directions_run

ฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จ.พัทลุง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จ.พัทลุง
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 63-00169-0007
วันที่อนุมัติ 12 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 157,250.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายสุรสิทธิ์ สุวรรณโร
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุรสิทธิ์ สุวรรณโร
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวเบญจวรรณ เพ็งหนู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 1 มิ.ย. 2563 30 พ.ย. 2563 62,900.00
2 1 พ.ย. 2563 28 ก.พ. 2564 1 ธ.ค. 2563 30 ก.ย. 2564 78,625.00
3 1 มี.ค. 2565 31 มี.ค. 2564 15,725.00
รวมงบประมาณ 157,250.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ทะเลสาบสงขลาตอนกลางเป็นพื้นที่หนึ่งของทะเลสาบสงขลา อยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา และพัทลุง มีเนื้อที่ประมาณ 1000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตของพัทลุงได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว และอำเภอปากพะยู โดยมีประชากรที่ประกอบอาชีพประมงในพื้นที่นิเวศน์ของ
222.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ทะเลสาบสงขลาตอนกลางเป็นพื้นที่หนึ่งของทะเลสาบสงขลา อยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา และพัทลุง มีเนื้อที่ประมาณ 1000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตของพัทลุงได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว และอำเภอปากพะยู โดยมีประชากรที่ประกอบอาชีพประมงในพื้นที่นิเวศน์ของทะเลสาบตอนกลาง รวม 4 อำเภอ จำนวน 54 ชุมชน จำนวนครัวเรือน 2,800-3,000 ครัวเรือน (ข้อมูลองค์กรชาวประมงที่ทำกิจกรรมในการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลา,สมาคมรักษ์ทะเลไทย สิงหาคม 2562) จากจำนวนประชากรในพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นพื้นที่นิเวศนทะเลสาบตอนกลางที่มีประชากรจำนวนมากที่ประกอบอาชีพประมงอาศัยฐานทรัพยากรสัตว์น้ำเป็นอาชีพและรายได้หลักในการดำรงชีวิตถึงจำนวน 2,800-3,000 ครัวเรือน ส่งผลให้สัตว์น้ำลดปริมาณลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งมาจากสาเหตุการเพิ่มขึ้นของการใช้เครื่องมือประมงที่ทันสมัยและมีความหลากหลาย รวมถึงการทำประมงที่ผิดกฎหมายทำลายล้าง เช่น ไซหนอน โพงพาง ใช้ตาอวนขนาดเล็ก กอรปกับระบบนิเวศน์มีการเปลี่ยนแปลงจากโครงการพัฒนาต่างๆ เช่น การสร้างท่าเรือน้ำลึกสงขลาส่งผลสำคัญต่อการเปลี่ยนทิศทางไหลเวียนเดิมของสายน้ำที่ส่งผลทำให้เปลี่ยนแปลงทิศทางการเข้าออกของน้ำส่งผลต่อการเข้าออกของปลาที่มาวางไข่และเจริญเติบโตจากอ่าวไทยสู่ทะเลสาบ นอกจากนี้การปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือครัวเรือนในชุมชนส่งผลให้ทะเลสาบมีความเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ตลอดถึงการขุดลอกปิดกันหรือการเปลี่ยนทิศทางการไหลของน้ำจากป่าต้นน้ำถึงทะเลสาบทั้ง 7 สาย ถูกทำลายการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จึงเป็นส่วนสำคัญที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนิเวศน์ทะเลสาบทั้งระบบ ทำให้สัตว์น้ำที่เคยอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหาร “หม้อข้าวหม้อแกง” ของชาวประมงรอบทะเลสาบ มีจำนวนลดลงเหลือเพียง 420 ชนิดเท่านั้น (ศูนย์วิจัยสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดสงขลา 2560) อย่างไรก็ตามหากทะเลสาบไม่ได้มีการวางแผนในการแก้ปัญหาและฟื้นฟูที่เป็นระบบอย่างจริงจังจะส่งผลให้ชุมชนชาวประมงต้องเปลี่ยนอาชีพและเกิดการล่มสลายของชุมชนในที่สุด

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมาย ทิศทาง ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 10 ปีของ สสส. ที่ให้เกิดการกระจายโอกาสสร้างกลไกการทำงานร่วมของชุมชนและภาคีต่างๆ อันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งและเกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะและเป็นประเด็นคานงัดนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ร่วมกันกับจังหวัดพัทลุงในรูปแบบของ “พัทลุงสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี (Phatthalung Green City)” การดำเนินโครงการ “การขยายพื้นที่ เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับทะเลสาบสงขลาตอนกลาง ด้วยเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำชุมชน” โดยใช้กระบวนการต่างๆ (รายละเอียดอยู่ในแผนกิจกรรม) จึงมีความจำเป็นที่จะดำเนินการเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของชุมชนที่อยากเห็นทะเลมีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งอาหารทะเลที่ปลอดภัยและเพียงพอต่อผู้บริโภค อันจะนำไปสู่การสร้างหลักประกันความมั่นคงด้านอาหาร ซึ่งมีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุงดังกล่าวข้างต้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 สร้างความรู้ความตระหนักร่วมกันฟื้นฟูทะเลสาบ
  1. คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาสถาการณ์ทะเลสาบ
  2. ได้ข้อมูลได้ชนิดพันธุ์สัตว์น้ำและเครื่องมือการจับสัตว์น้ำบริเวณพื้นที่ทะเลสาบตอนกลาง
  3. ได้แผนการดำเนินงานของชุมชน
240.00
2 เกิดกลไกการทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล
  1. เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนงานโครงการไม่ต่ำกว่า 15 คน
  2. เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯพื้นที่ละไม่ต่ำกว่า 10 คน
  3. เกิดกติกาข้อตกลงในการดูแลเขตฯ
  4. ได้แผนการทำงานของประมงอาสาแต่ละพื้นที่
60.00
3 เกิดกลไกติดตามการทำงานร่วมกัน
  1. มีการประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ได้ข้อมูลผลการดำเนินงาน
  3. มีป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงเรื่องเขตอนุรักษ์แต่ละพื้นที่
15.00
4 นิเวศทะเลสาบสงขลาตอนกลางมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์
  1. พันธุ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 4 ชนิด เช่น ปลาแป้น (ปลาลาปัง) ปลากระบอก กุ้งก้ามกราม ปลาดุกทะเล
  2. ขยายพื้นที่เขตอนุรักษ์จากแนวเดิมออกไปไม่ต่ำกว่า 100 เมตร
100.00
5 ให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ

โครงการสามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ตามบันไดผลลัพธ์และตัวชี้วัดทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ

0.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 785 157,250.00 35 149,194.00
6 มิ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานเดือนมิถุนายน 2563 20 24,300.00 2,025.00
20 มิ.ย. 63 ปฐมนิเทศโครงการ 3 5,000.00 1,000.00
13 ก.ค. 63 10.จัดทำบ้านปลา 20 8,000.00 8,000.00
28 ก.ค. 63 8.จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำเครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง 9 5,100.00 5,100.00
6 ส.ค. 63 ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนสิงหาคม 14 0.00 2,025.00
11 ส.ค. 63 1.เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาของทะเลสาบสงขลาตอนกลาง (เปิดโครงการ) 60 11,200.00 11,200.00
11 ส.ค. 63 เวทีคืนข้อมูลชุมชน 50 15,150.00 1,700.00
6 ก.ย. 63 เวทีประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเดือนกันยายน 15 0.00 2,025.00
6 ต.ค. 63 ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนตุลาคม 16 0.00 2,025.00
7 ต.ค. 63 สานงานเสริมพลังชุมชนน่าอยู่สู่พัทลุงกรีนซิตี้ 3 0.00 376.00
5 พ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนพฤษศจิกายน 17 0.00 2,025.00
11 พ.ย. 63 กิจกรรมปิดงวด 1 โครงการ “ฟื้นเลให้สมบูรณ์เขตอนุรักษ์พื้นที่ทะเลสาบตอนกลาง จังหวัดพัทลุง” 3 0.00 526.00
25 พ.ย. 63 กิจกรรมตรวจเอกสารบัญชีการเงิน 3 0.00 554.00
6 ธ.ค. 63 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนงานโครงการ เดือนธันวาคม ครั้งที่ 5 15 0.00 2,025.00
6 ม.ค. 64 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเดือนมกราคม2564 ครั้งที่ 6 15 0.00 2,025.00
11 ม.ค. 64 จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม 0 1,000.00 0.00
12 ม.ค. 64 ตรวจเอกสารการเงินโครงการ 3 0.00 504.00
16 ม.ค. 64 - 25 ก.พ. 64 ซ่อมแซมปรับปรุงและขยายพื้นที่เขตอนุรักษ์พื้นที่ 6 ชุมชน 30 18,800.00 18,800.00
2 - 15 ก.พ. 64 3.เวทีคือข้อมูลชุมชน 90 0.00 12,625.00
6 ก.พ. 64 5.ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ครั้งที่ 7 15 0.00 2,025.00
18 ก.พ. 64 เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 30 6,200.00 3,100.00
4 - 23 มี.ค. 64 7. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์ 10 8,100.00 8,100.00
6 มี.ค. 64 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเดือนมีนาคม2564 ครั้งที่ 8 15 0.00 2,025.00
6 มี.ค. 64 5.ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนงานโครงการเมษายน 2564 ครั้งที่ 9 15 0.00 2,025.00
18 มี.ค. 64 เก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์สัตว์น้ำหลังการมีเขตฯ 20 19,900.00 19,900.00
20 มี.ค. 64 เวทีทบทวนและปรับปรุงกติกาเขต 20 6,300.00 6,300.00
20 มี.ค. 64 ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการฯจังหวัดพัทลุง 3 0.00 384.00
31 มี.ค. 64 จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 5 1,000.00 1,000.00
31 มี.ค. 64 จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 15 1,000.00 1,000.00
6 พ.ค. 64 ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนพฤษภาคม 2564 ครั้งที่ 10 16 0.00 2,025.00
6 ก.ค. 64 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการกรกฎาคม 2564 ครั้งที่ 11 15 0.00 2,025.00
6 ส.ค. 64 ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสิงหาคม 2564 ครั้งที่ 12 0 0.00 2,025.00
11 ส.ค. 64 ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ 100 13,200.00 6,600.00
18 ก.ย. 64 เวทีสรุปและประเมินผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 20 0.00 3,100.00
30 ก.ย. 64 เวทีปิดโครงการ (มหกรรมวันกิจปลาทะเลสาบปากพะยูน) 100 13,000.00 13,000.00

1 .ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของโตรงการ สสส. 2.เรียนรู้การจัดทำรายงานทาง website เกี่ยวข้องกับรายงานกิจกรรมและรายงานทางการเงิน 3.สมัครสมาชิกในการเข้าสู่ระบบเพื่อรายงานการดำเนินงานโครงการโดยมีวิทยากร

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2563 14:04 น.