directions_run

ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ”

ม.2 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมปอง ทองหนูนุ้ย

ชื่อโครงการ ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ม.2 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและเข้าใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี (3) เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี (4) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนดำเนินงานร่วมกัน (2) ประชุมคณะทำงานจัดเก็บข้อมูลการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก (3) ครัวเรือนลงมือปฏิบัติปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี อย่างน้อยครัวเรือนละ ๕ ชนิด (4) เวทีให้ความรู้เกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน ในสวน ในไร่และแปลงผัก (5) แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ (6) ร่วมจัดทำข้อตกลงชุมชนเกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชนในการทำสวน ทำไร่และการผลิตผักปลอดสารพิษสำหรับบริโภคในครัวเรือนและติดตามการขยายผลการปลูกผักในครัวเรือน (7) ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบลดการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก (8) เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ปลอดสารพิษ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเข้ามามีส่วนร่วมทุกๆกิจกรรมเพื่อความยั่งยืน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อ ที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งมีอัตราป่วยต่อแสนประชากรดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด 119.10 โรคความดันโลหิตสูง 708.74 โรคหัวใจและหลอดเลือด 901.31 และสำหรับอัตราการตายต่อแสนประชากรมีดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด 85.04 โรคความดันโลหิตสูง 3.64 และโรคหัวใจและหลอดเลือด 55.29 (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2550) ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอโดยเฉพาะผักผลไม้ที่มีสารเคมี มีการปนเปื้อนของสารเคมีต่างๆ ความเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา เป็นต้น จากการสำรวจครัวเรือนที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการ ในเรื่องการปลูกผักผลไม้ ที่เพียงพอต่อการนำไปบริโภคในครัวเรือน การสำรวจรายจ่ายครัวเรือนที่ใช้ซื้อผักผลไม้ในสัปดาห์ล่าสุด และปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน จากการมีส่วนร่วมของแกนนำและคนในหมู่บ้าน พบว่า 1. มีครัวเรือนจำนวน 42 ครัวเรือนจากครัวเรือนทั้งหมด จำนวน 245 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 17.55 ที่ปลูกผักผลไม้โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพในปัจจุบัน โดยมีการปลูกผักสวนครัวชนิดต่างๆ เช่น ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว แตงกวา มะเขือ พริก คะน้า เหล้านี้เป็นต้น ปลูกไว้บริโภคในครัวเรือน หากเหลือจากการบริโภคจะแบ่งขายในชุมชน นอกจากนั้นยังมีการทำไร่ถั่วลิสง ปลูกกล้วยชนิดต่างๆ และมีการทำสวนผลไม้ เช่น สวนทุเรียน สวนมังคุด สวนเงาะ เป็นอาชีพเสริม 2. ข้อมูลการตรวจสารเคมีในเลือดของเกษตรกรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปู่ ทั้งหมด 225 คน พบว่ามีประชาชนมีภาวะเสี่ยงของสารเคมีในเลือด จำนวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 27.55 และผิดปกติจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 5.33 3. ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในการซื้อพืชผักผลไม้จากตลาดและรถพ่วง ต่อสัปดาห์ จำนวน 550 บาท และยังมีปัญหาอุปสรรคด้านความต่อเนื่องและการปฏิบัติตามมาตรการอย่างจริงจัง ตลอดจนขาดความหลากหลายในเรื่องชนิดพืชที่ปลูกในชุมชน ชุมชนฯ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักผลไม้ โดยไม่ใช้สารเคมีในชุมชมขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปลูกผักผลไม้ปลอดภัยในปริมาณมากขึ้น ให้เพียงพอต่อการนำไปบริโภคในครัวเรือน และแลกเปลี่ยน หรือขายในชุมชน เพื่อสนับสนุนให้คนในชุมชนมีโอกาสได้ทานผักผลไม้ที่ปลอดภัยมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและเข้าใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี
  3. เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี
  4. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนดำเนินงานร่วมกัน
  2. ประชุมคณะทำงานจัดเก็บข้อมูลการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก
  3. ครัวเรือนลงมือปฏิบัติปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี อย่างน้อยครัวเรือนละ ๕ ชนิด
  4. เวทีให้ความรู้เกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน ในสวน ในไร่และแปลงผัก
  5. แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ
  6. ร่วมจัดทำข้อตกลงชุมชนเกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชนในการทำสวน ทำไร่และการผลิตผักปลอดสารพิษสำหรับบริโภคในครัวเรือนและติดตามการขยายผลการปลูกผักในครัวเรือน
  7. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบลดการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก
  8. เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ปลอดสารพิษ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ตัวแทนครัวเรือน 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนดำเนินงานร่วมกัน

วันที่ 24 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                      กิจกรรม 09.00 - 09.30 น.      ลงทะเบียน 09.30 - 12.00 น.      ผู้รับผิดชอบโครงการประชุมชี้แจงคณะทำงานถึงกิจกรรมโครงการ 12.00 - 13.00 น.      พักรับประทานอาหาร 13.00 - 14.00 น.      ประชุมวางแผนกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 40 คน ทุกคนที่ร่วมประชุม 40 คนมีความเข้าใจเกียวกับกิจกรรมโครงการทุกคน

 

40 0

2. ประชุมคณะทำงานจัดเก็บข้อมูลการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก

วันที่ 26 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                            กิจกรรม 09 .00 – 09.30 น.                ลงทะเบียน 09.30 – 12.00 น.                ประชุมรวบรวมข้อมูลจากชุมชนเพื่อทำแบบสอบถาม 12.00 – 13.00 น.                พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.                แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างแบบสอบถามและแบ่งพื้นที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 40 คน ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนมีส่วนร่วมในการออกแบบสอบถาม และร่วมกันวางแผนการจัดเก็บข้อมูลตามพื้นที่ต่างๆ

 

40 0

3. เวทีให้ความรู้เกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน ในสวน ในไร่และแปลงผัก

วันที่ 3 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 09 .00 – 09.30 น.                                ลงทะเบียน 09.30 – 12.00 น.                                ให้ความรู้เรื่องการล้างผักและวิธีการป้องกันตนเองในการใช้สารเคมี 12.00 – 13.00 น.                                พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.                                ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารเคมีสำหรับบริโภคในครัวเรือนและสาธิตการทำน้ำยาไล่แมลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 100 คน โดยผู้ร่วมประชุมมีความรู้ตามกิจกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 85 และจากกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการล้างผักผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มขึ้นก่อนการให้ความรู้ร้อยละ 87 และกิจกรรมให้ความรู้วิธีการป้องกันตนเองในการใช้สารเคมีผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 90 ส่วนกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารเคมีสำหรับบริโภคในครัวเรือนและสาธิตการทำน้ำยาไล่แมลงผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 90

 

100 0

4. ครัวเรือนลงมือปฏิบัติปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี อย่างน้อยครัวเรือนละ ๕ ชนิด

วันที่ 4 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 13 .00 – 13.30 น.                                ลงทะเบียน 13.30 – 13.50 น.                                คัดแยกพันธ์ผักเพื่อปลูกในครัวเรือน 13.50 – 14.00 น.                                พักรับประทานอาหารว่าง 14.00 – 16.30 น.                              ร่วมกันทำปุ๋ยหมักเพื่อนำไปใช้ในการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 42 ครัวเรือน มีการแบ่งพันธ์ุผักเพื่อปลูกในครัวเรือน ครัวเรือนละ 5 ชนิด มีการร่วมกันทำปุ๋ยหมักชีวภาพจำนวน 100 กระสอบ

 

42 0

5. แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ

วันที่ 21 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                    กิจกรรม 08.30-09.00        ลงทะเบียน 09.30 - 10.00      แนะนำและสอนเรื่องการแปรรูปกล้วยเป็นกล้วยฉาบ 10.00- 12.00        แนะนำการแปรรูปถั่วเป็นถั่วลิสงอบโอวัลติณ 12.00 - 13.00      พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 15.00      แนะนำการแปรรูปกล้วยเป็นกล้วยม้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดประชุมอบรมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษเพื่อเพิ่มมูลค่า นั้น มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 40 คนมี ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ในการแปรรูปกล้วยเป็นผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบ กล้วยม้วน และถั่วอบโอวัลติน

 

40 0

6. ร่วมจัดทำข้อตกลงชุมชนเกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชนในการทำสวน ทำไร่และการผลิตผักปลอดสารพิษสำหรับบริโภคในครัวเรือนและติดตามการขยายผลการปลูกผักในครัวเรือน

วันที่ 5 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                          กิจกรรม 10.00 -10.30 น.      ลงทะเบียน 10.30 - 12.00 น.      คณะทำงานคืนข้อมูลการปลูกผักปลอดสารพิษให้กับกลุ่มเป้าหมายรับทราบ 12.00 - 13.00 น.      พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น.      ร่วมจัดทำข้อตกลงมาตรการหมู่บ้าน ลดละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมร่วมจัดทำข้อตกลงชุมชนเกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมวางมาตรการ 72 คน โดยที่ประชุมมีการแลกเปลี่ยนกันเรื่องการลดใช้สารเคมี รวมถึงการดูแลผลผลิตทางการเกษตรเช่นผักและผลไม้ จากที่ประชุมได้กำหนดมาตรการหรือข้อตกลงร่วมกันเป็นแนวทางเดียวกัน

 

100 0

7. เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ปลอดสารพิษ”

วันที่ 14 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                  กิจกรรม 08.00- 08.30 น.            ลงทะเบียน 08.30 - 08.45 น.            กล่าวรายงาน โดย นายสมปอง  ทองหนูนุ้ย ผู้รับผิดชอบโครงการ 08.45 - 09.00 น.            เปิดงานกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผู้ใหญ่บ้าน 09.00 - 11.00 น.            ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมบูธ ผักปลอดสารพิษ พร้อมแลกเปลียนเรียนรู้กัน 11.00 - 12.00 น.          นำเสนอการปลูกผักปอดสารพิษของแต่ละครัวเรือนในชุมชน 12.00 - 13.00 น.          พักรับประธานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น.          ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษสู่การจำหน่ายในตลาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครัวเรือนจำนวน  45 ครัวเรือนนำผักมาจัดนิทรรศการพร้อมจำหน่ายในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.ตัวแทนครัวเรือนจำนวน  112 ครัวเรือนเกิดการเรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

50 0

8. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบลดการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก

วันที่ 17 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                  กิจกรรม 07.30 - 08.00 น.              ลงทะเบียน 08.00 - 10.00 น.              เดินทางจากบ้านใสประดู่ ถึง บ้านกล้วยเภา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง 10.00 - 12.00 น.              รับฟังการบรรยายจากวิทยากร 12.00 -13.00 น.                พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 15.00 น.              เดินทางกลับถึงบ้านใสประดู อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 ได้เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่บ้านกล้วยเภา

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ๑.มีคณะทำงานไม่ต่ำกว่า ๑๐ คน ๒.มีการประชุมคณะทำงานอย่างต่อเนื่อง ๓.มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน
0.00 10.00

บางกิจกรรมต้องใช้บุคลากรเยอะแต่คณะทำงานมีเพียง10คน ทำให้การทำงานของแต่ละคนงานจะเยอะไปหน่อยและบางทีต้องขอแรงจากครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายเข้ามาช่วยเพื่อให้งานเสร็จเร็วขึ้นและได้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ

2 เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและเข้าใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี
ตัวชี้วัด : ๑.ชุมชนรับรู้สถานการณ์ปัญหาและผลที่เกิดจากการใช้สารเคมีร้อยละ ๗๐ ๒.ครัวเรือนมีความรู้และสามารถในการทำปุ๋ยหมักแห้ง หมักน้ำ และสารไล่แมลงไปใช้เองร้อยละ ๗๐
0.00 171.00

บางทีเกษตรกรเกิดความท้อใจเนื่องจากผลผลิตที่ได้น้อย แมลงศัตรูพืชที่ต้องคอยระวังอยู่ตลอดแต่ราคาผลผลิตกลับไม่ต่างกันกับราคาผักทั่วไปตามท้องตลาด

3 เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี
ตัวชี้วัด : ๑.ครัวเรือนเข้าร่วมปลูกผักปลอดสารเคมีร้อยละ ๗๐ ๒.ครัวเรือนมีการปลูกผักปลอดสารพิษอย่างน้อย ๕ ชนิดร้อยละ๘๐ ๓.มีกฎกติกาของชุมชน
0.00 30.00

ในบางครัวเรือนที่มีพื้นที่ปลูกมากๆ สามารถปลูกผักได้ปริมาณที่มากจนยึดเอาเป็นอาชีพหลักไปเลยเพื่อส่งผักขายในตลาดนอกชุมชน

4 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ๑.ครัวเรือนรับประทานผักปลอดสารพิษ ร้อยละ ๘๐ ๒.ผลการตรวจสารเคมีในเลือดผลระดับปกติและระดับปลอดภัยอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ๓.ปริมาณการใช้สารเคมีลดลง ร้อยละ ๕๐
0.00 245.00

ผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดครั้งที่2 จากกลุ่มเป้าหมายเดียวกันกับที่ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดครั้งที่1 พบว่ามีความเปลี่ยนแปลงคือ พบบุคคลที่มีความเสี่ยงเพียง6คนจากเดิมครั้งแรกมีถึง62คน และไม่พบบุคคลที่ไม่ปลอดภัยซึ่งจากเดิมมีีถึง12คน นี่คือผลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรรมการเลือกบริโภคผักที่ปลอดภัยที่สามารถหาบริโภคได้ในชุมชนของตัวเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ตัวแทนครัวเรือน 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและเข้าใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี (3) เพื่อให้ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี (4) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนดำเนินงานร่วมกัน (2) ประชุมคณะทำงานจัดเก็บข้อมูลการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก (3) ครัวเรือนลงมือปฏิบัติปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี อย่างน้อยครัวเรือนละ ๕ ชนิด (4) เวทีให้ความรู้เกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชน ในสวน ในไร่และแปลงผัก (5) แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ (6) ร่วมจัดทำข้อตกลงชุมชนเกี่ยวกับการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของคนในชุมชนในการทำสวน ทำไร่และการผลิตผักปลอดสารพิษสำหรับบริโภคในครัวเรือนและติดตามการขยายผลการปลูกผักในครัวเรือน (7) ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบลดการใช้สารเคมีในการทำสวน ทำไร่และการปลูกผัก (8) เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ปลอดสารพิษ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเข้ามามีส่วนร่วมทุกๆกิจกรรมเพื่อความยั่งยืน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดตลาดนัดผักผลไม้ปลอดสารพิษในชุมชน

เกิดตลาดนัดในชุมชนทุกเช้าวันจันทร์และเช้าวันศุกร์โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำสินค้าผักและผลไม้ปลอดสารเคมีมาแลกเปลี่ยนจำหน่ายให้กับคนในชุมชนได้เลือกซื้อนำกลับไปบริโภค

ขยายครัวเรือนในการปลูกผักปลอดสารเคมีเพิ่มเพื่อขยายสินค้าออกสู่ตลาดภายนอกเพราะตอนนี้มีตลาดสวนไผ่ที่รองรับสินค้าผักและผลไม้ปลอดสารเคมีรองรับและรับซื้ออยู่ทุกเช้าวันเสาร์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดกระบวนการทำงานแบบกลุ่มโดยมีโครงสร้างกลุ่ม

มีการบริหารจัดการกลุ่ม/มีโครงสร้างกลุ่ม/มีกติกาข้อตกลงกลุ่ม/มีการติดตามผลการดำเนินงานเป็นระยะและมีการประเมินถึงผลลัพธ์และอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินกิจกรรรม

เสริมสร้างความรู้ให้สมาชิกกลุ่มโดยการศึกษาดูงาน/ให้ความรู้โดยผู้เชี่ยวชาญหรือชำนาญในแต่ละด้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การเคารพกฎกติกากลุ่ม/การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน

มีการติดตามครัวเรือนปลูกผักปลอดสารเคมีอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยสองสัปดาห์/หนึ่งครั้งและนำผลการติดตามมาประเมินร่วมกันในวงประชุมประจำเดือน

หาแนวทางเพื่อเพิ่มความตระหนักให้กับเกษตรกรผู้ปลูกผักและผลไม้แบบปลอดสารเคมีเพิ่มจำนวนมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-เกิดกลุ่มทำปุ๋ยหมักแห้ง/เปียก -เกิดกลุ่มผลิตสารชีวภัณฑ์ -เกิดกลุ่มแปรรูปกล้วยไข่แก้ว -เกิดกลุ่มแปรรูปถั่วลิสงอบโอวัลติน

-มีโครงสร้างกลุ่ม -มีการบริหารจัดการกลุ่ม -มีการประชุมกลุ่ม -มีภาพถ่ายประกอบยืนยัน

ขยายความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก/สารชีวภัณฑ์ให้กับครัวเรือนเพื่อสามารถกลับไปทำและใช้เองได้เลยขยายตลาดสินค้าแปรรูปออกสู่ตลาดภายนอก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ครัวเรือนมีการบริโภคผักและผลไม้ปลอดสารเคมีคิดเป็นร้อยละ80ของครัวเรือนทั้งหมด245ครัวเรือน

ครัวเรือนมีความตระหนักในการเลือกผักและผลไม้ที่ปลอดสารเคมีเพื่อบริโภคเนื่องจากผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดผลครั้งแรกพบกลุ่มเสี่ยงจำนวน62คนและไม่ปลอดภัยจำนวน12คน

เติมเต็มความรู้เรื่องอันตรายที่เกิดจากสารเคมีตกค้างและให้ความรู้เรื่องการเลือกบริโภคผักและผลไม้ที่ปลอดสารเคมี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การลด ละ เลิก การใช้สารเคมีใน ผัก ผลไม้ และในสวนยางพารา

ครัวเรือนมีการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีโดยหันมาใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพแทน

กลุ่มทำปุ๋ยหมักเปิดรับสมาชิกเพิ่มและเพิ่มปริมาณการทำปุ๋ยหมักให้มากพอกับความต้องการของเกษตรกร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

เกิดกลุ่มอาชีพใหม่ในชุมชนทำให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น/และการลดต้นทุนการผลิตทำให้ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนลดลง

เกิดกลุ่มทำปุ๋ยหมัก/เกิดกลุ่มผลิตสารชีวภัณฑ์/เกิดกลุ่มแปรรูปผลผลิต

ให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องการแปรรูปผลผลิตให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกติการ่วมกันที่ทุกคนต้องยึดปฎิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเงื่อนไขที่วางไว้

มีกติกากลุ่มที่ชัดเจน คือ ต้องไม่ใช้สารเคมีทุกชนิด ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี ปลูกแล้วต้องบริโภคด้วย ต้องปลูกไม่น้อยกว่า5ชนิด

เพิ่มจำนวนครัวเรือนในการปลูกและบริโภคผักและผลไม้ปลอดสารเคมี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อมโยงกับตลาดภายนอกชุมชน

มีการส่งผักให้กับตลาดสวนไผ่และตลาดของโรงพยาบาลควนขนุน

รณรงค์ให้มีการปลูกเพิ่มเพื่อขยายสินค้าออกสู่ภายนอกเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการติดตามประเมินปัญหาและหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกันโดยผ่านเวทีประชุม

มีการประชุมและร่วมกันแสดงความคิดเห็นประเมินปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินกิจกรรมทุกๆเดือน

ยกระดับบุคคลต้นแบบในแต่ละด้านให้เป็นปราชญ์ชาวบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการปลูกผักหมุนเวียนอย่างต่อเนื่องให้เหมาะสมกับพื้นที่ปลูกและเพิ่มชนิดให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น

มีการปลูกไม่น้อยกว่า5ชนิดในแต่ละครัวเรือน

มีการสำรวจผักยอดฮิตที่ตลาดต้องการโดยการปลูกเพิ่มเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ทุกครัวเรือนในชุมชนมีผักบริโภคซึ่งเกิดจากผลผลิตของคนในชุมชน มีผักเพียงพอกับคนในชุมชนและสามารถนำออกสู่ตลาดภายนอกได้

ครัวเรือนส่วนใหญ่มีผักปลอดสารเคมีอยู่รอบๆบ้าน

เสริมสร้างความรู้เรื่องการใช้ชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนบ้านใสประดู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมปอง ทองหนูนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด