26. จัดทำบ้านปลา
  27. เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง
  28. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  29. เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE)
  30. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  31. พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน
  32. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  33. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล
  34. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  35. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
  36. เวทีปิดโครงการ
  37. การบริหารจัดการโครงการ
  38. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ชาวประมงหมู่ที่ 1 ชุมชนบ้านกลาง จำนวน 50 ครัวเรือน 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานที่มีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง หน่วยงานรัฐ หน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชนปากพะยูน 2.เกิดกฎกติการ่วมในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชน 3.มีการประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง 4.เกิดการขยายเขตพื้นที่อนรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำที่ชัดเจนและเป็นที่รับรู้ของชุมชน 5.ปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น 6.เกิดแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้นจากการขยายการทำบ้านปลา เพิ่ม 4 จุด 7. แกนนำชุมชนและเยาวชนมีความรู้ ทักษะและสามารถถ่ายทอดในการปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูนได้อย่างน้อย 20 คน 8. เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กล่าวต้อนรับโดย นายบรรจง นะแส
  2. ชี้แจงบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทยภายใต้แผนงานร่วมทุนระหว่างกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและ สมาคมรักษ์ทะเลไทย
  3. ให้ความรู้การออกแบบการเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ ในการดำเนินโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์ ใช้เครื่องมือบันไดผลลัพธ์
  4. ให้ความรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบรายงานออนไลน์ รายงานการเงินและเอกสารการเงิน
  5. ลงนามในสัญญาโครงการของโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้มีความรู้ความเข้าใจบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทย และแผนงานร่วมทุนกับ สสส. เสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนชาวประมง
  2. มีความรู้และสามารถนำความรู้ใปใช้การดำเนินงานโครงการ การบริหารจัดการ การจัดทำเอกสารและรายงานการเงิน ผ่านระบบออนไลน์
  3. มีความรู้บันไดผลลัพธ์ การออกแบบเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ เพื่อให้เห็นผลการดำเนินการโครงการเป็นระยะ ใช้ในการดำเนินงานโครงการให้บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์กำหนดไว้
  4. ได้สัญญาโครงการ ที่ได้ลงน้ำระหว่างพื้นที่กับ แผนงานร่วมทุนฯ

 

3 0

2. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  รายงานผลการเข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเวศโครงการ  และรายละเอียดแผนงานร่วมทุนฯ
2.  การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร 3. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วางแผนกลไกการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน

 

15 0

3. กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เชิญแกนนำชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงาน จำนวน 25 คนมาร่วมประชุม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30.00-15.30 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
  2. วิทยากรที่มีความสามารถมาเป็นวิทยากรกระบวนการให้ความรู้ในการจัดทำแผนดำเนินงานอนุรักษ์และฟื้นฟู  วิทยากรมีทดลอดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติการ
  3. คณะทำงานร่วมกันออกแบบแผนการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู โดยมีวิทยากรเป็นที่ปรึกษา แนะนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรร่วมมืิอกันของคณะทำงาน ในการคิดค้นรูปแบบใหม่ของการทำบ้านปลา มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมแบ่งเป็นห้องๆ ยาวตามชายฝั่ง ห่างจากชายฝั่งประมาณ 30 เมตร และยังมีการใช้สภากาแฟในการแลกเปลี่ยนการทำงานร่วมกัน และเริ่มมีการประชาสัมพันธ์สื่อออนไลน์สังคมต่างๆเพิ่มขึ้น

 

25 0

4. กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา

วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คณะทำงานร่วมออกแบบและวางแผนการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ
    2.ดำเนินการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ ก่อนการทำบ้านปลา
  2. วิเคราะห์ข้อมูลสัตว์น้ำ
  3. วางแผนการทำบ้านปลาหลังจากวิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน
  2. ชนิดและปริมาณของสัตว์น้ำที่สำรวจเจอก่อนทำบ้านปลาของชาวประมง 1 คน ต่อ 1 วัน โดยประมาณ คือ 1.1 กุ้งก้ามกรามจำนวน 20 ตัว น้ำหนัก 1.2 กิโลกรัม 1.2 ปลากระบอก จำนวน 3 ตัว น้ำหนัก 0.5 กิโลกรัม 1.3 ปลาหัวโม้ง 10 ตัว น้ำหนัก 1 กิโลกรัม 1.4 ปลาขี้ตัง วันละ ไม่เกิน 5 ตัว 1.5 ปลาทรายวันละ ไม่เกิน 5 ตัว
  3. ได้ข้อมูลปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ทำให้มีสัตว์น้ำ ไว้บริโภคในครัวเรือน มีความปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมีในการรักษาความสดของสัตว์น้ำ และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างน้อยครัวเรือนละ 300 บาท ราคาสัตว์น้ำถูกลงคนในชุมชนได้บริโภคสัตว์น้ำทะเลปลอดภัยเพิ่มขึ้น

 

15 0

5. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วางแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูนในครั้งถัดไป

 

15 0

6. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 12:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการพัฒนา วางแผน กลไก การร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ในเดือนถัดไป

 

15 0

7. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์การทำประมงและการจัดการทรัพยากรกรทางทะเล วิเคราะห์ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคในการดำเนินการที่ผ่านมา 2.  ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ นำเสนอบันใดผลลัพธ์  ประกอบด้วย  ผลลัพธ์  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ และกิจกรรมที่ออกแบบให้การดำเนินงานสำเร็จตามบันใดผลลัพธ์ในแต่ละระยะ
  2. ทบทวนและจัดตั้งคณะทำงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน  พร้องทั้งร่วมแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ที่ส่งต่อสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เข้ามาเรียนรู้
  3. หน่วยงานรัฐมีการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านนโยบายที่มีความสนใจ เยาวชนเริ่มให้ความสนใจในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คนในชุมชน นักเรียนเยาวชน คณะทำงานและภาคีที่เข้าร่วมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ มีความตั้งใจร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยความรู้เขตอนุรักษ์ การทำบ้านปลาเน้นใช้วัสดุในชุมชน การกำหนดกติกาชุมชนเน้นมีส่วนร่วมกำหนดขอชาวประมง คนในชุมชน  กลไกเฝ้าระวัง ประมงอาสาซึ่งมีการออกตรวจ
2. เกิดคณะทำงาน 23 คน ผู้นำชุมชน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน เข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน
2. มีการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่ผ่านมา เพื่อวางแผนการทำงานต่อไป
3. มีการวางแผนการทำงานและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คือ คณะทำงานร่วมกันขับเคลื่อนการทำงาน จัดทำข้อมูลทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลงการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งของเยาชนและคนในชุมชนบ้านกลาง ปรับปรุงแนวเขตอนุรักษ์ สร้างบ้านปลาเพิ่ม พัฒนาโมเดลของเยาวชนร่วมกับคณะทำงานมาใช้ ติดตามและเฝ้าระวัง พัฒนาศักยภาพแกนนำ และประมงอาสาเพิ่ม
4. เกิดแผนปฏิบัติการด้านนโยบายการจัดการทรัพยากรร่วม และเยาวชนเริ่มให้ความสนใจมีการสมัครใจเข้ามาร่วมเรียนรู้และร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง

 

30 0

8. เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัคร ตัวแทนองค์กร จำนวน 25 คน มาร่วมกิจกรรม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30-15.30 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. ร่างกติกาชุมชน เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมเพื่อประชาพิจารณ์
  3. ประชุมชุมชนเพื่อพิจารณาและเห็นชอบในการประกาศใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการทบทวนกฎกติกาเดิมในชุมชน และเพิ่มกฎกติกาเรื่องขนาดของตาแหให้ใช้ตั้งแต่ขนาดตั้งแต่ 3.5 เซนติเมตร ขึ้นไป

 

25 0

9. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้่รับผิดชอบโครงการทบทวนโครงการ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนแนวทางการทำงาน ทบทวน แผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน และแบ่งบทบาทการทำงานของคณะทำงานในการดำเนินการโครงการ
  3. กำหนดแผนกิจกรรมเดือนตุลาคม
  4. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานที่ประกอบด้วยตัวแทนแกนนำชาวประมง ท้องถิ่น ท้องที่ โรงเรียน เยาวชน จำนวน 20 คนที่มีความตั้งใจพร้อมร่วมในการดำเนินการเกิดผลลัพธ์ตามที่ได้กำหนด ได้แบ่งบทบาทการทำงานตามความเหมาะ ประกอบด้วย ทีมประสานงาน ทีมข้อมูล ทีมติดตามประเมินผล ทีมส่งเสริมการอนุรักษ์
  2. คณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น กำหนดแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ปรับปฏิทินการทำงานโครงการที่สอดคล้องกับสถานการณ์

 

15 0

10. ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การประชุมเพื่อวางแผนการขยายเขตอนุรักษ์ 2.การจัดทำแนวเขตอนุรักษ์พร้อมติดตั้งป้ายป้ายเขตอนุรักษ์ 3.การปักป้ายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำที่ชัดเจน และเป็นที่รับรู้ของชุมชน
  2. ปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น

 

15 0

11. จัดทำบ้านปลา

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การประชุมเพื่อกำหนดจุดการทำบ้านปลา
  2. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การทำบ้านปลา
  3. การจัดทำบ้านปลา จำนวน 2 หลัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มมากขึ่น
  2. เกิดแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ
  3. จัดทำบ้านจำนวน 2 หลัง

 

15 0

12. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. หาพื้นที่ต้นแบบในการศึกษาดูงาน
  2. ศึกษากรอบและรายละเอียดการศึกษาดุงานที่สามารถนำมาปรับใช้กับพื้นที่ตนเองได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์พื้นที่ต้นแบบในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่งได้อย่างยั่งยืน โดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนนำกิจกรรมของชุมชนอื่นมาศึกษาเพื่อวางแผนต่อยอดและพัฒนา และมีการนำกรอบรายละเอียดของโครงการของชุมชนที่ประสบความสำเร็จแล้วมาวางแผนต่อยอดและพัฒนา ส่งผลให้คณะทำงานมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ชายฝั่งมากขึ้น

 

15 0

13. เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เชิญแกนนำชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงาน จำนวน25คนมาร่วมประชุม
  2. เชิญวิทยากรที่มีความสามารถมาเป็นวิทยากรกระบวนการ
  3. ในเวทีร่วมกันออกแบบกลไกและแผนการเฝ้าระวังงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู
  4. ลงพื้นที่ ตามแผนการเฝ้าระวัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกลไกในการทำงานตามแผนเฝ้าระวังงการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการจัดการทรัพยากรทางทะเล

 

25 0

14. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแผนงานในการดำเนินงานกิจกรรมครั้งถัดไป

 

15 0

15. เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE)

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานเชิญคณะทำงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชาวประมง ผู้นำชุมชน
  2. ทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการมาแล้ว เพื่อหาผลลัพธ์และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง
  3. วางแผล พัฒนา กลไก การทำงานที่ยังไม่ดำเนินการเพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดคณะทำงานจำนวน 23 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น วางแผน ดำเนินโครงการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรชายฝั่ง สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและนักเรียน
  2. มีความร่วมมือ มีการคิดค้นแบบใหม่ของบ้านปลา
  3. มีสภากกาแฟในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน
  4. มีการประชมสัมพันธ์มากขึ้นทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ และปากต่อปาก
  5. หน่วยงานรัฐเริ่มให้ความสนใจ และเริ่มวางแผนนโยบายการทำงานด้านทรัพยากรทางทะเล
  6. มีการเก็บข้อมูลปริมาณ และชนิดของสัตว์น้ำก่อนการทำบ้านปลา
  7. มีการทบทวนกฎกติกาเดิม และร่างเพิ่มเติม เรื่องของเครื่องมือประมง ( แหใช้ขนาดตา 3 เซนติเมตร ขึ้นไป, อวน3 เซนติเมตร ขึ้นไป )
  8. มีภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน เช่น เทศบาลตำบลปากพะยูน สำนักงานประมง โรงเรียนเกาะหมาก

 

0 0

16. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 10 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่ถึงการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา และวางแผนการจัดกิจกรรมในครั้งถัดไป

 

15 0

17. พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การประชุมเพื่อร่วมกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของเยาวชน
  2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนโดยการเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและการผลิตสื่อสร้างสรรค์รณรงค์การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดกลุ่มแกนนำเยาวชนที่มีความรู้ ทักษะ และสามารถถ่ายทอดการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล

 

17 0

18. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 20 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีแผนงานในการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

 

15 0

19. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ปฏิบัติการแก่เยาวชน และผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอกชุมชน 2.การจัดทำสื่อสร้างสรรค์ในการการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล
  2. การวิเคราะห์ประมวลผลเกี่ยวกับความพึงพอใจและสิ่งที่ผู้มาเรียนรู้ได้รับจากการเข้ามาเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน

 

17 0

20. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการ ติดตาม ประเมินผลการทำงานที่ผ่านมา ร่วมการวิเคราะห์การดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

15 0

21. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 10 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุป ประเมินผล ในการทำงานที่ผ่านมา ร่วมกันวิเคราะห์ สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อร่วมกันพ๊ัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

 

15 0

22. การบริหารจัดการโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดการบริหารโครงการที่โปร่งใส และเป็นรูปธรรม

 

0 0

23. เวทีปิดโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดเวทีสรุปผลดำเนินโครงการในรอบ 1 ปี
  2. ร่วมมือกับท้องถิ่น ท้องที่ภาคีเครือข่ายเพื่อมาพัฒนาฟื้นฟูอย่างยั่งยืนตลอดไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานใน 1 ปีที่ผ่านมา

 

30 0

24. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 7 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สุปผลการจัดกิจกรรมของโครงการ

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงานที่มีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง หน่วยงานรัฐ หน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชนปากพะยูน 1.2 มีแผนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 1.3 มีแผนฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คณะทำงานมีศักยภาพในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

 

2 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน 2.2 มีเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 จุด 2.3 มีบ้านปลาอย่างน้อย 2 จุด เพื่อเป็นแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น 2.4 เกิดกฎกติการ่วมในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชน มีกลุ่มที่สามารถเป็นกลไกการติดตามได้อย่างน้อย 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มภาคีภายนอก

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 3.1 แกนนำชุมชนและเยาวชนมีความรู้ ทักษะและสามารถถ่ายทอดในการปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนได้อย่างน้อย 20 คน 3.2 เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯไม่ต่ำกว่า 15 คน 3.3 เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน 3.4 มีคนในชุมชนที่ร่วมเรียนรู้และมีความเข้าใจการดูแลรักษาทรัพยากรอย่างน้อย 100 คน

 

4 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร
ตัวชี้วัด : 4.1 แกนนำกลุ่มจำนวน 50 คน มีการเปลี่ยนแปลงพฟติกรรมการบริโภคอาหารทะเลและอาหารในชุมชนที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จากผลผลิตการประมงที่ปลอดภัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชาวประมงหมู่ที่ 1 ชุมชนบ้านกลาง จำนวน 50 ครัวเรือน 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน (2) เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน (4) เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนละ 1 ครั้ง (2) ปฐมนิเทศโครงการ (3) กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร (4) กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา (5) กิจกรรมที่ 1  เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน (6) กิจกรรมที่ 7 เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน (7) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน (8) กิจกรรมที่ 6 ทำขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ (9) กิจกรรมที่ 8 การจัดทำบ้านปลา (10) กิจกรรมที่ 9 เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง (11) เวทีประเมินเพื่อเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (12) กิจกรรมที่ 10  การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน (13) กิจกรรมที่ 11  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล (14) กิจกรรมที่ 12  เวทีปิดโครงการ (15) กิจกรรมที่ 13 การเข้าร่วมกิจกรรม สสส. กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ (16) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1 (17) กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร (18) กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา (19) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (20) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (21) กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน (22) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (23) เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน (24) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน (25) ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ (26) จัดทำบ้านปลา (27) เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง (28) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (29) เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE) (30) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (31) พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน (32) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (33) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล (34) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (35) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (36) เวทีปิดโครงการ (37) การบริหารจัดการโครงการ (38) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ S-022/2566

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวการ์ตินี อามีนี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด