directions_run

ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางบุญเรียง พันธ์พงค์

ชื่อโครงการ ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการทำงานร่วมกัน (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลขยะในชุมชน (3) สำรวจและจัดเก็บข้อมูลปริมาณขยะก่อนดำเนินกิจกรรม (4) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 1 (5) อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (6) จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในลดการนำเข้าขยะในชุมชน เพื่อยกร่างกฎกติกาของชุมชน ขอมติ และประกาศใช้ในชุมชน (7) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 2 (8) ประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ (9) เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ปลอดขยะ” (10) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เทศบาลควรให้ความสำคัญและให้การสนับสนุนชุมชนทุกกิจกรรม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกัน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง เพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้ในชุมชนทุกระดับชั้น ลักษณะของปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากการจัดการขยะไม่ถูกวิธี หรือมีขยะมากจนไม่สามารถดำเนินการจัดเก็บ หรือเก็บขน หรือกำจัดให้หมดในวันเดียว ขยะจึงตกค้างในชุมชน ซึ่งสาเหตุหลัก คือ การเพิ่มอย่างรวดเร็วของจำนวนประชากร ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นและเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบหลาย ๆ ด้าน ชุมชนบ้านควนเหลง หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด ๑๙๘ ครัวเรือน นับเป็นอีกชุมชนหนึ่งที่ประสบปัญหาการจัดการขยะในชุมชน จากการสำรวจปริมาณขยะของชุมชนบ้านควนเหลง หมู่ที่ ๕ บ้านควนเหลง ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง พบว่า มีปริมาณขยะของแต่ละครัวเรือนประมาณ ๖ กิโลกรัม/สัปดาห์ แยกชนิดเป็นขยะแห้ง ๒ กิโลกรัม ขยะเปียก ๓.๘ กิโลกรัม ขยะ และขยะอื่น ๆ ๐.๒ กิโลกรัม จากการที่ประชาชนขาดความรู้และขาดแนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้อง จึงทำให้มีปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น โดยจากผลการศึกษาชุมชนพบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่คัดแยกขยะไม่ถูกวิธีร้อยละ ๙๘ และกำจัดโดยการเผาที่ไม่ถูกวิธีร้อยละ ๙๗.๗๓ หากครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ไม่ถูกวิธีแล้ว ขยะก็จะกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงนำโรคต่าง ๆ ซึ่งพบว่าครัวเรือนมีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงนำโรคต่าง ๆ ร้อยละ ๙๑.๙๗ ซึ่งส่งผลกระทบกับคนในครอบครัว เช่น โรคอุจจาระร่วงซึ่งพบว่าในชุมชนบ้านควนเหลงมีการแพร่ระบาดของโรคอุจจาระร่วงซึ่งโรคอุจจาระร่วงนั้นมีความรุนแรงที่อาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิตได้โดยเฉพาะเด็กเล็กและผู้สูงอายุอันเนื่องมาจากภาวะการขาดน้ำ ดังจะเห็นได้จากจำนวนผู้ป่วยในปี ๒๕๖๐ ซึ่งคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ 3,420.47 และมีจำนวนผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี ซึ่งการป้องกันโรคดังกล่าวสามารถกระทำได้โดยการจัดการกับขยะไม่ให้เหมาะสมกับการเป็นแปลงเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงนำโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการทำงานร่วมกัน
  2. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลขยะในชุมชน
  3. สำรวจและจัดเก็บข้อมูลปริมาณขยะก่อนดำเนินกิจกรรม
  4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 1
  5. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  6. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในลดการนำเข้าขยะในชุมชน เพื่อยกร่างกฎกติกาของชุมชน ขอมติ และประกาศใช้ในชุมชน
  7. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 2
  8. ประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ
  9. เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ปลอดขยะ”
  10. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการทำงานร่วมกัน

วันที่ 20 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                      กิจกรรม 09.00 -09.30 น.      ลงทะเบียน 09.30 - 12.00 น.      ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงกิจกรรมโครงการให้แก่คณะทำงานรับฟัง 12.00-13.00 น.    พักรับประทานอาหาร 13.00-14.00 น.      วางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 40 คนจากกลุ่มเป้าหมาย 40 คน โดยทั้ง 40 คนมีความเข้าใจในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการร่วมกัน

 

40 0

2. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลขยะในชุมชน

วันที่ 24 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 09 .00 – 09.30 น.                                ลงทะเบียน 09.30 – 12.00 น.                                  ประชุมรวบรวมข้อมูลจากชุมชนเพื่อทำแบบสอบถาม 12.00 – 13.00 น.                                  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.                                  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างแบบสอบถามและแบ่งพื้นที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างแบบสอบถามและจัดเก็บปริมาณขยะในชุมชน ในวันที่ 24 ธันวาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมประชุมซึ่งประกอบด้วยคณะทำงาน ผู้นำชุมชน ทีมสุขภาพ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 40 คน โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่องปริมาณขยะในชุมชน รวมถึงแลกเปลี่ยนเรื่องชนิดของขยะในครัวเรือน ซึ่งทั้งหมดทั้ง 40 คน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บข้อมูล

 

40 0

3. สำรวจและจัดเก็บข้อมูลปริมาณขยะก่อนดำเนินกิจกรรม

วันที่ 28 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 09 .00 – 09.30 น.                                ลงทะเบียน 09.30 – 12.00 น.                                ประชุมแบ่งพื้นที่ในการสำรวจข้อมูลพร้อมลงพื้นที่เก็บข้อมูล 12.00 – 13.00 น.                                พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 1ุ6.30 น.                                จัดเก็บข้อมูลต่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากกิจกรรมสำรวจข้อมูลปริมาณขยะในชุมชนบ้านควนเหลง หมู่ที่ 5 ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงโดยคณะทำงานจำนวน 40 คน โดยมีครัวเรือนเป้าหมายทั้งหมด 192 หลังคาเรือน จากการเก็บข้อมูลโดยคณะทำงานได้ดำเนินการเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด 160 หลังคาเรือน

 

40 0

4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 1

วันที่ 4 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                            กิจกรรม 13 .00 – 13.30 น.                ลงทะเบียน 13.30 – 13.50 น.                แบ่งหน้าที่รับผิดชอบการเก็บขยะและรณรงค์การคัดแยก 13.50 – 14.00 น.                พักรับประทานอาหารว่าง 14.00 – 16.30 น.                จัดเก็บขยะและรณรงค์การคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 60 คน มีการรณรงค์การจัดเก็บขยะบริเวณถนน โดยได้รับความร่วมมือจากเทศบาลตำบลดอนทราย และได้รับการสนับสนุนรถประชาสัมพันธ์พร้อมบุคลากรจากเทศบาล โดยมีการจัดเก็บขยะจากคูถนน ได้ปริมาณขยะทั้งหมด 35 กิโลกรัม

 

60 0

5. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 09 .00 – 09.30 น.                                ลงทะเบียน 09.30 – 12.00 น.                                อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ 12.00 – 13.00 น.                                พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.                                แนวทางการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 67 คนจากเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุม ุ60 คน โดยได้มีการสอนการคัดแยกขยะ โดยผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมดมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 95 และนำเสนอข้อมูลจากการเก็บข้อมูลนำเสนอนี้

 

50 0

6. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในลดการนำเข้าขยะในชุมชน เพื่อยกร่างกฎกติกาของชุมชน ขอมติ และประกาศใช้ในชุมชน

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 13 .00 – 13.30 น.                                ลงทะเบียน 13.30 – 14.00 น.                                ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการลดการนำเข้าถุงพลาสติก 14.00 – 14.10 น.                                พักรับประทานอาหารกลางวัน 14.10 – 14.30 น.                              iร่วมกันกำหนดมาตรการลดขยะของหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางมาตรการในการลดการนำเข้าขยะในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 66 คน โดยได้มีการกำหนดมาตรการและข้อตกลงในการจัดการขยะในชุมชน 1 ฉบับ

 

60 0

7. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 2

วันที่ 4 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                                      กิจกรรม 13 .00 – 13.30 น.                                ลงทะเบียน 13.30 – 13.50 น.                                แบ่งหน้าที่รับผิดชอบการเก็บขยะและรณรงค์การคัดแยก 13.50 – 14.00 น.                                พักรับประทานอาหารว่าง 14.00 – 16.30 น.                              จัดเก็บขยะและรณรงค์การคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 60 คน มีการรณรงค์การจัดเก็บขยะบริเวณถนน โดยได้รับความร่วมมือจากเทศบาลตำบลดอนทราย และได้รับการสนับสนุนรถประชาสัมพันธ์พร้อมบุคลากรจากเทศบาล โดยมีการจัดเก็บขยะจากคูถนน ได้ปริมาณขยะทั้งหมด 28 กิโลกรัม

 

60 0

8. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 3

วันที่ 3 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา                                    กิจกรรม 13.00 - 13.30 น.                  ลงทะเบียน 13.00 - 15.00 น.                  รณรงค์เก็บขยะบริเวณคูถนนตลอดสายบ้านควนเหลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินการรณรงค์จัดเก็บขยะ มีการร่วมกันจัดเก็บขยะตลอด 2 เส้นทางถนน มีผู้เข้าร่วมเก็บขยะจำนวน 70 คน

 

60 0

9. ประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ

วันที่ 26 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 26 มิถุนายน 2562 เวลา                          กิจกรรม 09.00 - 09.30 น.        ลงทะเบียน 09.30 - 10.00 น.          ชี้แจงรายละเอียดของการประกวด 10.00 - 12.00 น.          ลงประเมินบ้านต้นแบบ 12.00 - 13.00 น.          พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น.          ลงประเมินบ้านต้นแบบ วันที่ 27  มิถุนายน 2562 09.00 - 09.30 น.        ลงทะเบียน 09.30 - 10.00 น.          วางแผนการลงประเมินบ้านต้นแบบ 10.00 - 12.00 น.          ลงประเมินบ้านต้นแบบ 12.00 - 13.00 น.          พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น.          สรุปผลการประกวดบ้านต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงประเมินบ้านต้นแบบโดยใช้เกณฑ์การประกวดบ้านต้นแบบโดยมีคณะกรรมการ ทั้งหมด 10 คน  ดำเนินการประเมินในวันที่ 26-27 มิถุนายน 2562 โดยดำเนินการสำรวจทั้งหมด 162 ครัวเรือน จากการประเมินผลมีครัวเรือนที่ได้คะแนนถึงเกณฑ์ครัวเรือน ต้นแบบ จำนวน 10 ครัวเรือน

 

10 0

10. เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ปลอดขยะ”

วันที่ 27 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ปลอดขยะ” วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ลานกิจกรรมสี่แยกทางเข้าวัดบ่อพระโสภณประชาสรรค์

  เวลา                                      กิจกรรม ๐๘.๐๐ น. - ๐๘.๓๐  น.     ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ น. –  ๑๐.๐๐ น.           ประกวดสิ่งประดิษฐ์จากขยะ ๑๐.๐๐ น. –  ๑๐.๐๕ น.               พิธีเปิดกล่าวรายงานกิจกรรมโดย นายสุทธิพงค์  รักษ์พันธ์
                ผอ.รพ.สต. บ้านควนดินแดง ๑๐.๐๕ น. –  ๑๐.๓๐ น.                          ประธานในพิธีโดย ดร.ศุภพงค์ ทองศรีนุ่น นายกเทศมนตรีตำบลดอนทรายกล่าวเปิดงาน ๑๐.๓๐ น. – ๑๑.๐๐ น.                          มอบรางวัลครัวเรือนต้นแบบ ๑๑.๐๐ น. –  ๑๑.๓๐ น.                          มอบรางวัลสิ่งประดิษฐ์ ๑๑.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น.                          จับสลากมอบรางวัลสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น.                          พักรับประทานอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี่้ มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมทั้งหมด 132 คน แบ่งเป็น ตัวแทนครัวเรือน นักเรียน และผู้นำชุมชนโดยจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะใน ชุมชน มีการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากขยะ แบ่งเป็นความคิดสร้างสรรค์และแบบสวยงาม มีผลงานลงทะเบียนร่วมประกวดจำนวน 18 ผลงาน นอกจากนั้นยังมีการมอบรางวัลครัวเรือนต้นแบบ พร้อมทั้งให้ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนนำขยะที่ผ่านการคัดแยกมารวมกันเพื่อส่งต่อไปยังร้านรับซื้อของเก่าต่อไป

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานไม่ต่ำกว่า 10 คน 2.มีการประชุมคณะทำงานอย่างต่อเนื่อง 3.มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน
10.00 22.00

คณะทำงานประกอบด้วย อสม. ตัวแทนภาคประชาชน ผู้นำชุมชน จำนวน 22 คน

2 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีครัวเรือนเข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 60 ครัวเรือน 2.ครัวเรือนสามารถลงมือปฏิบัติบันทึกระบุวิธีการคัดแยกขยะได้อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 60 ครัวเรือน
0.00 72.00

มีครัวเรือนเข้าร่วมเรียนรู้การคัดแยกขยะจำนวน 85 ครัวเรือน

3 เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนไม่น้อยกว่า 60 หลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะ 2.มีครัวเรือนนำขยะไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 60 3.มีครัวเรือนต้นแบบเกิดขึ้นอย่างน้อย 10 ครัวเรือน 4.มีการรวบรวมขยะส่งขายเดือนละ 1 ครั้ง 5.ชุมชนมีกำหนดข้อตกลงมาตรการร่วมกัน อย่างน้อย 3 เรื่อง
0.00 72.00

1.มีครัวเรือนคัดแยกขยะจำนวน 72 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 36.36 จากครัวเรือนทั้งหมด 198 ครัวเรือน 2.ขยะอินทรีย์จากเดิม 20 กก.ต่อครัวต่อเดือน หลังดำเนินการ เหลือ ศูนย์ 3.ขยะรีไซเคิ้ล จากเดิม 12 กก.ต่อครัวต่อเดือน หลังดำเนินการ 4.ขยะอันตราย ยังไม่ดำเนิการ 5.ขยะทั่วไป จากเดิม 27 กก.ต่อครัวต่อเดือน หลังดำเนินการ 1 กก.ต่อครัวต่อเดือน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการทำงานร่วมกัน (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลขยะในชุมชน (3) สำรวจและจัดเก็บข้อมูลปริมาณขยะก่อนดำเนินกิจกรรม (4) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 1 (5) อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (6) จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในลดการนำเข้าขยะในชุมชน เพื่อยกร่างกฎกติกาของชุมชน ขอมติ และประกาศใช้ในชุมชน (7) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 2 (8) ประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ (9) เวทีสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ปลอดขยะ” (10) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เทศบาลควรให้ความสำคัญและให้การสนับสนุนชุมชนทุกกิจกรรม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีความรู้การคัดแยกขยะ การทำสิ่งประดิษฐ์ต่างๆจากขยะ การทำปุ๋ยหมัก จากขยะ

รูปภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการนำขยะอินทรีย์ไปทำสิ่งประดิษฐ์ เช่นทำที่ขูดสะตอ ทำเตาถ่าน ทำโคมไฟ ฯ ทำไม้กวาด จากขวดน้ำโค๊ก

สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ /รูปภาพ

ต่อยอดการทำสิ่งประดิษฐ์ในรูปแบบอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จัดการในรูปแบบคณะทำงานรวมกลุ่มทำปุ๋ย ทำสิ่งปรดิษฐ์

รูปภาพกิจกรรม

หาวิธีการใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีคณะทำงาน จำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน/กรรมการหมู่บ้าน/สท./อสม.

บันทึกรายงานการประชุม

เพิ่มคณะทำงานให้มีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การคัดแยกขยะในครัวเรือน

รูปภาพ

ขยายไปังครัวเรือนอื่นในหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การคัดแยกขยะในระดับครัวเรือนไม่มีขยะในที่สาธารณะ ไม่มีถังขยะในชุมชนมีการใช้ประโยชน์จากขยะ

รูปภาพ/สิ่งประดิษฐ์จากขยะ

ขยายพื้นที่ให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

นำขยะมาขาย /การจัดทำสิ่งประดิษฐ์จากขยะเช่นทำที่ขูดสะตอ ทำเตาถ่าน ทำโคมไฟ ฯ ทำไม้กวาด จากขวดน้ำโค๊ก เป็นการสร้างรายได้ให้กับครอบครัว

บันทึกการขายขยะ

ขยายไปยังครัวเรือนอื่นในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ชุมชนร่วมกันกำหนดข้อตกลงมาตรการร่วมกัน คือ
1.ไม่ทิ้งขยะข้างทาง 2.มาร่วมพัฒนา ทุก 3 เดือน

สมุดรายงานการประชุม /ป้ายกติกา

เพิ่มการบังคับใช้ให้ต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อมประสานกันกับคณะทำงาน จำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน/กรรมการหมู่บ้าน/สท./อสม.

บันทึกรายงานการประชุม

เพิ่มเครือข่ายนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

การสำรวจเก็บข้อมูลขยะก่อนหลังเข้าร่วมโครงการ

รายงานข้อมูลปริมาณขยะก่อน และหลัง

การจัดทำแผนต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ชุมชนเกิดความภาคภูมิใจจัดการตนเองได้ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

บันทึกการประชุม

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ควนเหลงร่วมใจ จัดการขยะสู่หมู่บ้านสุขภาวะ หมู่ที่ ๕ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญเรียง พันธ์พงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด