directions_run

ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2) ”

ม.3 ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
อับดุลเร๊าะมัน สะกะแย

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2)

ที่อยู่ ม.3 ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-02-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-02-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายยุทธศาสตร์จังหวัดลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่จังหวัดยะลา ส่วนเป้าหมาย สสส.1)มีมูลค่าการจำหน่ายผักปลอดภัยต่อเดือน (บาท) 2)สมาชิกมีการบริโภคผักปลอดภัยอย่างน้อย 400 กรัม/วัน เป้าหมายพื้นที่ดำเนินการจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ1)กลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้นแบบคือสวนผักนูริสฟาร์มชุมชนบ้านลำใหม่ (ดำเนินการปี 2564) มีพื้นที่ขยายจำนวน 4 พื้นที่ได้แก่ พื้นที่ปลูกผักชุมชนบ้านบาเตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา ชุมชนปลูกผักบ้านเลสุตำบลกาลูปัง อำเภอยรามัน ชุมชนปลูกผักบ้านบันนังสตา อำเภอบันนังสตา ชุมชนปลูกผักบ้านบุดี อำเภอเมืองยะลา 2)กลุ่มเกษตรกรต้นแบบคือกลุ่มปลูกผักปลอดภัยบ้านตะโล๊ะ ตำบลย๊ะตะ อำเภอรามัน (ดำเนินการปี 2564)มีพื้นที่ขยายในปี 2565 จำนวน 7 พื้นที่ กล่าวคือ ชุมชนปลูกผักบ้านทุ่งเหรียง ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา ชุมชนปลูกผักบ้านคลองทรายใน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา ชุมชนปลูกผักบ้านหน้าถ้ำ ตำบลหน้าถ้ำ อำเภอเมืองยะลา ชุมชนปลูกผักบ้านกาตอง ตำบลกาตอง อำเภอยะหา ชุมชนปลูกผักบ้านวังพญา ตำบลวังพญา อำเภอรามัน ชุมชนปลูกผักบ้านบาโงย ตำบลบาโงย อำเภอรามัน ชุมชนปลูกผักบ้านบือมัง ตำบลบือมัง อำเภอบันนังสตา
    โดยมีภาคียุทธศาสตร์ร่วมขับเคลื่อนประกอบด้วย สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลา ด้วยการสนับสนุน/หนุนเสริมนโยบายด้านเกษตร (ผักปลอดภัย) จัดสรรทรัพยากร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ด้วยการรองรับการตลาด/ผลิตภัณฑ์ด้านผักปลอดภัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา ด้วยการตรวจประเมินมาตรฐาน GAP นอกจากนี้ยังมีภาคีร่วมปฏิบัติการ ได้แก่ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา ด้วยการสนับสนุนด้านวิชาการ/องค์ความรู้ด้านการเกษตร สำนักงานสภาเกษตรจังหวัดยะลา ด้วยการชี้เป้าหมาย (พื้นที) /ประสานการดำเนินงาน สำนักงานพาณิชย์จังหวัดยะลาด้วยการสนับสนุนการบริหารจัดการตลาดภาพรวม สำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดยะลา ด้วยการสนับสนุนทรัพยากร (งบประมาณ) เกษตรอินทรีย์ องค์การบริการส่วนจังหวัดยะลา ด้วยการสนับสนุนเรื่องการตลาด
ตำบลยะต๊ะ เป็นตำบล 1 ใน 16 ตำบล ที่อยู่ในเขตปกครองของอำเภอรามัน จังหวัดยะลา
มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิน 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปาแลเหนือ หมู่ที่ 2 บ้านตูกู หมู่ที่ 3 บ้านตะโละ หมู่ที่ 4 บ้านปาแลใต้ หมู่ที่ 5 บ้านตีบุ ตำบลยะต๊ะ มีครัวเรือนจำนวน ทั้งสิ้น 1,310 ครัวเรือน บริเวณที่มีประชากรอยู่หนาแน่นที่สุด ได้แก่ชุมชนบ้านตะโละ หมู่ที่ 3 ประชากรตำบลยะต๊ะร้อยละ 100 นับถือศาสนาอิสลาม การตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่มีลักษณะแบบสังคมชนบททั่วไป และจะกระจายไปตามพื้นที่เกษตรกรรม มีสภาพแวดล้อมแบบชนบทที่ยังไม่มีผลกระทบจากมลพิษต่างๆ โดยมีศาสนสถาน คือมัสยิดเป็นศูนย์กลาง วัฒนธรรมประเพณีมีเอกลักษณ์เฉพาะด้านศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู ประชากรตำบลยะต๊ะ ส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมยางพารานาข้าว และสวนไม้ผล ประมาณร้อยละ 75 รองลงมาได้แก่อาชีพรับจ้าง ประมาณร้อยละ 17 และค้าขาย รับราชการ ประมาณร้อยละ 8 ลักษณะภูมิประเทศ ห่างจากที่ว่าการอำเภอรามัน ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 12 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26.63 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 16,641 ไร่ สภาพพื้นที่ตำบลยะต๊ะส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบและที่ลุ่มโดยเฉลี่ยเป็นพื้นที่ราบค่อนข้างสูงและภูเขาสลับซับซ้อน มีสภาพภูมิอากาศร้อนและฤดูฝน ฝนตกเกือบตลอดปี ระบบประปาเป็นระบบประปาภูเขา และราษฎรบางส่วนอาศัยบ่อน้ำตื้นที่ขุดขึ้นใช้เองภายในครัวเรือน หรับพื้นที่บ้านตะโล๊ะ หมู่ที่ 3 มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 1,175 คน จำนวน 383 ครัวเรือน โดยแยกเป็น 3 คุ้มบ้าน คือ คุ้มที่ 1) บ้านตะโล๊ะยามิง คุ้มที่ 2) บ้านตะโล๊ะงอเบาะ คุ้มที่ 3) บ้านกาดือแป สำหรับคุ้มบ้านตะโล๊ะงอเบาะ มีจำนวน 200 ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว ประกอบด้วย ยางพารา นาข้าว และสวนไม้ผล ซึ่งหลังจากการกรีดยางหรือทำนาของคนในพื้นที่แล้ว บางครัวเรือนปลูกผักเพื่อไว้บริโภคเอง หากเหลือจากการบริโภคก็จะนำไปขาย ผักที่นิยมปลูกจะเป็นผักพื้นบ้าน ผักตามฤดูกาล เช่น ถั่วฝักยาว แตงกวา พริก ข้าวโพด แตงโม ผักบุ้ง ฝักทอง เป็นต้น เกษตรกร 80% มีการคำนึงถึงสภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติ เน้นการใช้วัสดุอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ แต่ยังพบว่าเกษตรกร อีก 20 % มีการใช้สารเคมี เนื่องจากยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และมีความเชื่อว่าหากมีการใช้ปุ๋ยเคมีผสมร่วมกับปุ๋ยคอก จะเร่งให้พืชโตเร็ว แข็งแรง และผักมีความสวยงามและสาเหตุของการใช้ปุ๋ยเคมีพบว่า เกษตรกรสามารถหาซื้อได้ง่ายในชุมชนและง่ายต่อการดูแล และจากการดำเนินโครงการของกลุ่มปลูกผักปลอดภัยของบ้านต๊ะโละในปีที่ผ่านมา ได้รับการพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบการจัดการปลูกผักปลอดภัยโดยมีจำนวนครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ครัวเรือนจากจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 170 ครัวเรือน มีสามชิกกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน เกิดกลุ่มปลูกผักปลอดภัยที่เข้มแข็ง สมาชิกกลุ่มได้รับการพัฒนาศักยภาพคือการบริหารจัดการแปลง การผลิตสารชีวภัณฑ์ รวมถึงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เกิดพื้นที่กลางสำหรับการเรียนรู้การจัดการปลูกผักปลอดภัยและการจัดการศัตรูพืชโดยใช้แมลง และจากข้อมูลพื้นฐานการดำเนินงานเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการพบว่าก่อนดำเนินโครงการมีพื้นที่ปลูก 1 ไร่ ได้ผลผลิต จำนวน 100 ก.ก. หลังดำเนินการมีพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น 2 ไร่ ได้ผลผลิต 250 ก.ก.มีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคก่อนดำเนินการเฉลี่ยครัวเรือนละ 300 บาทต่อเดือน หลังดำเนินการพบว่ามีค่าใช้จ่ายลดลงเฉลี่ยครัวเรือนละ 100 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ยังพบว่าสมาชิกกลุ่มยังไม่ได้รับการรับรองผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP ส่งออกจำหน่ายตลาดในชุมชน และนอกชุมชนได้อย่างเพียงพอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการบริหารจัดการโครงการข้อที่ 3 ( งบ 10,000 )

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรายงานผลการดำเนินโครงการระบบออนไลน์
  2. เปิดบัญชีธนาคาร
  3. ปฐมนิเทศ
  4. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพ/ป้ายไวนิลโครงการ
  5. อบรมการบันทึกข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์
  6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ตรวจแปลงปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน
  7. พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน ผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน
  8. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานติดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการกิจกรรมโครงการ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1 วัน
  9. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน
  10. ร่วมเวที “kick off ปลูกผักปลอดภัย” ณ สวนนูริสฟาร์ม ม.5 ต.ลำใหม่ อ.เมือง จ.ยะลา จำนวน 45 คน ระยเวลา 1 วัน
  11. ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนรู้กับพี่เลี้ยง ( ARE ครั้งที่ 1 )
  12. ประชุมคณะกรรมการ สมาชิกและผู้ประสานงานเพื่อชี้แจงเป้าหมายการดำเนินโครงการ เพื่อให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน
  13. เปิดโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผัก อินทรีย์กับชุมชนบ้านตะโล๊ะ
  14. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 1)
  15. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานวางแผนการดำเนินงาน ข้อตกลงกติกากลุ่มการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร (แบบฟอร์มของหน่วยจัดการ) การบันทึกข้อมูล แนวทางการรับสมาชิกใหม่ จำนวน 12 คน ระยะเวลา 1 วัน
  16. ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของชุมชนทุ่งเหรียง
  17. ARE NODE ครั้งที่ 1
  18. ดอกเบี้ยรับ
  19. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 2)
  20. ทีมผู้ตรวจแปลงและภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่การตรวจแปลงผักปลอดภัยของสมาชิกกลุ่ม และรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน จำนวน 10 คน
  21. กิจกรรมการจัดทำสื่อ
  22. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3)
  23. ร่วมเวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2 )
  24. ARE NODE ครั้งที่ 2
  25. พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน กรรมการ ผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน
  26. ดอกเบี้ยรับ
  27. ร่วมเวที ติดตามประเมินผลและพัฒนากับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 3 )
  28. เวทีสรุปปิดโครงการ คืนข้อมูลให้ชุมชน มอบใบรับรองแก่สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดภัยผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.1 เป็นข้อมูลสำคัญที่จะบอกว่าโครงการบรรลุผลลัพธ์ เช่น จำนวนแกนนำ บทบาทแกนนำ กฎ/ระเบียบ/กติกา
พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป เป็นต้น 1.2 ข้อมูลที่นำมาประกอบคำอธิบายตัวชี้วัดควรมีลักษณะเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นการเปลี่ยนแปลงจากสถานการณ์ เดิมอย่างชัดเจน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรายงานผลการดำเนินโครงการระบบออนไลน์

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คีย์เข้าระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คีย์เข้าระบบ

 

1 0

2. เปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบัญชีธนาคาร

 

3 0

3. ปฐมนิเทศ

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชีแจ้งภาพรวมการจัดโครงการ การจัดทำบัญชี ทบทวนบันไดผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุการ การเงิน

 

3 0

4. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพ/ป้ายไวนิลโครงการ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไวนิลวิธีการดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์โครงการ

 

0 0

5. อบรมการบันทึกข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่่านระบบ 1 การเข้าใจระบบ 2 เรียนรู้การบันทึกแผนงานในเว็บ 3 การบันทึกกิจกรรมในเว็บ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

3 คน

 

3 0

6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ตรวจแปลงปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการผลิตผักปลอดภัยและรับรองมาตรฐานGAP

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าอบรม 45 คน
  • ได้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย
  • ได้รู้ได้เข้าใจเกี่ยวกับการขอใบรับรอง GAP

 

45 0

7. พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน ผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมและสาธิต การปลูกผักตามมาตรฐาน GAP - การทำปุ๋ย -การเตรียมดิน -การรู้จักแมลงศัตรูพืช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกเดิมและสมาชิกใหม่ มีความรู้ เรื่องการรับรองมาตราฐาน GAP  เพิ่มมากขึ้นและได้รับความรู้การปลูกผักปลอดภัย ขั้นตอนการเตรียมดิน การดูแล การให้ปุ๋ย การกำจัดศัตรูพืช โดยไม่ใช้สารเคมี
ทั้งนี้ มีภาคีหนุนเสริมและกำกับติดตามความต้องการของตลาดและมาตราฐาน GAP ให้กับสมาชิก(โรงเรียนเกษตรกร) ตลอดจนเกิดกระบวนการเรียนรู้ การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัย การผลิตผักตามความต้องการของตลาด เกิดแผนการผลิต

