directions_run

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่ ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมคิด ทองศรี

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลจากการดำเนินงานคัดกรองสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (อายุ 19 – 59 ปี) ปีงบประมาณ 2566 – 2667 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ พบว่ากลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เกินเกณฑ์ที่กำหนด มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยพบในปีงบประมาณ 2566 ร้อยละ 34.45 และปีงบประมาณ 2567 ร้อยละ 36.20 และมีความสัมพันธ์กับค่ารอบเอวของกลุ่มวัยทำงานที่เกินเกณฑ์มาตรฐานด้วยเช่นกัน โดยปีงบประมาณ 2566 พบร้อยละ 58.40 และปี 2567 ร้อยละ 60.28 จากข้อมูลปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพที่มีความเสี่ยงของกลุ่มวัยทำงานในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ มีความสัมพันธ์กับอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ทุกกลุ่มวัยที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งโรคเบาหวาน มีอัตราป่วยในปีงบประมาณ 2566 และ 2567 คือ 5,821.92 และ 5,982.49 ต่อแสนประชากร โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราป่วยในปีงบประมาณ 2566 และ 2567 คือ 15,019.57 และ 15,661.48 ต่อแสนประชากร ปีงบประมาณ 2567 ผู้โรคเบาหวานคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ร้อยละ 60.16 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคุมระดับความดันลิตไม่ได้ ร้อยละ 32.92    เมื่อศึกษาข้อมูลพฤติกรรมกลุ่มวัยทำงาน พบว่ามีการออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที เพียงร้อยละ 30.95 กลุ่มวัยทำงานสูบบุหรี่ 42.86 ดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 40.00 มีการนอนหลับพักผ่อนเพียงพอคืนละ 7-8 ชั่วโมง เพียงร้อยละ 35.27
จากข้อมูลปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงานในเขตพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง ปรับสภาพแวดล้อมในชุมชนให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน และมีระบบหรือกลไกการดำเนินปรับเปลี่ยนสุขภาพในชุมชนที่เข้มแข็ง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  4. เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน (ประชุม 3 ครั้ง ทุกหมู่บ้านหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน)
  2. อบรมให้ความรู้แก่คณะทำงานเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยตัวเอง (คณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน)
  3. พัฒนาศักยภาพผู้รับทุนครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศผู้รับทุน)
  4. สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย
  5. อบรมให้ความรู้ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มวัยทำงาน (เป้าหมาย จำนวน 40 คน)
  6. รณรงค์ให้มีเมนูลดหวานในชุมชน
  7. ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 1
  8. เวทีถอดบทเรียนและวิเคราะห์ข้อมูลสู่ชุมชน
  9. ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี 40
ร้านขายเครื่องดื่มชง 8
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เมื่อโครงการแล้วเสร็จหรือเมื่อทุนที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส. หมดลง อสม.เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ ยังดำเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานต่อไป เพราะเป็นเป็นกิจกรรมที่สำคัญที่ทำให้ประชาชนมีค่าดัชนีมวลการ
ลดลง ลดความเสี่ยงลงจากการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดภาระ ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดมาจกผลกระทบจากค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งประชาชนกลุ่มวัยทำงานก็ให้ความสำคัญเช่นกัน     การดำเนินกิจกรรมต่างๆในโครงการ เป็นการดำเนินงานร่วมกันของเครือข่ายในชุมชน มีการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการทำกิจกรรมร่วมกันให้ชุมชนทราบและเห็นผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ประชาชนทุกกลุ่มวัยเห็นคุณค่าของกิจกรรมตามโครงการ สนใจที่จะร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน ที่มีการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน (ประกอบด้วย ผู้นำหมู่บ้าน 1 คน, อสม. 2 คน, ตัวแทนครัวเรือน 2 คน, ตัวแทนร้านเครื่องดื่มชง 1 คน และ บุคลากรสาธารณสุข 1 คน ) 2.ร้อยละ 100 ของคณะทำงาน มีทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : .ร้อยละ 100 ของผู้ร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 2.ทุกหมู่บ้านมีการสื่อสารเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุภาพ 2.ร้อยละ 100 ของร้านเครื่องดื่มชง มีเมนูลดหวาน อย่างน้อย 1 เมนู 3.ร้อยละ 50 ของงานบุญ งานประเพณีในชุมชนปลอดเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของคนวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง 2.มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อยหมู่บ้านละ 5 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี 40
ร้านขายเครื่องดื่มชง 8
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน  (ประชุม 3 ครั้ง  ทุกหมู่บ้านหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน) (2) อบรมให้ความรู้แก่คณะทำงานเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยตัวเอง (คณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน) (3) พัฒนาศักยภาพผู้รับทุนครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศผู้รับทุน) (4) สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย (5) อบรมให้ความรู้ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มวัยทำงาน (เป้าหมาย จำนวน 40 คน) (6) รณรงค์ให้มีเมนูลดหวานในชุมชน (7) ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 1 (8) เวทีถอดบทเรียนและวิเคราะห์ข้อมูลสู่ชุมชน (9) ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมคิด ทองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด