directions_run

ฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 61-0186
วันที่อนุมัติ 8 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 198,500.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มวิถีชุมชนคนเกษตร
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสหจร ชุมคช
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.509396,99.92186place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 พ.ย. 2561 30 เม.ย. 2562 15 พ.ย. 2561 15 มิ.ย. 2562 99,250.00
2 1 พ.ค. 2562 31 ส.ค. 2562 16 มิ.ย. 2562 30 ก.ย. 2562 79,400.00
3 1 ก.ย. 2562 30 ก.ย. 2562 19,850.00
รวมงบประมาณ 198,500.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปจจุบันยางพาราเขาครอบครองพื้นที่ทําการเกษตรอยางตอเนื่อง ขอมูลพื้นที่ปลูกยางพาราของสถาบันวิจัยยาง ปพ.ศ. 2558 รายงานวา ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางทั้งสิ้น 18,761,231 ไร ประกอบดวย พื้นที่ปลูกยางของภาคใตจํานวน 11,906,882 ไร รองลงมาคือ พื้นที่ปลูกยางพาราของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 3,477,303 ไร ภาคตะวันออกรวมกับภาคกลาง จํานวน 2,509,644 ไร สวนภาคเหนือพื้นที่ปลูกยางพารานอยที่สุด จํานวน 867,402 ไร พื้นที่ปลูกยางทั้งหมดของประเทศที่กลาวถึง มีจํานวน พื้นที่ซึ่งเปดกรีดไปแลว จํานวนรวมทั้งสิ้น 10,896,957 ไร คิดเปนรอยละ 85 ของพื้นที่ปลูกยางทั้งหมด ในจํานวนนี้ใหผลผลิตเฉลี่ย 282 กิโลกรัม/ไร/ป  อยางไรก็ตามพื้นที่ปลูกยางของประเทศไทยยังมีอัตราที่ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาวะวิกฤติน้ำมันเชื้อเพลิง มีสวนชวยสรางโอกาสใหกับยางธรรมชาติขึ้นมาอยูเหนือยางเทียม อยางไมคาดคิด ความตองการยางธรรมชาติในเชิงอุตสาหกรรมจึงสูงขึ้น ชวยฉุดใหราคายางพาราสูงตาม สงผลใหพื้นที่ปลูกยางพารา ขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว นอกจากปาบนพื้นที่สูงจะถูกแทนที่ดวย สวนยางพาราแลว บริเวณที่ราบลุมที่เคยเปนบานของพืชไร วันนี้ยังถูกแทนที่ดวยยางพาราจํานวนไมนอย ทั้งๆ ที่ผลผลิตเฉลี่ยตอไรจะต่ำมากก็ตาม เมื่อรวมพื้นที่ปลูกยางพาราของทั้งจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช เขาดวยกันพบวามีพื้นที่ปลูกยาง ทั้งสิ้นประมาณ 3,430,422 ไร ในจํานวนพื้นที่นี้พบวามีพื้นที่ปาอนุรักษรวมอยูดวยจํานวนหนึ่ง จากขอมูลภาพถายทางอากาศเมื่อป พ.ศ. 2545 ซึ่งกรมทรัพยากรปาไมลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ไดรายงาน โดยอางจากรายงานโครงการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ำทะเลสาบสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรและสิ่ง - แวดลอม  ปพ.ศ. 2548 พบวาพื้นที่ปาอนุรักษไดถูกบุกรุกประมาณ 23,618 ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่เหลานี้สวนใหญเปนพื้นที่ในเขตลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ที่ครอบคลุมบางสวนของจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช การรุกปาเพื่อเปลี่ยนเปนพื้นที่การเกษตร สืบเนื่องจากพื้นที่เดิม ดินเกิดสภาวะเสื่อมโทรมสงผลใหผลผลิตลดจํานวนลง การแกปญหาของเกษตรกรวิธีที่งายที่สุดก็คือการขยายพื้นที่ปลูก เพื่อให ผลิตตอไรคงที่หรือเพิ่มมากขึ้น แตดวยไมมีพื้นที่วางเปลาเหลืออยู เกษตรกรจึงเลือกที่จะรุกเขาไปทําแปลงเกษตรในพื้นที่อนุรักษซึ่งสวนใหญอยูในบริเวณพื้นที่ตนน้ำ แตดวยถูกปลูกฝงมาใหยึดติดกับระบบเกษตรกระแสหลักที่ยึดเอาเทคโนโลยีเปนตัวตั้ง เกษตรกรจึงทําเกษตร ในระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว สงผลใหสวนยางพาราทั้งหมดในทุกพื้นที่ เปนสวนยางพาราเชิงเดี่ยวทั้งสิ้น ในมิติที่เปนประโยชนของการจัดการ เกษตรกรรมระบบนี้เกษตรกรจะไดคาตอบแทนสูง แตจะชักนําใหตนทุนสูงตามไปดวย ทั้งนี้เพราะตองวิ่งตามเทคโนโลยีไปตลอดไม สิ้นสุด ในทางกลับกันหากพิจารณาในมิติความยั่งยืนของการจัดการเชิงเดี่ยวที่ปลูกในที่พื้นที่เดิมตอเนื่องกันประมาณ 3 รอบ ใชเวลา ประมาณ 60 ปหรือมากกวา จะพบวาอัตราการเจริญเติบโตของตน ยางพาราจะคอยๆ ลดขนาดลงตามลําดับ สงผลใหตนยางพารามี เปลือกบางลง และใหน้ํายางนอย เนื่องจากดินในแปลงปลูกพืช เชิงเดี่ยวเสื่อมคุณภาพลง ดวยเพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของดิน ทั้งทางดานกายภาพ เคมีและชีววิทยา ที่สืบเนื่องมาจากการ ใชปุยเคมีและสารเคมีในแปลงปลูกยางพาราเปนเวลายาวนาน หากเขาไปตรวจสอบความหลากหลายของการทําหนาที่ของ สรรพชีวิตที่ผิวดินและในดินของสวนยางพาราเชิงเดี่ยว จะพบวาความ หลากหลายของสัตวในดิน ที่ถูกออกแบบมาใหทําหนาที่ลดขนาดของ ซากพืช เพื่อสงตอใหจุลินทรียชวยยอยสลายนั้นลดลงทั้งชนิดและ จํานวน สวนจุลินทรียที่ถูกออกแบบมาใหทําหนาที่ยอยสลายเศษซาก เพื่อคืนธาตุอาหารใหกับดินเพื่อใหดินสงตอใหกับรากพืชนั้น ก็ลด จํานวนความหลากหลายไมตางไปจากสัตวในดิน ความหลากหลายของสรรพชีวิตในดิน มีผลใหการทําหนาที่ใน การขับเคลื่อนพลังงาน และวงจรธาตุอาหารเริ่มติดขัด ดวยเพราะดินมี ความแนนทึบมากขึ้น สงผลใหการแลกเปลี่ยนกาซ และการระบายน้ำ ทําไดไมดีตามปกติ ทําใหกลุมจุลินทรียที่ใชออกซิเจนเปนตัวรับ อิเล็กตรอนลดจํานวนประชากรลง ขณะเดียวกันเกิดการพัฒนาให  จุลินทรียที่ใชสารอื่นเปนตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งใหคาพลังงานต่ํากวาเขา มาแทนที่อยางคอยเปนคอยไป    การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุมจุลินทรียดังกลาว ทําให ประสิทธิภาพของการยอยสลายเศษซากของสรรพชีวิต เพื่อคืนธาตุ อาหารใหกับดินลดลงตามลําดับ เนื่องจากตัวรับอิเล็กตรอนที่ไมใช ออกซิเจนจะใหคาพลังงานต่ำกวา โดยเฉพาะหากเปนจุลินทรียใช สารอินทรียเปนตัวรับอิเล็กตรอนจะใหคาพลังงานต่ำที่สุด ผลลัพธที่ได คือกระบวนการยอยสลายเปนไปอยางเชื่องชา ทําใหเศษซากดังกลาว ตกคางอยูในดินเนิ่นนานกวาที่ควรจะเปน ขณะเดียวกันกลไกดังกลาว มีสวนสนับสนุนใหผิวอนุภาคดินมีไฮโดรเจนไอออนจับเกาะในปริมาณ มากขึ้น จึงไมใชเรื่องแปลกที่ดินจะคอยๆพัฒนาไปสูความเปนกรดขึ้น อยางตอเนื่อง การเสื่อมของคุณภาพดินยังสรางผลกระทบกับวงจรธาตุ อาหารของระบบนิเวศทั้งระบบ เชน วงจรของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและธาตุอาหารอื่น วงจรธาตุอาหารดังกลาวจะถูกตัดตอน ใหขาดเปนชวงๆ ระบบนิเวศของดินในพื้นที่ปลูกยางพาราจึงขับเคลื่อน วงจรธาตุอาหารลดประสิทธิภาพลงอยางตอเนื่อง สงผลใหขาดธาตุ อาหารจําพวกไนโตรเจนในดินลดจํานวนลง    สวนฟอสฟอรัสแมจะยังมี อยูก็มิอาจใชประโยชนไดเนื่องจากไมไดอยูในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำไดดวยเพราะดินเปนกรด ดินที่ขาดธาตุอาหารหรือมีธาตุอาหารแตอยูในรูปที่ใช ประโยชนไมได จัดเปนดินที่เสื่อมความอุดมสมบูรณพืชที่อาศัยอยูใน ดินลักษณะดังกลาวจึงเติบโตไดนอยและใหผลผลิตต่ำ ทางออกของ เกษตรกรอยางงาย ก็คือการนําเขาธาตุอาหารดังกลาวสูดินมากขึ้นตามลําดับ แตอยางไรก็ตามแมวาจะเพิ่มปุยเคมีลงไปเทาใดก็หาเปน ประโยชนไม เพราะดินที่เปนกรดทําใหธาตุอาหารฟอสฟอรัสไมแตกตัว เปนไอออน โดยจะอยูในรูปสารประกอบของโลหะเปนสวนใหญ รากพืชจึงไมสามารถนําเขาเพื่อใชประโยชนได ดังนั้นแมวาเกษตรกรจะเพิ่มปุยเคมีลงไปในดินมาก สักเพียงใด ก็จะไมเกิดประโยชนกับตนยางพารา    ดวยเพราะไม สามารถนําธาตุอาหารชนิดนี้เขาสูรากเพื่อสงตอไปยังสวนตางๆของ เนื้อเยื่อที่ไดรับคําสั่งมา สุดทายก็จะเกิดสภาวะขาดแคลนธาตุอาหาร ดังกลาวในที่สุด ผลกระทบที่ตามมาก็คือตนยางพาราจะแสดงออกถึง  การจํากัดการเจริญเติบโตขึ้นที่ใบพืช โดยใบแกจะแสดงอาการสีซีดลง และมีเซลลตายเกิดขึ้นที่บริเวณตัวใบ  สภาพดังกลาวทําใหใบใหมลด ขนาดลง ซึ่งสามารถสังเกตไดชัดเจนวาเล็กลงกวาปกติมาก นอกจากนั้นยังเกิดผลกระทบกับทั้งสวนของเปลือกและขนาดของลําตน โดยเปลือกตนยางพาราจะลดความหนาลง สงผลใหจํานวนของทอน้ำยางที่พัฒนาตามโปรแกรมของเซลลแมผูใหกําเนิดมีจํานวนนอย ตามไปดวย ทําใหสงผลกระทบกับการผลิตของเนื้อยางที่ผลิตไดในรอบ วัน นั้นคือปริมาณเนื้อยางที่ผลิตไดลดจํานวนลงไปดวย เมื่อหันกลับมาพิจารณามิติของการปลูกยางพาราเชิง บูรณาการ ที่อาจเปนการใชพืชหลายชนิดปลูกแซม หรืออาจพัฒนาให ซับซอนสูการสรางสังคมพืช จะพบวาวิธีนี้เปนวิธีที่สอดคลองกับ ธรรมชาติเนื่องจากมีสวนชวยใหโครงสรางของดิน ทั้งทางกายภาพ เคมีและชีววิทยา ไดมีการพัฒนาตนเองไปสูการสรางสัดสวนขององคประกอบของโครงสรางของดินใหเหมาะสม เชน หากดินมีสภาพ ทางกายภาพที่มีชองวางระหวางเม็ดดินติดตอเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ก็จะชวยใหอากาศแพรผานลงไปในดินไดลึกมากขึ้น ขณะเดียวกันชวย ใหคารบอนไดออกไซดที่ถูกกักเก็บสามารถแพรออกจากดินสู บรรยากาศไดไมยุงยาก รากพืชก็จะทําหนาที่ไดสมบูรณขึ้น ทุกครั้งที่ฝนตก หากดินมีชองวางระหวาง อนุภาคดินติดตอ เชื่อมโยงเปนเครือขายถึงกันอยางเปนระบบ การระบายน้ำลงสูดินชั้น ลางจะกระทําไดเปยมประสิทธิภาพ จะไมมีน้ำถูกกักขังอยูระหวางชองวางอนุภาคดิน สงผลใหรากพืชไมเครียดเพราะขาดออกซิเจน สําหรับหายใจ เมื่อดินสามารถกักอากาศเอาไวในชองวางระหวาง อนุภาคดินไดมาก ก็จะมีไนโตรเจนสําหรับให้  จุลินทรียตรึงเพื่อ เปลี่ยนเปนไนเตรต ขณะเดียวกันก็มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอสําหรับ ใหรากพืช สัตวในดิน และจุลินทรียใชในการหายใจเพื่อสรางพลังงาน หากการสรางพลังงานไมติดขัด การขับเคลื่อนวิถีภายในระบบชีวิตของ แตละสรรพชีวิตก็จะสะดวกและคลองตัว สงผลใหสภาวะแวดลอมของ ดินดีขึ้น สภาวะเชนวานี้จะสนับสนุนใหเกิดการชักนําใหสรรพชีวิตอื่นๆ ในที่อยูอาศัยอื่น ไดอพยพเขามามากขึ้นตามลําดับ หากเปนเชนนี้ไดก็ จะชวยใหดินพัฒนาไปสูสุขภาวะอยางตอเนื่อง ในธรรมชาติพัฒนาการ ของสังคมพืชไดใ ห ความสําคัญ กับความ หลากหลายของพันธุกรรม ทั้งพืช สัตวและจุลินทรีย ไดมีสวนรวมในการทําหนาที่ อ ยางเปนระบบ กรอบ ความคิด ดังกลาวมีสวน สนับสนุนใหเครื่องจักรมีชีวิต ในดินแตละภาคสวนไดทําหน้าที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหาร ใหเคลื่อนตัวไดเร็วขึ้น และขยายเครือขายสูวงกวางมากขึ้น ทําใหมีปุยธรรมชาติคืนกลับสูดิน เพียงพอสําหรับการเฉลี่ยและแบงปนกัน ผลลัพธก็คือความแข็งแรง ของระบบนิเวศที่จะทยอยคืนกลับมาอยางชาๆ แตมั่นคง สุดทาย ระบบเกษตรเชนวานี้จะกาวยางสูมิติของความยั่งยืน หากเราสรางกรอบคิดการปลูกยางพารา โดยอาศัยหลักการ และเหตุผลดังกลาวขางตน ก็จะมี สวนชวยใหสังคมพืชปายางพารา ไดปรับตัวจากความเปราะบางสูความแข็งแรงของระบบ แมวาจะมี การคุกคามที่ทําใหเกิดภาวะเครียด จากตัวแปรใดๆ ก็ตาม สรรพชีวิต ก็สามารถปรับตัวโดยอาศัยกลไกการปองกันตัวเอง ชวยแกปญหา ทั้ง การแกปญหาเฉพาะสวนตัวหรือการแกปญหาแบบมีสวนรวม เชน จุลินทรียกลุมหนึ่งอาจชวยกันแยงชิงอาหาร หรือตัวรับอิเล็กตรอน ของจุลินทรียกอโรค ทําใหจุลินทรียกอโรคขาดอาหาร หรือพลังงาน สุดทายจุลินทรียกอโรคจะคอยๆ ลดจํานวนประชากรลงตามลําดับ อยางตอเนื่อง และหายไปในที่สุดโดยเกษตรกรไมตองพึ่งพาสารเคมี ที่เปนพิษแตอยางใด สังคมพืชสวนยางพารา มองดูก็คลายกับสังคมพืชใน ปาดิบชื้น เพียงแตมีจํานวน เรือนยอดของพืชเสมือนรม ขนาดและรูปแบบที่ซอน เหลื่อมในแนวดิ่งจํานวนนอย กวา แตจํานวนที่นอยกวานี้ก็ สามารถทําหนาที่ชวยดูดซับ และสะทอนรังสีอัลตราไวโอเลตไมใหกระทบกับประชากร ของจุลินทรียโดยตรง ทั้งนี้เพื่อใหเครื่องจักรที่มีชีวิตเหลานี้ไดทําหนาที่ ผลิตอินทรียวัตถุ และชวยคืนกลับธาตุอาหารใหกับดินผานกลไกของ การยอยสลายเพื่อสงตอใหกับพืช ทํานองเดียวกันธรรมชาติยังได ออกแบบใหโปรโตซัว คอยทําหนาที่ควบคุมประชากรของแบคทีเรีย ไมใหเพิ่มจํานวนเร็วมากเกินไป ทั้งนี้เพื่อความสอดคลองกับปริมาณใบ พืชที่รวงหลน รวมทั้งเศษซากพืชที่มีจํานวนสอดคลองกับประชากร ของสัตวกินซาก หากเราสามารถเขาถึงทุก มิติของการทําหนาที่ของสรรพชวีติ ในสังคมพืชปายางพารา เราก็จะ เขาใจไดวา แทจริงสังคมพืช ยางพารา เปนระบบชีวิตในระดับ ของสังคมชีวิต ระบบชีวิตในระดับ ดังกลาวนี้สรรพสิ่งที่อยูรวมกันถูก ออกแบบมาใหรวมรับผิดชอบ ภารกิจหลักและภารกิจรอง ในลักษณะที่สัมพันธและเชื่อมโยง ผลลัพธของความสําเร็จในการ ทําหนาที่ในระบบชีวิต จะชวยทุกชีวิตภายในระบบสามารถอยูรอด การอยูรวมจึงมีสวนชวยใหแตละชีวิตไดสรางโอกาสของการอยูรอด นั่นคือ สรรพสิ่งยอมเปนไปตามธรรมชาติกิจกรรมของสรรพชีวิต ที่ทํางานอยางสัมพันธและเชื่อมโยง ชวยใหเกิดระบบภูมิคุมกันตาม ธรรมชาติซึ่งจะครอบคลุมไปถึงตัวเกษตรกรเองดวย เนื่องจากการทําสวนยางแบบสังคมพืชปายางพารา ไมมีความจําเปนตองพึ่งพาปุยเคมี หรือสารเคมีอื่นใดใหเปน  สวนเกินกลายเปนตนทุนการผลิตที่ เกษตรกรตองมาแบกรับโดยไมจําเปน เนื่องจากดินมีปริมาณธาตุ อาหารในระดับหนึ่งที่เกิดจากการหมุนเวียนของธาตุอาหารภายใน วงจรธาตุอาหารแตละวงจรอยูแลว และธาตุอาหาร  เหลานั้นตนพืช สามารถใชเจริญเติบโตไดตลอดชีพจักร การสรางสังคมพืชในสวนยางพาราใหม หรือการพัฒนา สังคมพืชในสวนยางพาราเชิงเดี่ยวลวนสนับสนุนใหเกิดกลไก ที่สอดคลองกับธรรมชาติภายในระบบเกษตร โดยมุงเนนการให ความสําคัญกับคุณภาพของสิ่งแวดลอม และวิถีชีวิตของเกษตรกรไดมีหลักประกันเกี่ยวกับความเสี่ยงของตนทุนและราคาซื้อขายที่ แปรผัน และที่สําคัญคือ ชวยประกันความเสี่ยงเกี่ยวกับการปนเปอน สารพิษและความเสื่อมโทรมของดิน ที่อาจพัฒนาไปสูตนทุนที่สูงมาก ขึ้นในอนาคต เนื่องจากอาจกอผลกระทบใหสรรพชีวิตทั้งตนน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ ซึ่งนําไปสูหายนะที่ไมอาจประมาณคาได

ขอมูลที่กลาวมาขางตนทั้งหมด ลวนบงชี้ใหเห็นวาระบบ เกษตรเชิงเดี่ยวในบริเวณพื้นที่ปาตนน้ำ นาจะเปนจุดเริ่มตนของ ประเด็นปญหาหลายๆ ประเด็นที่สัมพันธและเชื่อมโยงกันอยางเปน ระบบ จากตนน้ำสูปลายน้ำ และรายทาง กอใหเกิดผลกระทบกับ สรรพชีวิตที่เปนสวนประกอบของโครงสรางระบบนิเวศ ภายใตระบบ ธรรมชาติที่ซับซอน หากประสงคจะแกปญหาดังกลาวจะตองมองให ครบทุกมิติหลังจากนั้นจึงเริ่มตนแกปญหาแบบมีสวนรวมโดยเริ่มที่ตนน้ำ แลวเชื่อมโยงสูกลางน้ำและปลายน้ำอยางเปนระบบ ถึงจะทํา ใหทุกขของสรรพสิ่งของลุมน้ําคอยๆ คลี่คลายลงอยางมีพัฒนาการ
ด้วยเหตุนี้ กลุ่มวิถีชุมชนคนเกษตรร่วมกับกลุ่มเครือข่ายคนอินทรีย์วิถีเมืองลุง จึงได้จัดทำฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง เพื่อปรับกระบวนทัศน์ในการทำสวนยางพาราของคนเมืองลุงให้เปลี่ยนจากระบบพืชเชิงเดี่ยวไปสู่ระบบพืชร่วมยางขึ้น รวมถึงสร้างและพัฒนากลไกเครือข่ายภาคประชาชน เกษตรกรคนเล็กคนน้อยในชุมชนพัทลุง ให้รู้และตระหนักถึงการพิษภัยของการใช้สารเคมีทางการเกษตร โดยมีเป้าหมายสำคัญในการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดของภาคประชาชนในการสร้างพัทลุงให้เป็นเมืองสีเขียวเกษตรกรชาวสวนยางมีรายได้ที่มั่นคง

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางในจังหวัดพัทลุงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการผลิตพืชร่วมยาง
  1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถวิเคราะห์ชนิดพันธุ์พืชที่จะปลูกในพื้นที่ของตนเองและสามารถขยายพันธุ์พืชได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  2. เกิดโรงเรียนใต้โคนยางอย่างน้อย 3 แห่ง
90.00
2 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเป็นพื้นร่วมยาง
  1. เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 35 ครัวเรือน
  2. เกิดกลุ่มเครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชในป่ายางอย่างน้อย 1 กลุ่ม
35.00
3 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนป่าร่วมยางและให้มีการสร้างกลไกการตลาดที่เอื้อต่อการเกษตรแบบพืชร่วมยาง
  1. เกิดธนาคารพันธุ์พืชอย่างน้อย 2 แห่ง
  2. เกิดกติกากลุ่มเกษตรกรพืชร่วมยาง
  3. เกิดข้อตกลงร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เกี่ยวกับการกระจายและการรับซื้อผลผลิตของเครือข่ายพืชร่วมยาง 4 เกิดตลาดอินทรีย์วิถีคนป่ายางอย่างน้อย 1 แห่ง
2.00
4 เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุง
  1. เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 200 ไร่
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อไร่ต่อเดือน
200.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เกษตรกรชาวสวนยางในจังหวัดพัทลุง 50 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 100,963.00 11 101,150.00
7 ธ.ค. 61 11. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลทุกเดือนครั้งที่ 1 0 2,600.00 2,600.00
6 ม.ค. 62 4 เรียนรู้การบริหารจัดการสวนยางเพื่อการเพิ่มรายได้และการฟื้นฟูแผ่นดินอย่างยั่งยืน 0 13,300.00 11,300.00
24 ม.ค. 62 เวทีเรียนรู้ออกแบบการปรับเปลี่ยนส่วนยางสู่พื้นที่พืชร่วมยาง (ครั้งที่ 1) 0 13.00 13,550.00
25 ม.ค. 62 11.ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 0 2,600.00 2,600.00
21 ก.พ. 62 เวทีสาธารณะเพื่อปรับกระบวนการสวนยางสู่ป่ายาง 0 18,800.00 18,800.00
25 ก.พ. 62 11. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 0 2,600.00 -
20 มิ.ย. 62 12. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 0 4,000.00 4,500.00
21 มิ.ย. 62 8. จัดตั้งธนาคารพันธุ์พืชพืชพื้นถิ่น 0 7,000.00 7,000.00
28 มิ.ย. 62 5. สน้บสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยาง 0 23,600.00 23,600.00
18 ก.ค. 62 7. จัดตั้งธนาคารปุ๋ยหมัก 0 4,200.00 4,200.00
26 ส.ค. 62 12. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาการดำเนินงาน ครั้งที่2 0 3,750.00 3,000.00
5 ก.ย. 62 10. ส่งเสริมการกระจายผลผลิตจากเครือข่ายคนป่ายางสู่ชุมชน 0 10,000.00 10,000.00
26 ก.ย. 62 13. เวทีสรุปผลการดำเนินโครงการ 0 8,500.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2562 20:45 น.