 

45 0

8. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานติดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการกิจกรรมโครงการ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานได้ติดตามความก้าวหน้า สมาชิกกลุ่ม 20 คน
โดยเกิดกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนดไว้ สมาชิกตื่นรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมต่างอย่างพร้อมเพรียงกัน ทั้งนี้ เกิดอุปสรรค สภาพอากาศที่ไม่เอื้อต่อการเพาะปลูกทำให้ผลผลิตไม่ต่อเนื่อง

 

20 0

9. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกกลุ่มมีความรู้ ความเข้าใจร่วมกัน ในการดำเนินงาน

 

45 0

10. ร่วมเวที “kick off ปลูกผักปลอดภัย” ณ สวนนูริสฟาร์ม ม.5 ต.ลำใหม่ อ.เมือง จ.ยะลา จำนวน 45 คน ระยเวลา 1 วัน

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมเวที kick off ปลูกผักปลอดภัย ณ สวนนูริศฟาร์ม หมู่ที่ 5 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการปลูกผักไฮโดร ผักปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดองค์ความรู้ เกิดเครือข่ายด้านการตลาด ด้านการปลูกผักที่ดี

 

45 0

11. ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนรู้กับพี่เลี้ยง ( ARE ครั้งที่ 1 )

วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ARE ครั้งที่ 1 เวทีประเมิณเพื่อพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ข้อมูล
  • กิจกรรมแนวการพัฒนา

 

9 0

12. ประชุมคณะกรรมการ สมาชิกและผู้ประสานงานเพื่อชี้แจงเป้าหมายการดำเนินโครงการ เพื่อให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงชี้แจง เกี่ยวกับบันไดผลลัพธ์การดำเนินงานกิจการของกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วม 45 คน
  • มีโครงสร้างคณะกรรมการและกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
  • สมาชิกเข้าใจวัตถุประสงค์โครงการ กำหนดเป้าหมายโครงการ เพื่อต้องการให้เกษตรกรเกิดการขยายผล
  • ได้ความ รู้ความเข้าใจ เกียวกับบันไดผลลัพธ์

 

45 0

13. เปิดโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผัก อินทรีย์กับชุมชนบ้านตะโล๊ะ

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผนโครงการ สร้างทีมโครงการ เลือกบุคคลที่มีทักษะและความรู้ที่เหมาะสมเพื่อสร้างทีมทำงาน วางแผนการดำเนินงาน กำหนดขั้นตอนและกำหนดลำดับการดำเนินงานทั้งหมด ประชุมเริ่มต้น ประชุมเพื่อแบ่งปันข้อมูล ทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และแผนงาน ดำเนินการ นำทีมไปปฏิบัติตามแผนงาน ติดตามความก้าวหน้า และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น การติดตามและประเมิน ติดตามความก้าวหน้า ประเมินผลลัพธ์ และทำการปรับปรุงโครงการตามความจำเป็น สรุปและรายงานผล รวบรวมข้อมูล สรุปผล และรายงานให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง และให้การตอบรับหรือข้อเสนอแนะ การเรียนรู้ ทบทวนกระบวนการ รับรู้จากประสบการณ์ และใช้เรื่องนี้เพื่อปรับปรุงในโครงการต่อไป.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การได้รับความสนใจ จำนวนคนที่สนใจและมีส่วนร่วมในโครงการหรือกิจกรรม ความสำเร็จในกลุ่มเป้าหมาย การทำให้โครงการตอบสนองต่อความต้องการและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ปรับปรุงและการพัฒนา การใช้ข้อมูลจากการเปิดตัวเพื่อปรับปรุงและพัฒนาโครงการในอนาคต การวัดและทำความเข้าใจ โครงการและผลลัพธ์เหล่านี้จะช่วยให้ทราบว่าโครงการมีผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และช่วยในการปรับปรุงแผนการทำงานในอนาคต.

 

20 0

14. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 1)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถจัดเก็บได้

 

1 0

15. ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานวางแผนการดำเนินงาน ข้อตกลงกติกากลุ่มการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร (แบบฟอร์มของหน่วยจัดการ) การบันทึกข้อมูล แนวทางการรับสมาชิกใหม่ จำนวน 12 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • เตรียมความพร้อม คณะมาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.) เกิดกติกากลุ่ม ประกอบด้วย 1.ห้ามใช้สารเคมี 2. สมาชิกต้องเข้าร่วมประชุมทุกครั้งห้ามขาดการประชุมเกิน 3 ครั้ง 3. เกิดการออม 4.กำหนดการประชุม เดือนละ 1 ครั้ง 5. หากสมาชิกรายใดไม่ปฏิบัติตามกฏกติกา เบื้องต้นจะมีการตักเตือน หากตักเตือนยังเพิกเฉยไม่แก้ไข และปฏิบัติซ้ำ จะพ้นสภาพการเป็นสมาชิก
2.) เกิดแผนปฏิบัติงาน แผนการผลิตของกลุ่ม
3. เกิดแนวทาง ขั้นตอน การรับสมาชิกใหม่

 

12 0

16. ชุมชนทุ่งเหรียง ได้มาศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • มาศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม
  • การจำหน่ายสินค้าของกลุ่ม
  • การจัดการ การปลูกในแปลงรวม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สมาชิกกลุ่มชุมชนทุ่งเหรียง
  • มาศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม

 

45 0

17. ARE NODE ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

3 0

18. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

19. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 2)

วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้เรียนรู้ และทบทวนการคีย์บันทึกข้อมูล โดยพี่เลี้ยงตรวจสอบการเบิกจ่ายผลดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประสานงานและตัวแทนกลุ่มได้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับดำเนินการการเบิกจ่าย

 

1 0

20. ทีมผู้ตรวจแปลงและภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่การตรวจแปลงผักปลอดภัยของสมาชิกกลุ่ม และรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน จำนวน 10 คน

วันที่ 13 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ทีมผู้ตรวจลงพื้นที่ตรวจแปลงของสมาชิกจำนวน 20 ราย
  • ทีมผู้ตรวจให้คำแนะ เช่น การจดบันทึกการปลูก วิธีการให้ปุ๋ย สำรวจแปลงให้อยู่ในความเรียบร้อย เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สมาชิกรับฟังคำแนะนำต่างๆจากทีมผู้ตรวจแปลง
  • สมาชิกได้รับการตรวจแปลงจำนวน 20 ราย
  • สมาชิกนำเอาคำแนะนำจากผู้ตรวจแปลงไปปฏิบัติตาม

 

10 0

21. กิจกรรมการจัดทำสื่อ

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำการสื่อสารประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกมีความรู้ในการจัดทำการสื่อประชาสัมพันธ์ ช่องทางการตลาดออนไลน์ การทำโปสเตอร์ในการนำเสนอสินค้าเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ

 

20 0

22. การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3)

วันที่ 8 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้เรียนรู้ และทบทวนการคีย์บันทึกข้อมูล โดยพี่เลี้ยงตรวจสอบการเบิกจ่ายผลดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประสานงานและตัวแทนกลุ่มได้ลงข้อมูลในระบบ ตามแผนที่กำหนดไว้

 

1 0

23. ร่วมเวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2 )

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมเกี่ยวกับการขอมาตรฐาน GAP
  • ประชุมเรื่องการตลาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สมาชิกรู้วิธีการขอมาตรฐาน GAP
  • การตลาดมีความเป็นไปในรูปแบบที่ต้องการ

 

7 0

24. ARE NODE ครั้งที่ 2

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

3 0

25. พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน กรรมการ ผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • หลังจากการประชุม คณะทำงานได้มีมติไปศึกษาดูงานที่ Homeyy Farm อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
  • ทางกลุ่มพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรแบบยั่งยืนได้ไปศึกษาดูงาน ณ Homeyy Farm บ้านเปาะยานิ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา เกี่ยวกับการทำเกษตรแม่นย่ำ การทำปุ๋ย การเพาะเมล็ด(โดยใช้แกลบเผา) การเตรียมดิน(การร่อนดิน) โดยมีนายโซฟี ซึ่งเป็นเจ้าของฟาร์มเป็นวิทยากรให้ความรู้
  • ไปศึกษาดูงาน ณ วันที่ 20/2/2023

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - คณะทำงานและสมาชิกจำนวน 45 คน
- วิทยากรในการให้ความรู้จำนวน 1 คน ผลลัพธ์ - คณะทำงานและสมาชิกเกิดความรู้ด้านการผลิตและเทคโนโลยีการทำเกษตรแม่นย่ำ - หลังจากกลับจากการศึกษาดูงาน มีสมาชิกได้ปฏิบัติตามที่ได้ไปศึกษาดูงานจำนวน 5 ราย

 

45 0

26. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

27. ร่วมเวที ติดตามประเมินผลและพัฒนากับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 3 )

วันที่ 28 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE) ครั้งที่ 3 - จัดเวที ณ ห้องประชุมองค์การบริหานส่วนตำบลยะต๊ะ - เชิญผู้นำท้องถิ่น(นายก อบต.), ศวพ.ยะลา ,สำนักงานเกษตรอำเภอรามัน ,ธกส.และสมาชิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หน่วยงานภาครัฐได้รู้และเข้าใจการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ดำเนินการและจะร่วมสนับสนุนในการดำเนินโครงการต่อไป

 

7 0

28. เวทีสรุปปิดโครงการ คืนข้อมูลให้ชุมชน มอบใบรับรองแก่สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดภัยผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีรวมสมาชิก ถอดบทเรียนรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก สรุปโครงการ รวบรวมข้อมูลการดำเนินโครงการตามแผนที่กำหนด ติดตามความคืบหน้าของโครงการ ปรับแก้ปัญหาและประสานงานระหว่างทีมงาน ตรวจสอบความถูกต้องของงบประมาณและเวลา  เพื่อปรับปรุงกระบวนการในอนาคตและปิดโครงการอย่างเรียบร้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มมีความเข็มแข็งมากขึ้น มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด ได้รับใบรับรอง GAP มีการเชื่อมภาคีเครือข่ายในการหนุนเเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัย และสมาชิกสามารถผลิต เพิ่มพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยและบริโภคผักปลอดภัย

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อการบริหารจัดการโครงการข้อที่ 3 ( งบ 10,000 )
ตัวชี้วัด : 1-โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2-การรายงานผลเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3-แกนนำขณะทำงานมีศักยภาพสามรถดำเนินกิจการได้อย่างสำเร็จ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการบริหารจัดการโครงการข้อที่ 3 ( งบ 10,000 )

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรายงานผลการดำเนินโครงการระบบออนไลน์ (2) เปิดบัญชีธนาคาร (3) ปฐมนิเทศ (4) ป้ายไวนิลบันไดผลลัพ/ป้ายไวนิลโครงการ (5) อบรมการบันทึกข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล  รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ (6) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ตรวจแปลงปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน  GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (7) พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน ผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (8) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานติดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการกิจกรรมโครงการ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1 วัน (9) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (10) ร่วมเวที “kick off ปลูกผักปลอดภัย” ณ สวนนูริสฟาร์ม ม.5 ต.ลำใหม่ อ.เมือง จ.ยะลา จำนวน 45 คน ระยเวลา 1 วัน (11) ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนรู้กับพี่เลี้ยง ( ARE ครั้งที่ 1 ) (12) ประชุมคณะกรรมการ สมาชิกและผู้ประสานงานเพื่อชี้แจงเป้าหมายการดำเนินโครงการ เพื่อให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (13) เปิดโครงการส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผัก อินทรีย์กับชุมชนบ้านตะโล๊ะ (14) การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 1) (15) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานวางแผนการดำเนินงาน ข้อตกลงกติกากลุ่มการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร (แบบฟอร์มของหน่วยจัดการ) การบันทึกข้อมูล แนวทางการรับสมาชิกใหม่ จำนวน 12 คน  ระยะเวลา 1 วัน (16) ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของชุมชนทุ่งเหรียง (17) ARE NODE ครั้งที่ 1 (18) ดอกเบี้ยรับ (19) การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 2) (20) ทีมผู้ตรวจแปลงและภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่การตรวจแปลงผักปลอดภัยของสมาชิกกลุ่ม และรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน จำนวน 10 คน (21) กิจกรรมการจัดทำสื่อ (22) การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (ครั้งที่ 3) (23) ร่วมเวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2 ) (24) ARE NODE ครั้งที่ 2 (25) พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน กรรมการ ผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (26) ดอกเบี้ยรับ (27) ร่วมเวที ติดตามประเมินผลและพัฒนากับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 3 ) (28) เวทีสรุปปิดโครงการ คืนข้อมูลให้ชุมชน มอบใบรับรองแก่สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดภัยผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพ กิน ปลูก ผักปลอดภัยกับชุมชน บ้านตะโล๊ะ (ปีที่ 2) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-02-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อับดุลเร๊าะมัน สะกะแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด