directions_run

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง ”

จังหวัดภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเราะแม เซ็งมาดี

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง

ที่อยู่ จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 67-00123-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 มกราคม 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดภาคใต้ รหัสโครงการ 67-00123-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ประจำปี 2567 ประเด็นยุทธศาสตร์ผักปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่ ผ่านการขับเคลื่อนโครงการของกลุ่ม 2 รูปแบบ คือ
1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 4 พื้นที่ ได้แก่ ลำใหม่ ยะต๊ะ บันนังสตา และเนินงาน
2. กลุ่มเกษตรกร จำนวน 17 พื้นที่ ได้แก่ หน้าถ้ำ บาโงย กอตอตือร๊ะ วังพญา ตลิ่งชัน แม่หวาด สะเอะ กรงปินัง เปาะเส้ง ลำพะยา สะเตงนอก กาบัง บาโงยซิแน บุดี ธารน้ำทิพย์ ท่าสาป และพร่อน รวมพื้นที่ในการขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 21 พื้นที่ ตำบลบือมัง เป็นตำบลหนึ่งใน 16 ตำบล ของอำเภอรามัน จังหวัดยะลา มี 6 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,463 กว่าคน จำนวนครัวเรือนประมาณ 1,486 ครัวเรือน นับถือ ศาสนาอิสลาม 100% อาชีพ เกษตรกร ทำสวนยางพาราและสวนผลไม้ พฤติกรรมการบริโภคของชุมชนบ้านบือมัง ส่วนใหญ่ซื้อผักจากท้องตลาดมาบริโภคในครัวเรือน มีการปลูกผักที่น้อยมาก ทั้งที่มีพื้นที่ในการเพาะปลูก เพราะหาซื้อง่าย สะดวกในการจับจ่ายใช้สอยผักจากตลาด ซึ่งในชุมชนมีร้านชุมชนขายของทุกวัน จึงนิยมซื้อผักมาบริโภค ส่วนใหญ่จะปลูกพืชสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ มะกรูด ขมิ้น ที่ไม่ต้องให้การดูแล บำรุงรักษา ชุมชนมีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักเพื่อบริโภคเฉลี่ยประมาณครัวเรือนละ 370 บาท/เดือน รวมเฉลี่ยทั้งตำบล 550,000 บาท/เดือน ชุมชนมีการปลูกผักอยู่บ้าง โดยประมาณร้อละ 20 ของครัวเรือน ปลูกผักโดยใช้ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพบ้าง เพราะสะดวก หาซื้อง่าย และง่ายต่อการดูแล ผลกระทบจากการใช้สารเคมี ชุมชนเสียค่าใช่จ่ายในการซื้อปุ๋ยเพื่อใช้ในการเกษตร ในแต่ละปีเป็นเงินประมาณ 1,500,000 บาท ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม มีสารเคมีสารพิษปนเปื้อนในแหล่งน้ำสาธารณะของชุมชน และทำให้ดินเสื่อม ด้านสุขภาพ ประชาชนที่ปลูกผักโดยใช้สารเคมี หรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงได้รับสารพิษโดยตรง ทำให้สารพิษตกค้างสะสม ภายในร่างกาย ประชาชนที่บริโภคผักที่มีสารเคมีปนเปื้อน ร่างกายจะสะสมสารพิษ ส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว เช่น มะเร็ง
จากพฤติกรรมการปลูกผักของชุมชน พบว่าชุมชนไม่เห็นความสำคัญของการปลูกผักกินเองด้วยสาเหตุหลัก 3 ประการ ดังนี้ 1) ปัญหาการรบกวนจากสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะโค และแพะ เนื่องจากคนในพื้นที่เลี้ยงในรูปแบบปล่อย ดังนั้นการปลูกผักต้องลงทุนสูงในการสร้างรั่วแปลง 2) การซื้อผัก แต่ละครั้ง เป็นจำนวนเงิน 10 – 20 บาท โดยไม่ต้องลงทุนมาก 3) ขาดความรู้ เทคนิคในการปลูกผัก ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจาก การใช้สารเคมีทางการเกษตร ไม่เห็นความสำคัญของการบริโภคผักปลอดสารพิษ ไม่มีศูนย์การเรียนรู้ หรือต้นแบบในการ เพาะปลูกพืชผักปลอดสารเคมี ขาดหน่วยงานที่มาส่งเสริมและสนับสนุนการปลูก/บริโภคผักปลอดสารพิษในหมูบ้าน ไม่มี กฎกติกา/ระเบียบของชุมชนในการบริโภคผักปลอดสารพิษ
จากการสำรวจครัวเรือนที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการในเรื่องการปลูกผักที่ไม่ใช้สารเคมี ที่เพียงพอต่อการนำไปบริโภคในครัวเรือน โดยการมีส่วนร่วมของแกนนำและคนในหมู่บ้าน ดังต่อไปนี้
1. มีครัวเรือนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 ครัวเรือน (ต่อไปนี้จะเรียกว่า ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย)
2. ก่อนเริ่มโครงการ มีครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายที่สามารถปลูกผัก ที่เพียงพอต่อการนำไปบริโภคในครัวเรือนได้หลายชนิด เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ขมิ้น พริก ถั่ว แตงกวา จำนวน 15 ครัวเรือน
3. ก่อนเริ่มโครงการ ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายมีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักเพื่อบริโภคเฉลี่ยสัปดาห์ละ 100 บาท/ครัวเรือน
ดังนั้น ทางกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของวิสาหกิจชุมชนธนาคารต้นไม้บือมัง จึงเห็นความสำคัญถึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนขึ้น จำนวน 2 โครงการ โดยแบ่งพื้นที่เป็น โครงการที่ 1 ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 , 2 , 5 และโครงการที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 3 , 4 ,6 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีอาชีพและรายได้เพิ่มมากขึ้นเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอีกด้วย ซึ่งจะเป็นการร่วมทุนระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลบือมังกับหน่วยงาน สสส. อีกทางในการยกระดับความยั่งยืน และความต่อเนื่องของโครงการในการพัฒนาความเป็นกลุ่ม และได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนได้ผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
  2. 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภค และเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผักปลอดภัย
  3. 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เกิดกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
  2. อบรมสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิตผักปลอดภัย
  3. ปลูกผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP
  4. กลไก สนับสนุนการผลิต และการตลาด
  5. ถอดบทเรียน และสรุปโครงการ
  6. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ
  7. ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 1
  8. เวทีรับสมัครสมาชิก และสำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่
  9. เวทีพัฒนาเพื่อยกระดับ ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ
  10. กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP
  11. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 1)
  12. เวทีการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียม การปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP
  13. Kick off ปลูกผักปลอดภัย พร้อมอบรมการปรุงดิน และทำปุ๋ยชีวภาพ
  14. ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 2
  15. เวทีจัดทำแปนการผลิตของสมาชิก และกลุ่ม
  16. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 2)
  17. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย
  18. กิจกรรมตรวจแปลง และรวบรวมข้อมูลการผลิต เพื่อรับรองมารตฐาน GAP
  19. ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 3
  20. ประชุมติดตามผลการผลิต การรับรอง GAP และการตลาด
  21. อบรมจัดทำแผนการตลาด และช่องทางการจำหน่าย
  22. ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 4
  23. เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 3)
  24. เวทีสรุป ปิดโครงการ และถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
เกษตรกรผู้ปลูกผักในชุมชนบือมัง 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีการบันทึกการประชุม เกิดโครงสร้างคณะกรรมการ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และเกิดกฏ กติกากลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น และมีข้อมูลพื้นที่การปลูก ชนิดผัก ตลาด และรายได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 คณะกรรมการมีทักษะการบริหารจัดการกลุ่ม เพื่อสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 เกษตรกรมีทักษะความรู้ การผลิตตามมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.5 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิต และการตลาด เพื่อพัฒนายกระดับตัวเอง และกลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.6 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลลัพธ์ที่ 2 มีพื้นที่ปลูกผักที่เป็นความต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีจำนวนพื้นที่ที่พร้อมเข้ารับการตรวจมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีแผนการปลูกผักของสมาชิก และกลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 มีจำนวนพื้นที่ปลูกผักเพิ่มขึ้น 20 พื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีชนิดผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 ต่อความต้องการของตลาด

 

2 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภค และเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 3 มีแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 20 ต่อจำนวนสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลลัพธ์ที่ 4 มีระบบกลไก สนับสนุนการผลิต และการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 มีการติดตามตรวจแปลงที่รับรองมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 มีแผนการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีจุดกระจ่ายสินค้าอย่างน้อย 2 จุด ผลลัพธ์ที่ 5 เกษตรกรมีรายได้จากการขายผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 เกษตรกรมีรายได้จากการขายผักปลอดภัย อย่างน้อย 500 บาทต่อเดือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 เกษตรกรมีการบริโภค ผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : คณะทำงานมีศักยภาพบริหารจัดการโครงการ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรกรผู้ปลูกผักในชุมชนบือมัง 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง (2) 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภค และเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผักปลอดภัย (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เกิดกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง (2) อบรมสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิตผักปลอดภัย (3) ปลูกผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP (4) กลไก สนับสนุนการผลิต และการตลาด (5) ถอดบทเรียน และสรุปโครงการ (6) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ (7) ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 1 (8) เวทีรับสมัครสมาชิก และสำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ (9) เวทีพัฒนาเพื่อยกระดับ ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ (10) กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (11) เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 1) (12) เวทีการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อปรับ/เตรียม การปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP (13) Kick off ปลูกผักปลอดภัย พร้อมอบรมการปรุงดิน และทำปุ๋ยชีวภาพ (14) ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 2 (15) เวทีจัดทำแปนการผลิตของสมาชิก และกลุ่ม (16) เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 2) (17) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย (18) กิจกรรมตรวจแปลง และรวบรวมข้อมูลการผลิต เพื่อรับรองมารตฐาน GAP (19) ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 3 (20) ประชุมติดตามผลการผลิต การรับรอง GAP และการตลาด (21) อบรมจัดทำแผนการตลาด และช่องทางการจำหน่าย (22) ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 4 (23) เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ART ครั้งที่ 3) (24) เวทีสรุป ปิดโครงการ และถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนบือมัง (2) ตำบลบือมัง จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 67-00123-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเราะแม เซ็งมาดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด