แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูฮาณี ยายา

ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-01-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน



บทคัดย่อ

โครงการ " ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-01-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,875.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน (2) ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการตาย/เสียชีวิต (3) ตัวชี้วัดที่ 3 เพื่อการจัดการบริหารโครงการ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (2) การจัดตั้งคณะอนุกรรมการโครงการ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล (3) จัดทำแผน และสรุปข้อมูล (4) ส่งเสริมความรู้การขับขี่ ปลอดภัย ต้องตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ (5) การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE 3 ครั้ง (6) เฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตำบลตลิ่งชัน (7) ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ (8) เวทีคืนข้อมูลชุมชน (9) ค่าจัดทำป้ายโครงการ (10) ค่าเดินทางสำหรับเข้าร่วมกิจกรรมของ Node (11) เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา (12) เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ (13) ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต (14) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (15) ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (16) ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (17) จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย (18) สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข (19) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1 (20) อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย (21) ประชุมติดตามความคืบหน้า (22) เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่ีมีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน (23) เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1 (24) เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย (ไม่ใช้งบประมาณ รอเสนอที่อำเภอ) (25) เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย (26) กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง (27) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย (28) ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ (29) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3 (30) การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2 (31) จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (32) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข (33) จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง (34) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สาเหตุหลักในการเกิดอุบัติเหตุของตำบลตลิ่งชัน จากปัจจัยด้านคน โดยมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่และผู้ใช้เส้นทาง ความประมาท หลับใน ง่วงนอน ความสามารถของผู้ขับขี่ลดลง เนื่องจากสภาพร่างกายไม่พร้อม การไม่เคารพกฎจราจร เนื่องจาก เส้นทางกลับรถไกลกว่า และการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัยด้านยานพาหนะ ยังพบว่า จุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดที่เกิดเหตุบ่อยยังไม่ได้รับการแก้ไข ดังนั้นทางตำบลตลิ่งชัน มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุม การลดอุบัติเหตุการใช้รถที่เพิ่มมากขึ้น และจากประชาชนขาดความรู้และไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบจราจรอย่างแท้จริง จึงจัดทำโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชันโดยมีวัตถุประสงค์ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดระเบียบการจราจรในชุมชนและเกิดการแก้ไขจุดเสี่ยงของชุมชนที่เกิดอุบัติเหตุและเสียชีวิตบ่อยครั้ง รวมถึงสมาชิกในชุมชนมีการปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขจุดเสี่ยง และพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับจุดเสี่ยง เพื่อเป็นการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนนบ้านตะบิงติงงี ตำบลตลิ่งชัน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน
  2. ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการตาย/เสียชีวิต
  3. ตัวชี้วัดที่ 3 เพื่อการจัดการบริหารโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการโครงการ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล 4 ครั้ง
  2. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม
  3. จัดทำแผน และสรุปข้อมูล 2 กิจกรรรมย่อย
  4. ส่งเสริมความรู้การขับขี่ ปลอดภัย ต้องตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ
  5. เฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตำบลตลิ่งชัน
  6. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ
  7. คืนข้อมูลชุมชน
  8. ค่าจัดทำป้ายโครงการ
  9. เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี65 ประเด็นลดอุบัติเหตุทางท้องถนน
  10. กิจกรรมเวทีประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย
  11. เปิดบัญชีธนาคาร
  12. เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา
  13. เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ
  14. ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  15. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง
  16. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง
  17. จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย
  18. สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข
  19. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1
  20. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1
  21. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย
  22. ประชุมติดตามความคืบหน้า
  23. เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 1
  24. เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1
  25. ดอกเบี้ยรับ
  26. เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย
  27. เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย
  28. เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์
  29. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 2
  30. กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง
  31. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย
  32. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ
  33. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3
  34. การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2
  35. จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3
  36. จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง
  37. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้ว
  38. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2
  39. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต
  40. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 3
  41. ดอกเบี้ยรับ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ร้อยละ 50 2.อัตราความรุนแรงทางศีรษะลดร้อยละ 50 3. อัตราการบาดเจ็บและการตายลดลงร้อยละ 50 4. อัตราการตายลดลงร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจัดทำป้ายโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกแบบป้ายโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผลผลิตได้ไวนิลโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน 2 ผืน
-ผลลัพธ์ ระดมความคิดออกแบบไวนิล โดยคณะทำงานลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน จำนวน 2 ผืน

 

15 0

2. กิจกรรมเวทีประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย

วันที่ 20 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย วันที่ 12-13 มี.ค.65 โดยเบิกจ่ายค่าเดินทาง 20 เม.ย.65

 

1 0

3. เปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 29 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

4. เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา และน.ส.เจะแย แวนิซอ ได้ร่วมกิจกรมมเวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย วันที่ 5 พ.ค. 2565 ณ ห้องประชุม สสจ.ยะลา ได้รับรู้และเข้าใจหลักการ แนวทางการดำเนินโครงการ สามารถวางแผนดำเนินการ Time Line เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลลัพธ์ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เซ็นสัญญาโครงการย่อย ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ร่วมกับหน่วยงานภาคส่วน

 

2 0

5. เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางรออิมะ ดอกา และ น.ส.รอฮานี ดือเร๊ะ ได้อบรมและเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบวันที่ 21 พ.ค. 2565 ณ สำนักวิทยบริการ ชั้น ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี หมายเหตุ ใช้ระยะทางขาไป 50 กิโล  ขากลับ 50 กิโล  จากบ้านพักบันนังสตา ถึง  มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการย่อย เกิดความเข้าใจ สามารถเข้าระบบบันทึกข้อมูลแผนกิจกรรม/แผนงบประมาณได้

 

2 0

6. ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมจัดตั้งคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1 จำนวน 25 คน วันที่ 16 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี อภิปรายสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุย้อนหลัง ในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การอภิปราย  สถานการณ์อุบัติเหตุตำบลตลิ่งชัน
        จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุของอำเภอบันนังสตาในปี 2564 ย้อนหลัง พบว่า ตำบลตลิ่งชัน มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงสุด จำนวน 105 ครั้ง เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บจำนวน 200 คน หากวิเคราะห์ตามเขตพื้นที่พบว่าตำบลตลิ่งชัน  4 หมู่บ้านยังเป็นพื้นที่ที่มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงสุด คือ อุบัติเหตุเกิดขึ้น 36 ครั้ง เสียชีวิต 4 คน บาดเจ็บ  จำนวน 50 คน ปี พ.ศ.2564  (คณะทำงานศูนย์กู้ภัยตำบลตลิ่งชัน ณ 31 มีนาคม 2565 )  ผู้รับผิดชอบได้ชี้แจงแนวการดำเนินงานและวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ดังนี้     1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็งผลลัพธ์         ที่คาดหวัง คือ เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 2) เพื่อแก้ปัญหาจุดเสี่ยง และสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือ
    ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักเพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน  มติในที่ประชุม : รับทราบ     ผู้รับผิดชอบโครงการได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ จุดเสี่ยงในพื้นที่ ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุ
    มอบหมายหน้าที่                   -ม.1 ข้างตลาดนัด /ตรงข้ามตลาดนัดตะบิงติงงี ทางเข้าแยก  ไปศรีสาคร จ.นราธิวาส/สามแยก                   ก่อนถึงทางไปตลาดนัด ตะบิงติงงี    นางสาวเจะแย  แวนิซอ      รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.8 หน้า รพ.สต.ตะบิงติงงี          นางหัสหม๊ะ กาลมิตรกาญจน์ รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.11 หน้าบ้านแกนนำ อุบัติเหตุ    นางสาวฮายาตี  ดายะ        รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.13 เส้นทางหลัก บันนังสตา-ยะลา ย้อนศรบ่อยครั้ง นางหายาตี ยีเต๊ะ  รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง         มติในที่ประชุม : รับทราบ

 

25 0

7. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง

วันที่ 3 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 25 คน วันที่ 3 มิถุนายน 2565 ณ รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี โดยมีวิทยากร นางสีตีนุร อาแซ นำเสนอ เรื่อง การเก็บข้อมูลอุบัติเหตุบนท้องถนน และการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ลดอุบัติเหตุใน ตำบลตลิ่งชัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงาน 25 คน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามพื้นที่จุดเสี่ยง ได้รับทราบวิธีการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง

 

25 0

8. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม เปิดโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 25 วันที่ 4 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี เพื่อวางแผนลงพื้นที่เก็บข้อมูลกการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้วางแผนเก็บข้อมูลในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ 4 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน ได้แก่ ม.1 บ้านตะบิงติงงี ม.8 บ้านจาเราะปีแซคละ ม.11 บ้านยีลาปัน และ ม.13 บ้านปาลอบาตะ เพื่อหาจุดเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ ต่อไป

 

25 0

9. สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข

วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินงาน คณะกรรมการร่วมกับภาคีร่วมดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เสนอแนวทางการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน
-พบแนวทางการแก้ไข เสนอโดยคณะทำงาน -กำนันได้เสนอในเวทีสภาสันติสุข เรื่องประเด็นจุดเสี่ยงที่เป็นปัญหา มีขนาดความรุนแรง ส่งผลต่อประชาชนในพื้นที่ -ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน

 

25 0

10. จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย

วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน 25 คน

 

25 0

11. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1

วันที่ 12 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความก้าวหน้าบันทึกข้อมูล

 

3 0

12. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการและภาคีร่วมดำเนินการ บูรณาการกับกิจกรรม อบรมให้ความรู้กฏจราจร/ขับขี่ปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดข้อกำหนดกติกาได้รับจากการอบรมฯ และคณะกรรมการ -สนับสนุนศูนย์แจ้งข่าวอุบัติเหตุตลิ่งชัน และได้ทราบข้อมูลพร้อมประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯดังกล่าว

 

25 0

13. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย

วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการตามขั้นตอน มีภาคีร่วมดำเนินการร่วมเป็นทีมในการดำเนินกิจกรรม คกก.รวม 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรม
ศปถ.ตำบลตลิ่งชันร่วมกับคณะทำงานหลักร่วมกันจัดอบรมให้ความรู้เรื่องอุบัติเหตุ/กฏจราจร สร้างความปลอดภัยทางถนน
โดยมีท่านรองนายก อบต.ตลิ่งชัน (ผู้แทนจากนายก )ร่วมเป็นประธานในกิจกรรมดังกล่าวฯ มี ปภ.ตำบล /อบต.
กู้ชีพ-กู้ภัยEMS , RMS ผู้ใหญ่บ้านและเเต่ละหมู่บ้านที่เป็นเขตรับผิดชอบจุดเสี่ยง ตำบลตลิ่งชัน พูดคุยเรื่องสถานการณ์อุบัติเหตุ/การได้รับแจ้งข่าว อุบัติเหตุ และ ทีม อบต.ปภ.สธ.ตลิ่งชัน ประชาสัมพันธ์เรื่องศูนย์รับแจ้งข่าวอุบัติเหตุตลิ่งชัน 24.ชั่วโมง ประเด็นที่ คกก.ศปถ.ตำบล เสนอในเวที สภาสันติสุขอำเภอ เรื่องการตัดทางเลี้ยวกลับรถให้สั้นลง ซึ่งถูกเสนอไปแล้วยังไม่ได้รับการถูกพิจารณาแก้ไข ทั้งนี้
คณะทำงานโครงการย่อยได้ส่งต่อจุดเสี่ยงให้ ปภ.สธ.อบต.ตลิ่งชัน รับทราบปัญหาแล้ว และจะทำบันทึกส่งต่อจุดเสี่ยงส่งต่อ ปภ.จังหวัด เพื่อเข้าแผนในการวางแผน หาแนวทางแก้ไขต่อไป.   ทั้งนี้ คกก.ได้เชิญ วิทยากรชำนาญการ จาก สสจ.ยะลา มีผู้เข้าร่วมการอบรม นักเรียนโรงเรียน บ้านตะบิงติงงี เยาวชน รวม 100 คน ค้นหาตัวแทนนักเรียนในกิจกรรมครั้งนี้ได้นักเรียน จำนวน 5 คน เป็นตัวแทนนักเรียนเป็นตัวอย่างการมีวินัยในการใช้รถบนท้องถนนขับขี่ปลอดภัย -จัดกลุ่ม5กลุ่มย่อย เพื่อร่วมกันหาวิธีในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุสร้างความปลอดภัยทางถนน บริเวณจุดเสี่ยงเขตโรงเรียน.

 

100 0

14. ประชุมติดตามความคืบหน้า

วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 25 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายคณะทำงาน 15 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงาน 25 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

 

25 0

15. เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 1

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน ตามบรรไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 1 ติดตามรายงานหลักฐานการเบิก-จ่ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน ตามบรรไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 1

 

25 0

16. เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 3 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา น.ส.เจะแย แวนิซอ และน.ส.วายีฮะห์ มะยิ ได้ร่วมกิจกรมมวิทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้ และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ วันที่ 17 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมพิมพ์มาดา โรงแรมปาร์ควิวยะลา ได้นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการ ลดอุบัติทางท้องถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลลัพธ์บันไดขั้นที่ 2 กำลังดำเนินการบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 3

 

3 0

17. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

18. เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ภาคีเครือข่ายใช้เวทีประชุมคณะทำงานและกำนันเป็นประธานในการประชุม วันที่ 20 ตุลาคม 2565 ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน เพื่อเสนอจุดเสี่ยงอุบัติเหตุของ ตำบลตลิ่งชัน เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำนันได้เสนอจุดเสี่ยงที่เวทีสภาสันติสุข เรื่องการตัดทางเลี้ยวกลับรถ
ลดการย้อนศรของประชาชน ได้เสนอไปแล้ว แต่ผลสรุปยังไม่มีความคืบหน้า

 

25 0

19. เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย

วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา และ น.ส.วายีฮะห์ มะยิ ได้ร่วมติดตามกจกรรมย่อย วันที่ 22 ตุลาคม 2565 ณ โรงแรมแกรนด์พาเลซ ได้เรียนรู้ และได้ทบทวนรายงานผลลัพธ์ และจัดการการเงินโดยมีพี่เลี้ยงได้ดำเนินการตรวจสอบหลกฐานครบถ้วน เพื่อเตรียมจัดสรรค์งบประมาณต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้จากเวที ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินงานผลลัพธ์ย่อย ได้บันทึกข้อมูลในระบบ ตามกิจกรรมที่ดำเนินเสร็จเรียบร้อยแล้ว

 

2 0

20. กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง

วันที่ 29 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-รายงานผล เหตุการณ์อุบัติเหตุแต่ละจุด โดยมีคณะทำงานมีหน้าที่รับผิดชอบรายงาน ผ่านไลน์ -เฝ้าระวังจุดเสี่ยง เป้าหมาย 6 จุดเสี่ยง ในพี้นที่ 4 หมู่บ้าน ในตำบลตลิ่งชัน ได้แก่ ม.1 ม.88 ม.11 ม.13
-คณะทำงานจุดเสี่ยง 12 คน จุดเสี่ยง 2 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -เฝ้าระวังจุดเสี่ยง เป้าหมาย 6 จุดเสี่ยง
-พื้นที่ดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ม.1 ม.88 ม.11 ม.13
-รายงานผลทางไลน์ คณะอนุกรรมการ ลดอุบัติเหตุบนท้องถนนตำบลตลิ่งชัน ได้รายงานผลผ่านไลน์  12 คน
ผลลัพธ์ -ได้เฝ้าระวังจุดเสี่ยง 7 จุดเสี่ยง  ระหว่างดำเนินการ -เก็บข้อมูลจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ /การเสียชีวิต/การส่งต่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล/ไม่รักษาต่อ อาการไม่หนัก

 

12 0

21. เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ (คลิป) -แบ่งกลุ่มช่วยกันเรียนรู้
-ลงพื้นที่สถานีนังวา เพื่อเก็บรายละเอียดทำคลิป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ (คลิป) -แบ่งกลุ่มช่วยกันเรียนรู้
-ลงพื้นที่สถานีนังวา เพื่อเก็บรายละเอียดทำคลิป ผลลัพธ์ จัดทำคลิปประชาสัมพันธ์1 คลิป ส่ง NODE

 

3 0

22. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 2

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รรับการติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล

 

3 0

23. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย

วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 17-18 ธันวาคม ปณะชุมกำหนดกติกา เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -มีคณะอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมเตรียมความพร้อมการเฝ้าระวังในช่วงเทศการวันหยุดยาว 7 วันอันตราย -แบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละจุดที่รณรงค์เฝ้าระวัง7 วันอันตราย -ออกแบบเครื่องมือ สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ เฝ้าระวัง7 วันอันตราย -ดำเนินงานตามขั้นตอนโดยมี ประธานการการประชุมทุกครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
-ออกแบบสื่อ รณรงค์ 3 จุดเสี่ยง
-มีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -มีคณะอนุกรรมการร่วมประชุม 25 คน

ผลลัพธ์ -ออกแบบสื่อ รณรงค์ 6 จุดเสี่ยง -มีผู้เข้าประชุมเกินเป้าหมาย รวม 10 คน -มีกฏกติกาเพิ่มระหว่างประชุม เพื่อวางแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -อบต.ตลิ่งชัน ร่วมจัดกิจกรรม รณรงค์ช่วงเทศการปีใหม่ ร่วมกับ ชุดคณะกรรมการ ศปถ.ตำบล ในวันที่ 15 ม.ค.66

 

12 0

24. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 คณะทำงาน ร่วมกับชาวบ้าน ร่วมกันทำความสะอาดบริเวณถนน สาย 410 ยะลา - เบตง โดยการตัดหญ้า และเก็บกวาดขยะบริเวณข้างทาง เพื่อลดเสี่ยงอุบัติเหตุในช่วง 7 วันอันตราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บริเวณข้างถนนมีความสะอาดมากขึ้น จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข ทำให้มีความเสี่ยงน้อยลง

 

25 0

25. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3

วันที่ 30 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเจ้าหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยทางถนน โดยใช้กฏกติกาในการขับรถเพื่อสร้างความปลอดภัยในช่วงเทศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  จัดเจ้าหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยทางถนน จำนวน 13 คน 2 วัน ผลลัพธ์  ประชาชนได้เคารพกฏกติกา ทำให้เกิดความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนในตำบลตลิ่งชัน

 

13 0

26. การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กระบวนการถอดบทเรียน  ประเด็นลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ร่วมกันจัดเวทีการถอดบทเรียน ใช้วิธีการพูดคุย/บอกเล่าการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงาน อยู่ในบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 4 ผลผลิต คือ ดำเนินกิจกรรม 2 กิจกรรม 1.สำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระยะ 2.รณรงค์แก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ
*พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข  ร้อยละ 70

ผลลัพธ์ คือ  พฤติกรรมเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุลดลงจากเดิม *จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข/ส่งต่อ ร้อยละ 90 *พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข  ร้อยละ 70 *ศีรษะลดร้อยละ 50 *ผู้ขับขี่มีการสวมหมวกนิรภัย  ร้อยละ  70

 

10 0

27. จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 18 มกราคม 2566 คณะกรรมการ และภาคีเครือข่าย ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบนเรียน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี จำนวน 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทำงานกับภาคีเครือข่าย เรื่องข้อกำหนด การใช้กฎหมายบังคับ ในการใช้รถ ใช้ถนน และการทำ พรบ.
คณะทำงานเสนอแนวทางแก้ไขจุดเสี่ยง ต่ละจุดให้กับภาคีเครือข่าย เพื่อส่งต่อแนวทางการแก้ไขต่อไป

 

30 0

28. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้ว

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข โดยเวทีประชาคม ณ อบต.ตำบลตลิ่งชัน จำนวน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้เสนอข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุ จากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข
จุดเสี่ยงที่ 1-3 ได้ทำการติดตั้งป้ายเตือนไว้เรียบร้อย เพื่อเตือนปัญหาการย้อนศร และมีการส่งต่อให้ อบต. เรื่องการประสานการปรับจุดกลับรถให้กรมทางหลวงต่อไป
จุดเสี่ยง 4 หลังจากติดตั้งป้ายเตือนเขตชุมชน ผู้ใช้รถ ใช้ถนน มีการฉะลอรถมากขึ้น เมื่อถึงเขตชุมชน จุดเสี่ยงที่ 5 - 6

 

25 0

29. จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 ติดตั้งป้ายไวนิลตามจุดเสี่ยง 6 จุด รณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ใช้รถ ใช้ถนน มีความตระหนักมากขึ้น เพื่อลดอุบัติเหตุ

 

0 0

30. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 จัดเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 2 จำนวน 3 คน 1.น.ส.รูฮาณี ยายา 2.น.ส.วายีฮะห์ มะยิ 3. น.ส.เจะแย แวนิซอ ณ โรงแรมแกรนด์พาเลซยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มย่อย เพื่อเกิดการพัฒนา

 

3 0

31. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินงานบันทึกรายงานผลการดำเนินงาน/กิจกรรมตามโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน ทุกกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินงานบันทึกรายงานผลการดำเนินงาน/กิจกรรมตามโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน บันทึกเป้าหมาย/ผลงาน

 

1 0

32. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 3

วันที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการรายงานการเงินและทำทึกข้อมูล

 

3 0

33. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

34. เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี65 ประเด็นลดอุบัติเหตุทางท้องถนน

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี65

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี65

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน
ตัวชี้วัด : ลดอุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 50
25.00 25.00

 

2 ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการตาย/เสียชีวิต
ตัวชี้วัด : 1.จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน ร้อยละ 60 ของจำนวนจุดเสี่ยงประเภทที่ชุมชนแก้ไขได้เอง 2.ส่งต่อจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขเองร้อยละ100 3.มีป้าย/สื่อรณรงค์ตามจุดเสี่ยงในชุมชน
25.00 25.00

 

3 ตัวชี้วัดที่ 3 เพื่อการจัดการบริหารโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.โครงการสามารถดำเนินโครงการได้มีประสิทธิภาพ 2.การรายงานผลเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการ " ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-01-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,875.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน (2) ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการตาย/เสียชีวิต (3) ตัวชี้วัดที่ 3 เพื่อการจัดการบริหารโครงการ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (2) การจัดตั้งคณะอนุกรรมการโครงการ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล (3) จัดทำแผน และสรุปข้อมูล (4) ส่งเสริมความรู้การขับขี่ ปลอดภัย ต้องตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ (5) การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE 3 ครั้ง (6) เฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตำบลตลิ่งชัน (7) ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ (8) เวทีคืนข้อมูลชุมชน (9) ค่าจัดทำป้ายโครงการ (10) ค่าเดินทางสำหรับเข้าร่วมกิจกรรมของ Node (11) เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา (12) เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ (13) ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต (14) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (15) ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (16) ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (17) จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย (18) สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข (19) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1 (20) อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย (21) ประชุมติดตามความคืบหน้า (22) เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่ีมีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน (23) เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1 (24) เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย (ไม่ใช้งบประมาณ รอเสนอที่อำเภอ) (25) เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย (26) กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง (27) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย (28) ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ (29) เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3 (30) การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2 (31) จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (32) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข (33) จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง (34) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-01-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรูฮาณี ยายา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด